งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชาชีพสอบบัญชี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชาชีพสอบบัญชี."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชาชีพสอบบัญชี

2 งานที่ให้ความเชื่อมั่น (Assurance Engagement)
งานที่ผู้ประกอบวิชาชีพมีเป้าหมายในการได้มาซึ่งหลักฐานที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ เพื่อแสดงข้อสรุป ซึ่งออกแบบไว้เพื่อ เพิ่มระดับของความเชื่อมั่นของผู้ใช้ข้อมูล

3 ส่วนประกอบของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
ผลลัพธ์ของการวัดผลหรือการประเมินผล เรื่องที่ให้ความเชื่อมั่น เกณฑ์

4 วัตถุประสงค์ของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
ผู้ประกอบวิชาชีพช่วยลดความเสี่ยง ของงานที่ให้ความเชื่อมั่นลงมา เพื่อให้ผู้ใช้ข้อมูลจากงานที่ให้ความเชื่อมั่นนั้น มีความเชื่อมั่นเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม

5 ประเภทของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
แบ่งตามผู้วัดหรือผู้ประเมิน 1.1 งานที่ให้ความเชื่อมั่นต่อคำรับรองของบุคคลอื่น 1.2 งานที่ผู้ประกอบวิชาชีพให้ความเชื่อมั่นด้วยตนเองโดยตรง แบ่งตามระดับของการให้ความเชื่อมั่น 2.1 งานที่ให้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผล 2.2 งานที่ให้ความเชื่อมั่นอย่างจำกัด

6 ขอบเขตของแม่บทสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น
ไม่ครอบคลุม งานบริการเกี่ยวเนื่อง งานด้านภาษีอากร งานให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำ งานบริการอื่น

7 เงื่อนไขในการรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น
บทบาทและความรับผิดชอบของกลุ่มบุคคล งานที่ให้ความเชื่อมั่นมีลักษณะครบทุกข้อที่กำหนด

8 องค์ประกอบของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
ความสัมพันธ์ของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งสามฝ่าย เรื่องที่ให้ความเชื่อมั่นที่เหมาะสม เกณฑ์ที่เหมาะสม หลักฐานที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ รายงานที่ให้ความเชื่อมั่นอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร

9 ความเสี่ยงของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
ความเสี่ยงที่ผู้ประกอบวิชาชีพ แสดงข้อสรุปอย่างไม่เหมาะสม เมื่อข้อมูลที่ให้ความเชื่อมั่น แสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ

10 ส่วนประกอบของความเสี่ยงของงานที่ให้ความเชื่อมั่น
ความเสี่ยงที่ผู้ประกอบวิชาชีพไม่มีอิทธิพลทางตรง 1.1 ความเสี่ยงสืบเนื่อง 1.2 ความเสี่ยงจากการควบคุม ความเสี่ยงที่ผู้ประกอบวิชาชีพมีอิทธิพลทางตรง 2.1 ความเสี่ยงจากการตรวจสอบ 2.2 ความเสี่ยงจากการวัดผลหรือการประเมินผล

11 การสอบบัญชี “กระบวนการของ การรวบรวมและการประเมินหลักฐานเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศ เพื่อระบุและรายงานเกี่ยวกับระดับความสอดคล้องกันของ ข้อมูลสารสนเทศนั้นกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ การสอบบัญชีควรปฏิบัติ โดยบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและอิสระ”

12 การตรวจสอบงบการเงิน งบการเงิน ตรวจสอบเอกสาร รายงานของ ผู้สอบบัญชี
บุคคลที่มีความรู้ความสามารถและอิสระ รวบรวมและประเมินหลักฐาน ข้อมูลสารสนเทศ การรายงาน งบการเงิน ตรวจสอบเอกสาร บัญชีและข้อมูลต่างๆ ผู้สอบบัญชี รายงานของ ผู้สอบบัญชี ระบุความสอดคล้องต้องกัน หลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ หลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป 1 - 5

13 วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี
เพื่อเพิ่มระดับความเชื่อมั่นของผู้ใช้งบการเงิน การบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวเกิดขึ้นได้ โดยการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชีว่า งบการเงินได้จัดทำในสาระสำคัญ ตามแม่บทการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องหรือไม่

14 วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี
การแสดงความเห็นว่า งบการเงินได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการ โดยถูกต้องตามควรในสาระสำคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินหรือไม่

15 ความต้องการบริการสอบบัญชี
Enron ล้มละลาย วิกฤติเศรษฐกิจปี 40

16 ทำไมต้องมีการตรวจสอบงบการเงิน
ช่วยลด Information Risk เช่น ธนาคารจะมีความพอใจให้กิจการที่งบการเงินดีและได้รับการตรวจสอบบัญชีเรียบร้อยแล้ว มากกว่ากิจการที่มีผลประกอบการดี แต่ยังไม่ได้รับการตรวจสอบ เนื่องจากไม่แน่ใจว่าข้อมูลที่กิจการให้นั้นจริงหรือไม่ Information Risk คือความเสียงที่ข้อมูลที่ได้รับจะแสดงอย่างไม่ถูกต้อง

17 สาเหตุของ Information Risk
Remoteness of Information Biases and Motives of the Provider Voluminous Data Complex Exchange Transactions

18 การลด Information Risk
User Verifies Information User Shares Information Risk with Management Audited Financial Statements are Provided

19 ความแตกต่างระหว่างการสอบบัญชีและการบัญชี
การบัญชี คือ กระบวนการจดบันทึก การจัดประเภท และการสรุปเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในลักษณะอย่างมีเหตุผล เพื่อให้สารสนเทศทางการเงินสำหรับการตัดสินใจของผู้ใช้ทั้งภายใน และภายนอก การสอบบัญชี คือ กระบวนการของการรวบรวม และการประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ เพื่อระบุและรายงานเกี่ยวกับระดับความสอดคล้องต้องกันของสารสนเทศนั้นกับหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และการสื่อสารผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ที่สนใจ

20 กระบวนการของการสอบบัญชี
การวางแผนการตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ การเสร็จสิ้นการสอบบัญชี และการออกรายงานการสอบบัญชี

21 การกำกับดูแลกิจการกับการสอบบัญชี
การสร้างความมั่นใจในการมีกรอบโครงสร้างของการกำกับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผล สิทธิของผู้ถือหุ้นและบทบาทหน้าที่ที่สำคัญของผู้เป็นเจ้าของ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียในการกำกับดูแลกิจการ

22 การกำกับดูแลกิจการกับการสอบบัญชี
บทบาทของผู้มีส่วนได้เสียในการกำกับดูแลกิจการ การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

23 ประเภทของการตรวจสอบ 1. การตรวจสอบงบการเงิน Financial Statement Audit – คือ การตรวจสอบเพื่อทราบว่างบการเงินได้จัดทำถูกต้อง เช่น การตรวจสอบงบการเงินประจำปี 2.การตรวจสอบการดำเนินงาน Operational Audit – เป็นการตรวจสอบการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆและประเมินผลเพื่อทราบประสิทธิภาพของงาน 3.การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ Compliance Audit – เป็นการ ตรวจสอบว่าปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับ สิ่งที่กำหนดไว้เป็นพิเศษ

24 ประเภทของผู้ตรวจสอบ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้ตรวจสอบภายใน
เจ้าหน้าที่ตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ตรวจสอบภายใน เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษีอากร ผู้สอบบัญชีภาษีอากร

25 ‘BIG FOUR’

26 สำนักงานบัญชีอื่น ๆ สำนักงานบัญชีข้ามชาติอื่น ๆ
Grant Thornton Horwath International Mazars สำนักงานบัญชีสัญชาติไทย

27 การจัดองค์กรของ CPA Firm
Staff Level Average Typical Responsibilities Experience Junior or Assistant years ทำงาน Field work ทั้งหมด Senior years ประสานงานและรับผิดชอบในงาน field work or in-charge สอบทานงานของผู้ช่วย Supervisor years ช่วย in-charge วางแผนและจัดการกับการ ตรวจสอบ รวมถึงสอบทานงานของ in-charge Manager years สอบทานงานของ supervisor และสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า Partner years ดูงานโดยรวม ตัดสินใจในเรื่องที่สำคัญ หาลูกค้าและเป็นเจ้าของสำนักงาน

28 ความรับผิดชอบต่องบการเงิน
ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน จัดทำบัญชีและงบการเงิน (ได้รับการตรวจสอบ & แสดงความเห็น) ยื่นงบการเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่องบการเงิน ตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงิน ดูภาพ 1-4

29 สิ่งที่ผู้บริหารให้การรับรองไว้เกี่ยวกับงบการเงิน
(Management Assertions) ความมีอยู่จริง (Existence) เกิดขึ้นจริง (Occurrence) สิทธิและภาระผูกพัน (Right and Obligations) ความครบถ้วน (Completeness) การตีราคา (Valuation) การวัดมูลค่า (Measurement) การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล (Presentation and Disclosure)

30 หลักการพื้นฐานของการตรวจสอบงบการเงิน
จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป วิจารณญาณในการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ดูภาพ 1-5

31 ข้อจำกัดของการตรวจสอบงบการเงิน
ลักษณะของงบการเงิน ลักษณะของวิธีการตรวจสอบ ความทันต่อเวลาของรายงานทางการเงิน เรื่องอื่นที่มีผลกระทบต่อข้อจำกัดสืบเนื่องของการสอบบัญชี

32 สถานการณ์แวดล้อมที่มีต่องบการเงิน
การทุจริตและข้อผิดพลาด กฎหมายและข้อบังคับ

33 การบัญชีนิติเวช การประยุกต์ทักษะของการสืบสวนและการวิเคราะห์เพื่อวัตถุประสงค์การลงมติประเด็นทางการเงินว่าเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดโดยศาล ดูตาราง 1-3 ความแตกต่างระหว่างการบัญชีนิติเวชกับการสอบบัญชี


ดาวน์โหลด ppt วิชาชีพสอบบัญชี.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google