งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
เขตสุขภาพที่๑๐ วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๘ ห้องประชุมลายทองบอลรูม โรงแรมลายทอง จ.อุบลราชธานี โดย ภก.กาญจนพงษ์ เพ็ญทองดี เภสัชกรชำนาญการพิเศษ รพ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร

2 Health Cost

3 Country Over all life expectancy (Y) 2014
Total health expenditure per capita PPP Int.$ Total health expenditure % of GDP Smart Phone ownership rate (%) 2013 Thailand 74.9 331 3.9 31.0 Japan 84.6 3,120 9.2 24.7 China 76.0 373 5.0 46.9 India 65.0 126 3.7 16.8 Malaysia 75.7 645 4.4 34.5 Singapore 84.0 2,592 4.5 71.7 USA 79.8 8,233 17.6 56.4

4 การบัญชี(สำหรับผู้)บริหาร Managerial Accounting
1. แนวคิดและวัตถุประสงค์ของการบัญชีบริหาร 2. วิธีการนำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการบริหาร 3. การวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนเพื่อใช้ในการตัดสินใจ 4. การนำข้อมูลต้นทุนไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ การบริหารต้นทุน โดย สมชาย ศุภธาดา

5 ข้อสมมติฐาน ในการจัดทำบัญชี
ข้อสมมติฐาน ในการจัดทำบัญชี เกณฑ์คงค้าง ( Accrual Basis ) การดำเนินงานต่อเนื่อง ( Going-Concern)

6 การรับรู้องค์ประกอบของงบการเงิน
การรับรู้สินทรัพย์ จะเกิดขึ้นเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์ หรือได้สินทรัพย์มาครอบครองด้วยวิธีการต่างๆ โดยสินทรัพย์นั้นจะก่อประโยชน์ให้แก่กิจการในอนาคต และสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ การรับรู้หนี้สิน เกิดขึ้นเมื่อซื้อสินค้า/สินทรัพย์ หรือบริการเป็นเงินเชื่อ หรือเกิดจากการกู้ยืมเงิน ซึ่งทำให้เกิดภาระผูกพันที่กิจการต้องชำระหนี้ อันที่ให้ทรัพยากรของกิจการลดลง และหนี้นั้นสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ

7 การรับรู้ส่วนของเจ้าของ (ทุน) เกิดขึ้นเมื่อเจ้าของนำเงินหรือสินทรัพย์มาลงทุน ทุนของกิจการจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีรายได้หรือกำไร และจะลดลงเมื่อเกิดค่าใช้จ่ายหรือผลขาดทุน รวมถึงทุนจะลดลงเมื่อเจ้าของถอนทุนออกไป

8 การรับรู้รายได้ เกิดขึ้นเมื่อกิจการขายสินค้า ให้บริการ หรือได้รับผลประโยชน์ในรูปอื่น ซึ่งทำให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตเพิ่มขึ้น และวัดค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ การรับรู้ค่าใช้จ่าย เกิดขึ้นเมื่อเกิดรายการที่ทำให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจลดลง และสามารถวัดมูลค่าได้น่าเชื่อถือ

9 2. สามารถ วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ
สรุป : การรับรู้รายการ คือ การรวมรายการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ งบแสดงฐานะการเงิน และงบกำไรขาดทุน เมื่อเข้าเงื่อนไขทุกข้อดังนี้ 1. เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการนั้นจะเข้ามาหรือออกไปจากกิจการ 2. สามารถ วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ

10

11

12 งบกระแสเงินสด บอกอะไร?
- เพียงพอ ก่อให้เกิดความยั่งยืน - เพียงพอ ต่อการชำระหนี้ตามกำหนด - สามารถจ่ายชำระนอกแผน - พอสำหรับแสวงหาประโยชน์ใหม่ได้ - กำไรดี แต่เงินสดลดลง เพราะ.???

13

14

15

16 แนวคิดเบื้องต้นในเรื่องต้นทุน
แนวคิดต้นทุนเพื่อการคำนวณต้นทุน แนวคิดต้นทุนเพื่อการวางแผน แนวคิดต้นทุนเพื่อการประเมินผล การควบคุม แนวคิดต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ แนวคิดต้นทุนเพื่อการบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารต้นทุน โดย สมชาย ศุภธาดา

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30 เปรียบเทียบแนวคิดลดต้นทุน+เพิ่มกำไร

31

32

33

34

35

36

37

38 การให้คะแนนที่แสดงความวิกฤติ 7 ระดับ
Current Ratio น้อยกว่า = 1 คะแนน Quick Ratio น้อยกว่า = 1 คะแนน Cash & Cash Equivalence Ratio น้อยกว่า = 1 คะแนน ทุนสำรองสุทธิ Net working Capital เป็นลบ = 1 คะแนน รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ Net Income เป็นลบ = 1 คะแนน NWC/ANI (ทุนสำรองสุทธิหารด้วย รายได้สูงต่ำกว่า ค่าใช้จ่ายสุทธิเฉลี่ยต่อเดือน) น้อยกว่า 3 เดือน = 2 คะแนน NWC/ANI (ทุนสำรองสุทธิ หารด้วยรายได้สูงต่ำ กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิเฉลี่ยต่อเดือน)อยู่ระหว่าง 3 – 6 เดือน = 1คะแนน

39 องค์ประกอบและโครงสร้างทางการเงินกับระบบบัญชี

40

41

42

43 โรงพยาบาลที่มีคะแนนสูงสุด เขต ๑๐
อันดับในเขต* จังหวัด โรงพยาบาล ทีมดำเนินการ คะแนน เกรด Z score 1 ยโสธร ยโสธร,รพท. ทีมอำนาจเจริญ 98.18 A+ 0.5768 2 อำนาจเจริญ อำนาจ.รพท. ทีมมุกดาหาร 95.15 0.5219 3 มหาชนะชัย,รพช. ทีมอุบล 93.12 A 0.3755 4 อุบลราชธานี ๕๐พรรษา ทีมยโสธร 92.58 0.3635 5 มุกดาหาร หว้านใหญ่ รพช. ทีมตรวจราชการ 91.53 6 ศรีสะเกษ อุทุมพรพิสัย,รพช. 91.27

44 ช่วงคะแนน Mean +/- SD 47.97 – 83.82 ค่าเฉลี่ยรวม 65.89

45 ช่วงคะแนน Mean +/- SD 62.22 – 89.03 ค่าเฉลี่ยรวม 75.63

46 ช่วงคะแนน Mean +/- SD 69.13 – 86.86 ค่าเฉลี่ยรวม 78.00

47 ค่าเฉลี่ยรวม 82.36 ช่วงคะแนน Mean +/- SD 72.59 – 92.12

48 ค่าเฉลี่ยรวม 85.41 ช่วงคะแนน Mean +/- SD 77.96 – 92.86

49 FAI Score กับบัญชี

50 FAI เป็นเครื่องมือ ที่สนับสนุนให้เกิดการสร้างประสิทธิภาพทางการบริหาร การเงินการคลัง ประกอบด้วยการดำเนินงานใน ๔ กิจกรรมหลัก ๑. การพัฒนาระบบควบคุมภายใน (Internal Control :IC) ๒. การพัฒนาคุณภาพบัญชี (Accounting Audit: AC) ๓. ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (Financial Management: FM) ๔. การพัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ (Unit Cost : UC)

51 FAI 2.หน่วยบริการ กล่มเป้าหมายมีข้อมูลต้นทุนที่ครบถ้วน
1.หน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีปัญหาทางการเงินลดลง 2.หน่วยบริการ กล่มเป้าหมายมีข้อมูลต้นทุนที่ครบถ้วน 4.หน่วยบริการมีและใช้แผน 3 แผน ตามระบบการจัดการควบคุมภายใน 3.หน่วยบริการมีฐานข้อมูลต้นทุนพื้นฐาน (มีและใช้โปรแกรมต้นทุนมาตรฐาน)

52 การบริหารการเงินการคลัง การพัฒนาต้นทุนบริการ
ประโยชน์ของ FAI การควบคุมภายใน เพื่อป้องกันความเสี่ยง ลดความผิดพลาดการทำงาน การพัฒนาคุณภาพบัญชี ระบบรายงานทางการเงินมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ การบริหารการเงินการคลัง ประสิทธิภาพในการบริหารหน่วยงาน วางแผน กำกับ ติดตาม การพัฒนาต้นทุนบริการ ทราบค่าใช้จ่ายจริงที่ใช้ในหน่วยบริการ

53 เครื่องมือสนับสนุน FAI
การควบคุมภายใน แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในตามระเบียบ คตง.พ.ศ ข้อ 6 การพัฒนาคุณภาพบัญชี โปรแกรมตรวจสอบประเมินคุณภาพบัญชีอิเลคทรอนิคส์ การบริหารการเงินการคลัง ดัชนีสมรรถนะและประสิทธิภาพทางการเงิน การจัดทำแผน 3 แผน การพัฒนาต้นทุนบริการ โปรแกรมมาตรฐานการจัดทำต้นทุนบริการ

54 กิจกรรม ระดับความสำเร็จ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
คะแนนเต็ม การควบคุมภายใน IC มีคณะทำ งานหรือคณะกรรมการระบบการควบคุมภายในเพื่อพิจารณาประเด็นพัฒนาระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน มีกระบวนการปฏิบัติงาน/กิจกรรมและวัตถุประสงค์ของระบวนการปฏิบัติงาน/กิจกรรมนั้น ๆชัดเจนและสอดคล้องกับนโยบายกระทรวงปีงบประมาณ ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๖ มีการพิจารณาประเมินผลระบบการควบคุมภายในชัดเจน - การควบคุมที่มีอยู่เพียงพอ - การควบคุมที่มีอยู่ไม่เพียงพอ กำหนดวิธีการปรับปรุงการควบคุมภายใน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กำหนด และตามความเสี่ยงที่ยังเหลืออยู่ มีการติดตามประเมินผลวิธีการปรับปรุงการควบคุมที่กำหนด และมีหลักฐานเชิงประจักษ์ ๕ คะแนน (น้ำหนัก ๒๐)

55 กิจกรรม ระดับความสำเร็จ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
คะแนนเต็ม การพัฒนาคุณภาพบัญชี AC มีทีมหรือคณะ ทำงานพัฒนาระบบบัญชีมีการประชุมอย่างน้อยทุกไตรมาส มีการกำหนดปัญหาหรือประเด็นที่ต้องปรับปรุง ซึ่งส่งผลคุณภาพบัญชี มีการเสนอปัญหาหรือประเด็นที่ต้องปรับปรุงต่อผู้บริหารและกระบวน การแก้ปัญหาที่ชัดเจน มีกิจกรรมการขับเคลื่อนการแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่องและรายงานต่อผู้บริหารทุกไตรมาส มีผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จเป็นที่ยอมรับ(ผ่านเกณฑ์ประเมินการตรวจสอบคุณภาพบัญชีทางอีเล็คโทรนิกส์ ๙๐%) ๕ คะแนน (น้ำหนัก ๒๐)

56 FM ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง
กิจกรรม ระดับความสำเร็จ คะแนนเต็ม ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง FM มีคณะทำงานบริหารการเงินการคลังทำการประชุมวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินอย่างน้อยทุกไตรมาส มีการกำหนดปัญหาหรือประเด็นที่เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบด้านการเงินการคลังในพื้นที่หรือตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข มีกระบวนการแก้ปัญหาหรือประเด็นที่เป็นปัญหาพร้อมจัดทำ๓ แผน (แผนเงินบำรุง, แผนงบลงทุน, แผนการจัดซื้อยาฯ) มีการแก้ปัญหาและติดตามแผนบริหารทางการเงินอย่างต่อเนื่องในทุกไตรมาส มีผลงานหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ถึงความสำเร็จหรือเป็นที่ยอมรับ (ผ่านเกณฑ์ดัชนีวิเคราะห์สถานะการเงิน ๗ ระดับและประสิทธิภาพของกรรมการประเมินระดับกระทรวง) ๕ คะแนน (น้ำหนัก ๓๐)

57 กิจกรรม ระดับความสำเร็จ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
คะแนนเต็ม การพัฒนาต้นทุนบริการ Unit Cost มีนโยบายการบริหารจัดการเรื่องต้นทุนและจัดตั้งศูนย์ต้นทุน ระดับหน่วยบริการและ ระดับจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนร่วมกับระดับเครือข่ายบริการ มีการพัฒนาการจัดทำต้นทุนในหน่วยบริการอย่างชัดเจนหมายถึงแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ, การพัฒนาบุคลากรเรื่องการจัดทำต้นทุน, การใช้โปรแกรมมาตรฐาน การจัดทำต้นทุนของกระทรวงฯ มีการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานได้แก่ ข้อมูลการเงิน และข้อมูลบริการ และติดตามอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดคุณภาพ มีการส่งข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำต้นทุนให้กับส่วนกลางได้จนเป็นผลสำเร็จ มีผลงานเชิงประจักษ์ คือหน่วยบริการสามารถคำนวณ ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอก/ครั้ง ผู้ป่วยในต่อRW/ ผู้ป่วยในต่อราย/ผู้ป่วยในต่อวันนอน เป็นผลสำเร็จ ๕ คะแนน(น้ำหนัก ๓๐)

58 9 กระบวนงาน ระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง

59 9 กระบวนงาน ระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง

60 9 กระบวนงาน ระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง

61 9 กระบวนงาน ระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง

62 9 กระบวนงาน ระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง

63 9 กระบวนงาน ระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง

64 9 กระบวนงาน ระบบควบคุมภายใน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง

65 Unit Cost & Accounting

66 Unit Cost & Accounting

67 Unit Cost & Accounting

68 Unit Cost & Accounting Cost Accounting vs Financial Accounting
Financial accounting aims at finding out results of accounting year in the form of Profit and Loss Account and Balance Sheet. Cost Accounting aims at computing cost of production/service in a scientific manner and facilitate cost control and cost reduction. Financial accounting reports the results and position of business to government, creditors, investors, and external parties. Cost Accounting is an internal reporting system for an organization’s own management for decision making.

69 Unit Cost & Accounting Cost Accounting vs Financial Accounting
In financial accounting, cost classification based on type of transactions, e.g. salaries, repairs, insurance, stores etc. In cost accounting, classification is basically on the basis of functions, activities, products, process and on internal planning and control and information needs of the organization. Financial accounting aims at presenting ‘true and fair’ view of transactions, profit and loss for a period and Statement of financial position (Balance Sheet) on a given date. It aims at computing ‘true and fair’ view of the cost of production/services offered by the firm

70 Unit Cost & Accounting Elements of cost Basic cost elements are:
Raw materials Labor expenses/overhead Material (Material is a very important part of business) Direct material/Indirect material Direct labor/Indirect labor Overhead (Variable/Fixed)

71 MC Cost Component in Hospital
H name Group 42 LC % LC MC % MC CC % CC Total Exp. รพ.สรรพสิทธิประสงค์ รพศตั้งแต่ 500 เตียงขึ้นไป /POP<100,000 1,438,246,859.04 45.41 1,675,979,754.01 52.92 52,741,345.11 1.67 3,166,967,958.16 รพ.ยโสธร รพท.200 – 500 เตียง/POP90,000- <100,000 402,781,176.69 61.34 227,141,389.21 34.59 26,679,846.23 4.06 656,602,412.13 รพ.สมเด็จพระยุพราชเดชอุดม รพท.200 – 500 เตียง/POP130,000 - <140,000 245,652,667.98 52.37 182,715,067.87 38.95 40,701,132.09 8.68 469,068,867.94 รพ.ศรีสะเกษ รพท.200 – 500 เตียง/POP100,000- <110,000 603,367,142.45 51.03 534,187,371.79 45.18 44,904,761.46 3.80 1,182,459,275.70 รพ.วารินชำราบ 243,286,197.66 60.06 127,886,752.66 31.57 33,876,308.86 8.36 405,049,259.18 รพ.๕๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ์ 183,736,067.35 53.68 114,582,060.62 33.47 43,992,344.48 12.85 342,310,472.45 รพ.อำนาจเจริญ 342,545,112.63 54.09 229,476,104.87 36.23 61,278,998.78 9.68 633,300,216.28 รพ.มุกดาหาร 347,615,037.36 56.66 245,722,580.56 40.05 20,213,551.64 3.29 613,551,169.56

72 MC Cost Component in Hospital
H name Group 42 LC % LC MC % MC CC % CC รพ.ขุขันธ์ รพช.90/POP90,000 - <120,000 133,095,669.54 58.64 73,993,730.75 32.60 19,870,525.84 8.76 รพ.ตระการพืชผล 131,362,837.87 53.97 73,770,174.94 30.31 38,252,084.98 15.72 รพ.พิบูลมังสาหาร 127,988,997.16 56.98 68,587,427.82 30.54 28,030,249.66 12.48 รพ.เขื่องใน รพช.90/POP80,000 - <90,000 118,343,775.08 54.51 62,860,031.51 28.95 35,909,024.54 16.54 รพ.กันทรารมย์ รพช.90/POP70,000 - <80,000 113,966,837.57 61.39 58,910,072.42 31.73 12,776,624.64 6.88 รพ.ขุนหาญ 104,671,023.95 58.12 63,190,224.15 35.09 12,227,292.00 6.79 รพ.อุทุมพรพิสัย 123,439,055.12 57.71 64,172,910.43 30.00 26,293,946.07 12.29

73 นโยบายบัญชีของกระทรวงสาธารณสุข
ใช้นโยบายทางบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 มาตรฐานรายงานการเงิน ผังบัญชีมาตรฐาน ที่กระทรวงการคลังกำหนด และแนวปฏิบัติทางบัญชี สำหรับหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ใช้เป็นมาตรฐานในการกำหนดระบบบัญชีและบันทึก บัญชีตามเกณฑ์คงค้าง ที่เหมาะสมกับกิจกรรมทาง การเงินและสามารถให้ข้อมูลนำไปจัดทำรายงานทาง การเงิน ส่งให้กรมบัญชีกลางตามที่กำหนด

74 รอบระยะเวลาบัญชี ใช้รอบระยะเวลาบัญชีตามปีงบประมาณ คือ เริ่ม
ต้นวันที่ 1 ตุลาคม สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน ของ ปีถัดไป โดยให้ออกงบการเงินปีละ 1 ครั้ง เมื่อสิ้น สุดรอบระยะเวลาบัญชี ในส่วนงบทดลองให้จัดทำเป็นรายเดือน

75 5.นโยบายวัสดุคงเหลือ สินทรัพย์ที่หน่วยงานมีไว้ใช้ในการดำเนินงานตาม
ตามปกติโดยทั่วไปมีมูลค่าไม่สูงและไม่มีลักษณะคง ทนถาวร ได้แก่ ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ วัสดุอื่นๆ รับรู้มูลค่าวัสดุตามราคาทุน โดยวิธีเข้าก่อน – ออกก่อน (FIFO)

76 นโยบายเจ้าหนี้ค่าสินค้าและบริการ
เกิดขึ้นจากภาระผูกพันที่หน่วยงานมีต่อบุคคลอื่น เช่นเจ้าหนี้จากการซื้อสินค้าและบริการ เจ้าหนี้ราย จ่ายประเภททุน เจ้าหนี้อื่น เป็นต้น รับรู้เจ้าหนี้จากการซื้อและบริการและเจ้าหนี้ราย จ่ายประเภททุน เมื่อหน่วยงานได้รับสินค้าและบริการ หรือสินทรัพย์จากผู้ขายแล้ว การรับสินค่าและสิน ทรัพย์หมายถึงจุดที่หน่วยงานได้มีการตรวจรับเรียบ ร้อยแล้ว

77 นโยบายทางบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์
ประเภทสินทรัพย์ ได้แก่ สินทรัพย์หมุนเวียน และ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน 1. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2. เงินฝากคลังและสถาบันการเงิน 3. ลูกหนี้หมุนเวียนและรายได้ค้างรับ 4. ลูกหนี้ระยะสั้นอื่น 5. เงินลงทุนระยะสั้น 6. สินค้าและวัสดุคงเหลือ 7. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ

78 นโยบายทางบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 1. ลูกหนี้ – ระยะยาว 2. เงินลงทุนระยะยาว 3. ที่ดิน 4. อาคาร 5. ส่วนปรับปรุงอาคาร 6. ครุภัณฑ์ 7. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 8. งานระหว่างก่อสร้าง 9. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

79 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ ( Inventory ) หมายถึง สินทรัพย์ที่
- มีไว้เพื่อขายหรือดำเนินการตามปกติของหน่วยงาน หรือ - อยู่ในระหว่างการผลิตตามกระบวนการผลิตหรือเพื่อขาย หรือ - มีไว้เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตหรือให้บริการ

80 ข้อสังเกต สินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือ ได้แก่ วัตถุดิบ งานระหว่างทำ และสินค้าสำเร็จรูป หน่วยงานจะรับรู้สินค้าคงเหลือตามราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่ได้รับแล้ว แล้วแต่ราคาไหนจะต่ำกว่า โดยแสดงไว้ในงบแสดงฐานะทางการเงิน และให้ แสดงรายละเอียด สินค้าคงเหลือ ประเภท วัตถุดิบ, งานระหว่างทำ และสินค้าสำเร็จรูป ไว้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน

81 ข้อสังเกต สินค้าคงเหลือ
หน่วยงานจะคำนวณราคาทุนของสินค้าคงเหลือ โดยใช้วิธีเข้าก่อน ออกก่อน หรือ First In First Out ( FIFO ) โดย มีข้อสมมุติฐานว่าสินค้าที่ซื้อหรือผลิตก่อน จะถูกขายออกไปก่อน สินค้าที่เหลือปลายงวด จึงเป็นสินค้าที่ซื้อมาหรือผลิตภายหลัง ซึ่งสอดคล้องกับการบริหารสินค้าโดยทั่วไปโดยเฉพาะสินค้าที่มีอายุจำกัด

82 ข้อสังเกต สินค้าคงเหลือ
การบันทึกรายการสินค้าคงเหลือ ตามเกณฑ์การรับรู้ ณ วันสิ้นปี จะใช้วิธี บันทึก ณ วันสิ้นงวดทางบัญชี ( Periodic Inventory System ) รายการซื้อสินค้า จะถูกบันทึกไว้เป็น ค่าใช้จ่าย คือ บัญชีซื้อและรายการที่เกี่ยวข้องกับการซื้อ

83 วัสดุคงเหลือ วัสดุคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์ที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงานตามปกติ โดยทั่วไปมีมูลค่าไม่สูงและไม่มีลักษณะคงทนถาวร ได้แก่ ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ และวัสดุอื่นๆ

84 ข้อสังเกต วัสดุคงเหลือ
หน่วยงาน จะรับรู้ วัสดุคงเหลือ ในราคาทุน หรือ มูลค่าสุทธิจะได้รับ และแต่ราคาใดต่ำกว่า โดยวิธีเข้าก่อน – ออกก่อน (FIFO) โดยแสดงเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนรายการหนึ่ง ใน งบแสดงฐานะทางการเงิน

85 นโยบายทางบัญชีเกี่ยวกับหนี้สิน
1. หนี้สินหมุนเวียน ( Current Liability ) 1.1 เจ้าหนี้ 1.2 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 1.3 รายได้รับล่วงหน้า 1.4 รายไดแผ่นดินรอนำส่งคลัง 1.5 เงินทดรองราชการรับจากคลัง 1.6 เงินรับฝากและเงินประกัน 1.7 หนี้สินหมุนเวียนอื่น

86 นโยบายทางบัญชีเกี่ยวกับหนี้สิน
2. หนี้สินไม่หมุนเวียน ( Non – Current Liability ) 2.1 เงินทดรองราชการรับจากคลัง ระยะยาว 2.2 เงินยืม ระยะยาว 2.3 เงินประกัน ระยะยาว 2.4 หนี้สินระยะยาวอื่น 2.5 รายได้รอการรับรู้

87 หนี้สินหมุนเวียน หมายถึง หนี้สินที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
1. หน่วยงาน คาดว่า จะชำระหนี้สินภายในรอบระยะเวลาการดำเนินงานปกติของหน่วยงาน 2. หนี้สินที่กำหนดชำระภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ในงบแสดงฐานะทางการเงิน

88 เจ้าหนี้ หมายถึง ภาระผูกพันที่มีต่อหน่วยงานภายนอก เช่น เจ้าหนี้จากการซื้อสินค้าและบริการ เจ้าหนี้รายจ่ายประเภททุน เจ้าหนี้อื่นๆ เป็นต้น หน่วยงานจะรับรู้ เมื่อหน่วยงานได้รับสินค้าและบริการ หรือสินทรัพย์จากผู้ขายแล้วเท่านั้น การรับสินค้าและบริการ หรือ สินทรัพย์นี้ หมายถึง จุดที่หน่วยงานได้มีการตรวจรับเรียบร้อยแล้ว และให้หน่วยงานแสดงรายการเจ้าหนี้ เป็นหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะทางการเงิน โดยให้เปิดเผยรายละเอียดประเภทเจ้าหนี้ไว้ ในหมายเหตุประกอบทางการเงิน

89 ข้อสังเกต เจ้าหนี้ค่าสินค้าและบริการ
เจ้าหนี้ค่าสินค้าและบริการ หมายถึง จำนวนเงินที่หน่วยงานเป็นหนี้หน่วยงานต่างๆ หรือ บุคคลภายนอกในการจัดซื้อและจัดจ้าง เพื่อหาสินค้าหรือบริการ โดยได้รับการตรวจรับสินค้าหรือบริการและได้รับใบแจ้งหนี้แล้วแต่ยังมิได้ชำระหนี้นั้น ในกรณีที่มีการทำสัญญา แต่ยังมิได้ส่งมอบ ณ วันที่ทำงบการเงิน เช่น การก่อสร้างอาคาร ให้บันทึกรายการดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบการเงิน

90 ข้อสังเกต เจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามจ่าย
เจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามจ่าย เป็นภาระผูกพันที่หน่วยงานส่งผู้ป่วยเพื่อการรักษาต่อ การรับรู้เจ้าหนี้เมื่อได้รับหนังสือเรียกเก็บจากหน่วยงานที่รับการรักษาต่อ

91 ความสัมพันธ์ระหว่างบัญชีกับ งานบริหารพัสดุ/วัสดุ
สินค้าคงเหลือ, วัสดุคงเหลือ เจ้าหนี้ค่าสินค้า/วัสดุ/บริการ สินค้า/วัสดุใช้ไป

92 วัสดุคงเหลือ – เจ้าหนี้ค่า - วัสดุใช้ไป
ยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ วัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ วัสดุทันตกรรม วัสดุสำนักงาน วัสดุเชื้อเพลิงหล่อลื่น, วัสดุไฟฟ้าวิทยุ, วัสดุโฆษณาเผยแพร่, วัสดุคอมพิวเตอร์ ฯลฯ

93 การวัด วิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารพัสดุ เชื่อมโยงกับระบบบัญชี
บัญชี/พัสดุ เกณฑ์การตรวจสอบเบื้องต้นงบทดลอง เกณฑ์การประเมินคุณภาพบัญชี เขตสุขภาพที่ ๑๐ เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพบริหาร PlanFin59 เกณฑ์การประเมินการบริหารคลังเวชภัณฑ์ เกณฑ์การประเมินการควบคุมภายใน

94 การประยุกต์การใช้ข้อมูลการวิเคราะห์ทางบัญชี-พัสดุ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเงินการคลัง
Inventory Turnover หรือ อัตราการหมุนเวียนคงคลัง เป็น การวัดจำนวนระยะเวลาที่คงคลังมีการใช้หรือขายออกในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ โดยที่นิยม คือ ๑ ปี เป็นต้น สมการในการคำนวณ เท่ากับ Cost of Good to sold หรือ Net Sale หารด้วย มูลค่าคงคลังเฉลี่ย (Average Inventory) Average Inventory = (Beginning Inventory + Ending Inventory)/2 Inventory Turnover = Cost of Good or Net sales / Average Inventory Average days to sale (Used) the inventory = 365 days/ Inventory Turnover ratio Inventory to Sale Ratio = Inventory Value/ Sale or used Value

95 Inventory to Sale ratio
ตัวชี้วัดที่นิยมกันอย่างแพร่หลาย คือ Inventory to Sale ratio ที่เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนความแข็งแกร่งของธุรกิจ ซึ่งมีความใกล้เคียงกันมาก และไปในทิศทางเดียวกันกับ Inventory Turnover Ratio โดยหากใช้ ตัวชี้วัดสองตัวนี้ควบคู่กัน ยิ่งสะท้อนประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังขององค์กรหรือธุรกิจอย่างยิ่ง

96 เป้าประสงค์ของการเพิ่ม Inventory turnover ratio
เพื่อลดมูลค่าคงคลัง และสะท้อนความสามารถในการขายหรือกระจายสินค้าของธุรกิจนั้น มี ๓ ประการ ได้แก่ การเพิ่ม Inventory Turnover จะลดต้นทุนในการแบกรับในการสำรองคลังสินค้า รวมทั้งต้นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงในการสำรองคลังสินค้า รวมถึงสามารถลดต้นทุนในการดุแลคลังสินค้าด้วย การลด ต้นทุน ในการสำรองคลังสินค้า จะช่วยเพิ่มรายได้สุทธิ และโอกาสในการทำกำไรของธุรกิจอันเกิดจากการขายสินค้านั้นๆมากขึ้น ตราบเท่าที่อัตราการขายหรือใช้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์นั้นๆคงที่ รายการสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ใดที่มีการหมุนเวียนเร็วของคลังสินค้า จะช่วยเพิ่มความรับผิดชอบต่อลูกค้ามากขึ้น ทั้งการเปลี่ยนคืน หรือการทดแทนสินค้าใหม่ โดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับแฟชั่น ยิ่งให้ความสำคัญกับ Turnover ratio มากขึ้น

97 ข้อจำกัด : การนำ Inventory Turnover มาเปรียบเทียบกันนั้น จะต้องอยู่ภายใต้ความเหมาะสม ของทั้งลักษณะธุรกิจ ความต้องการ ลักษณะและพฤติกรรมการตลาดในตัวสินค้าหรือคงคลังนั้นๆด้วย เช่น สินค้าในซุปเปอร์มาเกต ไม่ควรนำมาเปรียบเทียบกับ สินค้าประเภทรถยนต์เป็นต้น

98 การประยุกต์และนำไปใช้ :
Inventory turnover หากมีค่าน้อย อาจบ่งชี้ถึง การสำรองสินค้าเกินได้, รวมถึง อาจเกิดความเสี่ยงด้านการสูญหาย จารกรรมสินค้า หรือคลังนั้นๆ ได้ อย่างไรก็ตาม ในบางองค์กรประเภทธุรกิจ อัตราที่ต่ำจะเหมาะสมกว่า อาทิ หากมีอัตราการหมุนเวียนสินค้าเร็วเกินไป จะสามารถคาดหมายได้ว่า ราคาสินค้าในตลาด อาจจะราคาสูงขึ้น หรือมีความต้องการในตลาดมากขึ้น และอาจจะเกิดภาวะสินค้าขาดแคลนในตลาดได้ เป็นต้น ในทางตรงกันข้าม อัตราการหมุนเวียนสิ้นคาคงคลังที่สูง จะเป็นข้อบ่งชี้ถึง สถานการณ์สินค้าไม่เพียงพอกับความต้องการ หรือ ขาดสต๊อกได้ เช่นกัน ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการขาย หรือการใช้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทนั้น จะมี ค่าอัตรา Inventory Turnover ที่แตกต่างกัน โดย ในกลุ่ม ตลาดการบริหารสินค้าด้านยา พบว่า มีค่าระหว่าง 9.05 – โดยมีค่าเฉลี่ย 11.46

99 37 74 54 71 106 47 77 84 93 59 Hospital Averag e Invento ry
Beginni ng Inventor y Ending Inventor y Net Used Invent ory Turnov er Average Day to Used Invento ry to sale คำเขื่อนแก้ว 1,028,627.01 1,161,835.66 895,418.36 10,191,191.88 9.91 37 1.21 กุดชุม 1,700,505.85 1,814,503.27 1,586,508.43 8,366,662.46 4.92 74 2.44 มหาชนะชัย 846,476.00 1,082,139.43 610,812.57 5,717,114.09 6.75 54 1.78 ศรีรัตนะ 2,058,893.35 2,038,727.04 2,079,059.65 10,543,736.47 5.12 71 2.34 ภูสิงห์ 2,219,317.46 2,427,658.37 2,010,976.55 7,634,200.65 3.44 106 3.49 ศรีเมืองใหม่ 1,147,136.39 1,155,950.94 1,138,321.83 8,981,565.42 7.83 47 1.53 นาจะหลวย 1,936,711.01 1,778,845.82 2,094,576.20 9,130,067.27 4.71 77 2.55 น้ำยืน 2,506,732.30 3,083,056.88 1,930,407.72 10,941,206.20 4.36 84 2.75 สำโรง 2,220,787.05 2,036,360.79 2,405,213.31 8,747,768.69 3.94 93 3.05 สิรินธร 1,158,177.19 972,807.07 1,343,547.30 7,115,111.76 6.14 59 1.95

100 ด้านการประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเวชภัณฑ์ยา :
แนวทางการใช้ข้อมูลด้านหนี้สินหมุนเวียน หรือ เจ้าหนี้การค้า (ค่ายา) มาใช้ในการคำนวณ เพื่อดู ร้อยละของมูลค่าหนี้สินค่ายาที่ได้รับการชำระต่อมูลค่าหนี้สินค่ายาสะสมทั้งหมด ซึ่ง จะสะท้อนถึงการวางแผนการบริหารเจ้าหนี้ และการลดภาระหนี้สินหมุนเวียนสะสม ที่จะส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินการคลัง และความสามารถในการชำระหนี้ และการรับเครดิตในการสั่งซื้อ ยาหรือเวชภัณฑ์อื่นๆ

101 หนี้สินหมุนเวียนค่ายาต้นงวด หนี้สินหมุนเวียนค่ายาปลายงวด
โรงพยาบาล หนี้สินหมุนเวียนค่ายาต้นงวด หนี้สินหมุนเวียนค่ายาปลายงวด หนี้สินหมุนเวียนค่ายาสะสมตลอดปีงบ ร้อยละการชำระหนี้สินหมุนเวียนค่ายาทั้งปี คำเขื่อนแก้ว 6,050,413.18 5,609,890.95 15,975,187.76 64.88 กุดชุม 2,434,484.70 1,919,157.31 10,573,152.32 81.85 มหาชนะชัย 7,852,134.75 6,742,355.07 13,097,921.98 48.52 ศรีรัตนะ 5,667,747.97 8,357,469.06 16,251,817.05 48.58 ภูสิงห์ 2,563,906.50 3,861,620.16 9,781,425.33 60.52 ศรีเมืองใหม่ 12,753,959.99 12,419,314.57 21,717,896.30 42.82 นาจะหลวย 10,962,998.34 13,689,198.34 20,408,795.99 32.93 น้ำยืน 6,014,869.56 4,392,971.07 15,803,426.60 72.20 สำโรง 16,531,252.52 16,284,840.34 25,647,873.73 36.51 สิรินธร 2,225,582.15 6,947,378.20 9,711,434.14 28.46

102 กระบวนการดูแลผู้ป่วย วิเคราะห์ วัด ประเมินผล
ความเชื่อมโยงระบบบริหารพัสดุ – ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง และระบบงานสำคัญอื่นในโรงพยาบาล การนำองค์กร ทรัพยากรบุคคล มุ่งเน้นผู้รับผลงาน กระบวนการดูแลผู้ป่วย ส่งเสริมสุขภาพ ระบบงานสำคัญ การเงินการคลัง ยา, แลบ, ว.มช. ทันตฯ ฯลฯ วิเคราะห์ วัด ประเมินผล PCT, PTC, LMC etc.

103

104

105

106

107

108

109

110 IV ผลด้านการเงิน (FNR)
องค์กรแสดงให้เห็นระดับปัจจุบันและแนวโน้มของตัวชี้วัดผลการดำเนินงานด้านการเงิน166 166 ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานทางการเงิน เช่น รายได้, กำไรขาดทุน, สินทรัพย์สุทธิ, ประสิทธิภาพการจัดการด้านการเงิน, ความอยู่รอดทางการเงิน (สภาพคล่อง อัตราหนี้สินต่อทุน การไหลเวียนของเงินสด)

111

112

113

114

115 ตัวอย่าง CQI ด้านบัญชี/พัสดุ

116 ตัวอย่าง CQI ด้านบัญชี/พัสดุ

117 บทสรุปการเรียนรู้


ดาวน์โหลด ppt “ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google