งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ

2 การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ การจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศวิถี
ชะลออายุการมีเพศสัมพันธ์ การคลอดในวัยรุ่นลดลง Safe sex ครรภ์ที่มีการวางแผน ระบบการดูแลช่วยเหลือ การตั้งครรภ์ซ้ำ การมีส่วนร่วม ของภาคี เครือข่ายทุกภาคส่วน การจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตร คุณภาพชีวิตที่ดีของแม่และลูก

3 การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย
MCH broad มาตรการเร่งรัด สร้างกระแสการฝากครรภ์ สร้างแรงจูงใจ รื้อฟื้นมาตรการแก้ไขภาวะซีด ผลักดันมาตรฐาน แม่ตาย พัฒนาการ ฝากครรภ์ นมแม่ สตรีและเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น ทำงาน ผู้สูงอายุ มาตรการเร่งรัด LTC Care manager Care give อ้วน ฟัน HPS.แก้มใสe โรคเสื่อม มาตรการเร่งรัด เยี่ยมเสริมพลัง รับรอง การเฝ้าระวัง M o u สังคมผู้สูงอายุ YFHS มาตรการเร่งรัด บูรณการการกับ DHS RHD ตั้งครรภ์e มาตรการเร่งรัด กระบวนการเรียนรู้เพศวิถี ส่งเสริมการเข้าถึงบริการ สร้างการมีส่วนร่วม พฤติกรรม NCD มะเร็ง พฤติกรรมเสี่ยง

4 การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ
นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )

5 ยุทธศาสตร์การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ. ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2553 ยุทธศาสตร์ชาติด้านอนามัยเจริญพันธุ์ 6 ยุทธศาสตร์คือ 1) เสริมสร้างครอบครัวใหม่และเด็กรุ่นใหม่ให้เข้มแข็งและคุณภาพ 2) ส่งเสริมให้คนทุกเพศทุกวัยมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศที่เหมาะสมและปลอดภัย 3) พัฒนาระบบบริการอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศที่ มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการงานอนามัยการเจริญพันธุ์แบบบูรณาการ 5) พัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบเกี่ยวกับงานอนามัยการเจริญพันธุ์ฯ 6) พัฒนาและการจัดการองค์ความรู้ เทคโนโลยีอนามัยการเจริญพันธุ์ฯ

6 ยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ บริการอนามัยการเจริญพันธุ์
ครอบครัวเข้มแข็ง สุขภาวะทางเพศ บริหารจัดการความรู้ - สอนเพศศึกษา ฐานข้อมูล การเฝ้าระวัง/วิจัย/KM ยุทธศาสตร์ บริการอนามัยการเจริญพันธุ์ กฎหมาย กฎ ระเบียบ คลินิกบริการที่เป็นมิตร กับวัยรุ่น คลินิกเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงาน การมีส่วนร่วมของผู้ชายในการดูแลสุขภาพสตรี บริหารจัดการ - ร่าง พ.ร.บ. RH แผนบูรณาการ RH (SRM, SLM)

7 ที่มา : คณะกรรมาธิการสาธารณสุข, วุฒิสภา
วัฒนธรรม / ICT กลั่นกรองสื่อ จัดการสื่อไม่สร้างสรรค์ สื่อสร้างสรรค์ สร้างภูมิคุ้มกัน อส.วัฒนธรรม กลั่นกรอง องค์กรเอกชน เพศศึกษารอบด้าน เพศวิถี / ผู้เรียนศูนย์กลาง พัฒนาด้านบวก ทักษะ สื่อสาร ต่อรอง ฯลฯ รัฐบาล วาระแห่งชาติ พัฒนาเด็กและเยาวชน งปม. พัฒนาครู นโยบาย แผนประชากร มหาดไทย / ตำรวจ บังคับใช้กฎหมาย สื่อ แหล่งบันเทิง หอเถื่อน โซนนิ่งแหล่งบันเทิง ท้องถิ่นสร้างทักษะชีวิต ศึกษาธิการ การเรียนรู้เพศศึกษา พัฒนาครูสอน / ครูแนะแนว ทักษะชีวิตนักเรียน/คัดกรอง ตั้งครรภ์ให้เรียนต่อ ลดการ ตั้งครรภ์ วัยรุ่น พม. ยุทธศาสตร์ป้องกัน และแก้ไข ป้องกัน ช่วยเหลือ ฟื้นฟู ผู้นำทางความคิด / รณรงค์ ผลักดันนโยบาย ข้อมูล ติดตาม ประเมิน สาธารณสุข ยุทธศาสตร์ อพ. ถุงยาง 100 % บริการเป็นมิตรวัยรุ่น บริการคุมกำเนิด สร้างกระแสสังคม ดูแลวัยรุ่นตั้งครรภ์ ที่มา : คณะกรรมาธิการสาธารณสุข, วุฒิสภา

8 โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวง มหาดไทย ศึกษาธิการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สาธารณ สุข

9 “เข้าถึง” “เข้าใจ” “ช่วยเหลือ”

10 แนวทางการป้องกันแก้ไขและให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ประสบปัญหาการตั้งครรภ์และการมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์

11 ส่งเสริมพฤติกรรมเด็ก
ยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น No sex ๑๒ ภารกิจ safe sex ส่งเสริมพฤติกรรมเด็ก

12 นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2
(พ.ศ – 2569) ว่าด้วยการเกิดที่มีคุณภาพและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ “ รัฐบาลสนับสนุนและส่งเสริมการเกิดเพิ่มขึ้นด้วยความสมัครใจ เพื่อเพียงพอสำหรับทดแทนประชากร และการเกิดทุกราย มีการวางแผน มีความตั้งใจและมีความพร้อมในทุกด้าน นำไปสู่การคลอดที่ปลอดภัย ทารกแรกเกิดมีสุขภาพแข็งแรง พร้อมที่จะเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ”

13 เป้าประสงค์ เพื่อให้การเกิดทุกรายมีการวางแผน มีการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ และได้รับความช่วยเหลือในการมีบุตร เพื่อส่งเสริมให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ได้รับการดูแลหลังคลอดที่ดี เด็กได้รับการเลี้ยงดูในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย พร้อมที่จะเรียนรู้ในช่วงวัยต่อไปอย่างมั่นคง

14 หญิง-ชาย วัยเจริญพันธุ์
กลุ่มเป้าหมาย หญิง-ชาย วัยเจริญพันธุ์ เด็ก ๐-๕ ปี

15 ตัวชี้วัดเป้าประสงค์
ร้อยละของการตั้งครรภ์ที่มีการวางแผนมาก่อน (MICs) อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี อัตราส่วนการตายมารดา

16 ๑ ๔ ยุทธศาสตร์ ๒ ๓ พัฒนาระบบจัดสวัสดิการ พัฒนากฎหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์
พัฒนากฎหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบบริการ สธ สร้างการเข้าถึงบริการอย่าเท่าเทียม พัฒนาระบบจัดสวัสดิการ พัฒนาระบบสารสนเทศและการสื่อสารสังคม

17 ตัวชี้วัดเป้าประสงค์
อัตราตายทารกแรกเกิด ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

18 นโยบายของนายกรัฐมนตรี เรื่อง การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 มียุทธศาสตร์ 6 ข้อ คือ 1 ด้านการป้องกัน 2 ด้านการช่วยเหลือและบำบัดฟื้นฟู 3 เสริมสร้างบทบาทและองค์ความรู้แก่กลุ่มผู้นำทางความคิดของเด็กและเยาวชน 4 การขจัดสิ่งยั่วยุและอิทธิพลจากสื่อ 5 การผลักดันนโยบาย 6 การสำรวจข้อมูล การพัฒนา ระบบงาน และการติดตามผล

19 กรอบแนวคิดการพัฒนาสุขภาพคนตลอดช่วงชีวิต : กลุ่มวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย พรบ 29/12/61 1. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ ปี พันคน ภายในปี 2561 2. ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 – 19 ปี (ไม่เพิ่มขึ้นจากผลBSS ในปี 2558) ผลผลิต ผลักดันการบังคบใช้กฎหมายเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพวัยรุ่น วัยรุ่นเข้าถึงความรู้ในการป้องกันตนเอง โดยเฉพาะวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง การเชื่อมต่อระบบสถานบริการสาธารณสุขกับสถานศึกษาและชุมชนในการจัดบริการให้กับวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดบริการสุขภาพวัยรุ่น โดยเน้นการบังคับใช้กฎหมายเพื่อวัยรุ่นปลอดภัยจากพฤติกรรมเสี่ยง มาตรการ : การบังคับใช้กฎหมาย เพื่อให้วัยรุ่นปลอดภัยจากปัญหาทางเพศ และแอลกอฮอล์ สารเสพติด ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาระบบบริหารจัดการร่วมกับ DHS เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มวัยรุ่น มาตรการ : การบูรณาการและเชื่อมโยงกับระบบ DHS โดยมีการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพวัยรุ่น มีทีม Teen Manager ระดับเขต/จังหวัด ในการขับเคลื่อนงาน เพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงและใช้บริการได้อย่างทั่วถึง ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การจัดบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมและเข้าถึงวัยรุ่นทุกกลุ่มในสถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา และชุมชน มาตรการที่ 1 : จัดบริการเชิงรุกสู่สถานศึกษา เน้นการพัฒนาทักษะชีวิต เพศศึกษารอบด้าน สนับสนุนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน มาตรการที่ 2 : จัดบริการที่เป็นมิตรสอดคล้องกับความต้องการและบริบทของวัยรุ่น รวมถึงการให้บริการคุมกำเนิดในแม่วัยรุ่น มาตรการที่ 3 : จัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชน เน้นการจัดพื้นที่สร้างสรรค์ที่วัยรุ่น และเยาวชนมีส่วนร่วม และการจัดพื้นที่เรียนรู้ของพ่อแม่ (โรงเรียนพ่อแม่/การสื่อสารระหว่างพ่อแม่ ผู้ปกครอง กับลูกหลานวัยรุ่น) วรรณดี จันทรศิริ

20 การพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก
เพศวิถี เข้าถึงบริการ(YFHS) การมีส่วนร่วมของภาคี เป้าหมาย 1.ชะลอการมีเพศสัมพันธ์ 2.มีเพศสัมพันธ์ปลอดภัย 3.อัตราการคลอดวัยรุ่นลดลง 4.วางแผนการตั้งครรภ์ 5.ลดปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำ 6.ระบบการเฝ้าระวังในชุมชน -โรงเรียนพ่อแม่ ANC คุณภาพ รพ.คุณภาพแม่และเด็ก -ห้องคลอดคุณภาพ - คลินิกนมแม่ FP WCC - ติดตามเยี่ยมบ้าน นักเรียน ในระบบ/ นอกระบบ 10 – 14 ปี 15 – 19 ปี ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด บ้าน/ชุมชน ก่อนก้าวย่าง ก้าวย่าง 15 – 19 ปี 20 ปี ขึ้นไป คุมกำเนิดกึ่งถาวร ยาฝัง/ห่วงอนามัย การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย DHS /DRH FCT Teen Care - มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก ช 10 ปี(15.1) ญ 9 ปี(14.9) -อัตราการคลอด ในวัยรุ่น15 – 19 ปี -เข้าไม่ถึงบริการ/ไม่เคยได้รับบริการ 89.2% การตั้งครรภ์ซ้ำ LBW / Birth Asphyxia

21 พระราชบัญญัติ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพ.ศ. 2559
การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพ.ศ กฎหมายที่มุ่งป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการบนพื้นฐานสิทธิของวัยรุ่น

22 พระราชบัญญัติ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ กฎหมายที่มุ่งป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอย่างบูรณาการบนพื้นฐานสิทธิของวัยรุ่น

23

24

25 นโยบาย พรบ 29/12/61 “อนามัยการเจริญพันธุ์” หมายความว่า ภาวะความแข็งแรงสมบูรณ์ของร่างกาย และจิตใจที่เป็นผลอันเกิดจากกระบวนการทาหน้าที่ของระบบสุขภาพทางเพศและการเจริญพันธุ์ตลอดช่วงชีวิต ซึ่งทาให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข วรรณดี จันทรศิริ

26 การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
นโยบาย พรบ 29/12/61 พระราชบัญญัติ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ “เพศวิถีศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้ในเรื่องเพศที่ครอบคลุมถึง พัฒนาการในแต่ละช่วงวัย การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล พฤติกรรมทางเพศ สุขภาวะทางเพศ มิติทางสังคมและวัฒนธรรม รวมทั้งสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความเสมอภาคทางเพศ วรรณดี จันทรศิริ

27 มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
นโยบาย พรบ 29/12/61 มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้รัฐมนตรี แต่ละกระทรวงมีอานาจออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงนั้น วรรณดี จันทรศิริ

28 มาตรา ๕ วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมีสิทธิได้รับข้อมูลข่าวสาร และความรู้ ได้รับการบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว ได้รับการจัดสวัสดิการสังคม อย่างเสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัติ และได้รับสิทธิอื่นใดที่เป็นไป เพื่อประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ

29 มาตรา ๖ ให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันและ
นโยบาย พรบ 29/12/61 มาตรา ๖ ให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังนี้ จัดให้การเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาให้ เหมาะสมกับช่วงวัย 2. จัดหาและพัฒนาผู้สอนเพศวิถีให้การปรึกษาเรื่อง การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 3. จัดระบบการดูแลช่วยเหลือ คุ้มครองให้นักเรียน ได้รับการศึกษาที่เหมาะสมต่อเนื่อง วรรณดี จันทรศิริ

30 มาตรา ๗ ให้สถานบริการดำเนินการป้องกันและ
นโยบาย พรบ 29/12/61 มาตรา ๗ ให้สถานบริการดำเนินการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังนี้ 1. ให้ข้อมูลข่าวสารความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและ แก้ไขฯให้แก่วัยรุ่นถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ 2. จัดให้บริการคำปรึกษาและบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ได้ มาตรฐานสอดคล้องกับสิทธิตามมาตรา ๕ วรรณดี จันทรศิริ

31 มาตรา ๘ ให้สถานประกอบการดำเนินการป้องกันและ
นโยบาย พรบ 29/12/61 มาตรา ๘ ให้สถานประกอบการดำเนินการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นดังนี้ 1.ให้ข้อมูลข่าวสารความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขฯให้แก่ ลูกจ้างวัยรุ่นถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ 2. จัดหรือสนับสนุนให้ลูกจ้างเข้าถึงบริการคำปรึกษาและบริการ อนามัยการเจริญพันธุ์ รวมทั้งจัดให้มีระบบการส่งต่อให้ ได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเหมาะสม วรรณดี จันทรศิริ

32 มาตรา ๙ ให้จัดสวัสดิการทางสงคมที่เกี่ยวกับกา
นโยบาย พรบ 29/12/61 มาตรา ๙ ให้จัดสวัสดิการทางสงคมที่เกี่ยวกับกา ป้องกันและและไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นดังนี้ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัด ระดับอำเภอ สร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชน ในพื้นที่ เพื่อเป็นแกนนำป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2. ส่งเสริม สนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยงข้องประสานงาน เฝ้าระวัง ให้ความช่วยเหลือแก่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์และครอบครัว 3. จัดให้มีการฝึกอาชีพตามความสนใจและความถนัดแกวัยรุ่นก่อนและ หลังคลอด และประสานจัดหางาน 4. จัดหาครอบครัวทดแทนในกรณีวัยรุ่นไม่สามารถเลี้ยงดูลูกได้ 5. การจัดสวัสดิการด้านอื่นๆ วรรณดี จันทรศิริ

33 มาตรา ๑๐ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่
นโยบาย พรบ 29/12/61 มาตรา ๑๐ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ ดำเนินการให้ วัยรุ่นในเขตราชการส่วน ท้องถิ่นได้รับสิทธิตามมาตรา ๕ วรรณดี จันทรศิริ

34 นโยบาย พรบ 29/12/61 มาตรา ๒๒ ให้กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รับผิดชอบงานธุรการ ของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ และให้มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ จัดทำนโยบาย ยุทธศาสตร์ และรายงานการป้องกันและ แก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเสนอต่อคณะกรรมการ (๒) ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล และร่วมมือกับหน่วยงาน ของรัฐ และหน่วยงานของเอกชนที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย และ ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น (๓) ส่งเสริมและสนับสนุนการรณรงค์ และสร้างความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นและพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม วรรณดี จันทรศิริ

35 (๔) เป็นศูนย์กลางฐานข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา
นโยบาย พรบ 29/12/61 (๔) เป็นศูนย์กลางฐานข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น และดำเนินการหรือสนับสนุนให้มีการ ศึกษาวิจัยในเรื่องดังกล่าว (๕) จัดทำแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกัน ช่วยเหลือ แก้ไข และเยียวยา ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปัญหาอนามัยการ เจริญพันธุ์ของวัยรุ่น การใช้ความรุนแรงทางเพศ และการ กระทำความผิดเกี่ยวกับเพศ และเผยแพร่ให้แก่หน่วยงาน ของรัฐและหน่วยงานของเอกชน จัดทำแนวทางการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรซึ่งปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการมอบหมาย หรือตามที่กฎหมายกำหนดให้ เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข วรรณดี จันทรศิริ

36 ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2560-2569
ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ

37 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตแก่วัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมบทบาทครอบครัวและชุมชนในการเลี้ยงดู สร้าง สัมพันธภาพและการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่มีคุณภาพและเป็นมิตร ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบช่วยเหลือ คุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดสวัสดิการสังคมในกลุ่มวัยรุ่น ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสื่อสารสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาวะทางเพศใน สังคม ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนากลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในทุกระดับ

38 แนวคิดหลักของยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์นี้เน้น การเสริมสร้างการบูรณาการความร่วมมือของหน่วยราชการและภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคม การพัฒนาวัยรุ่นเชิงบวก มุ่งสร้างสุขภาวะแก่วัยรุ่น โดยสร้างความเข้มแข็งแก่ผู้ใหญ่และชุมชน เพื่อจัดการกับปัจจัยเสี่ยงและส่งเสริมปัจจัยบวกที่มีผลต่อพัฒนาการของวัยรุ่นไปพร้อมๆ กัน ให้ความรู้ คำแนะนำและช่วยเหลือวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์และครอบครัวให้สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข เพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มีการติดตามสถานการณ์ปัญหา รวมทั้งมีการกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

39 เป้าหมาย ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยพิจารณาจากการลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นลงครึ่งหนึ่งภายในพ.ศ เมื่อเทียบกับพ.ศ. 2558

40 กลไกระดับชาติ สนับสนุนและประสานการทำงานระหว่างทุกภาคส่วน
นโยบาย พรบ 29/12/61 กลไกระดับชาติ สนับสนุนและประสานการทำงานระหว่างทุกภาคส่วน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น งบประมาณสำหรับงานประสานและริเริ่ม หนุนเสริมวิชาการ พัฒนาศักยภาพที่จำเป็น ผู้บริหารหน่วยงานระดับจังหวัด สนับสนุนการทำงาน ๙ ภารกิจในพื้นที่ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ กระทรวงสาธารณสุข กลไกประสานระหว่างทุกภาคส่วน ระบบข้อมูล ติดตาม และประเมินผล กระทรวงศึกษาธิการ การส่งเสริมทักษะชีวิตและเพศศึกษาในโรงเรียน กระทรวงมหาดไทย การพัฒนาทักษะพ่อแม่ในการสื่อสารกับลูก ลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นลงครึ่งหนึ่งใน ปี ๒๕๖๙ กระทรวงวัฒนธรรม การป้องกันในกลุ่ม เปราะบาง กระทรวงแรงงาน ในการดำเนินงานเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ต้องประกอบด้วยหลากหลายภาคส่วน กระทรวงต่างๆที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงแรงงาน กระทรวง ICT และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยมีผู้บริหารหน่วยงานระดับจังหวัดสนับสนุนการทำงาน 9 ภารกิจในพื้นที่คือ 1.กลไกประสานระหว่างทุกภาคส่วน 2.การส่งเสริมทักษะชีวิตและเพศศึกษาในโรงเรียน 3.การป้องกันในกลุ่มเปราะบาง 4.การจัดพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับวัยรุ่น 5.การจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น 6.บริการด้านสังคมทั้งการดูแลบุตร การได้ศึกษาต่อ และ/หรือส่งเสริมให้มีงานทำในรายได้ที่พอเพียง 7.การสื่อสารรณรงค์ 8.การพัฒนาทักษะพ่อแม่ในการสื่อสารกับลูก 9.ระบบข้อมูล ติดตาม และประเมินผล การสื่อสารรณรงค์ กระทรวง ICT การจัดพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับวัยรุ่น บริการด้านสังคมทั้งการดูแลบุตร การได้ศึกษาต่อ และ/หรือส่งเสริมให้มีงานทำในรายได้ที่พอเพียง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ การจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ภาควิชาการและภาคีอื่นๆ วรรณดี จันทรศิริ

41 วัตถุประสงค์ 1.วัยรุ่นมีความรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต
9.รณรงค์สื่อสารเพื่อให้เกิดวัฒนธรรม ค่านิยมที่ส่งเสริมสุขภาวะทางเพศ 8. พ่อแม่วัยรุ่นได้รับสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสมรวมถึงการฝึกอาชีพและการได้ งานทำ 2. ครอบครัวมีทัศนคติเชิงบวกและมีบทบาทในการสื่อสารเรื่องเพศกับ บุตรหลาน 7.พ่อแม่วัยรุ่นได้รับความช่วยเหลือในการจัดหาครอบครัวทดแทนอย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ในกรณีที่ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ วัตถุประสงค์ 3. วัยรุ่นในระบบการศึกษาที่ตั้งครรภ์ได้รับความช่วยเหลือจากสถานศึกษา และครอบครัวให้สามารถศึกษาต่อเนื่องได้ 6.พ่อแม่วัยรุ่นได้รับคำแนะนำและการช่วยเหลือเกี่ยวกับการดูแลเลี้ยงดูบุตรอย่างมีคุณภาพ 4. วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ได้รับการปรึกษาทางเลือก สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ 5. วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ได้รับบริการที่เป็นมิตรและถูกต้องตามหลักวิชาการ

42 นโยบาย / ระบบเฝ้าระวัง/ การติดตามและประเมินผล
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น นโยบาย พรบ 29/12/61 สถานศึกษา มีการสอนเพศศึกษารอบด้าน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ นักเรียน พัฒนาแกนนำวัยรุ่น เป้าหมาย 1.ชะลอการมีเพศสัมพันธ์ 2.เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย 3.การตั้งครรภ์ที่พร้อม สถานบริการสาธารณสุข อปท. / ครอบครัว / ชุมชน มีฐานข้อมูล แผนงาน และ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ มีการจัดบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน มีระบบการดูแล/ส่งต่อ เชื่อมโยง ทุกระดับ มีแผนดำเนินการ สนับสนุนทรัพยากร มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัย การเจริญพันธุ์ การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม ครอบครัวมีการสื่อสารเรื่องเพศ พื้นที่เรียนรู้สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครองในรูปแบบโรงเรียนพ่อแม่ จากกรอบแนวทางการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ของ WHO ซึ่งเน้นว่าการส่งเสริมให้วัยรุ่นมีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี ต้องเน้นอยู่ใน setting สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว / ชุมชน โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วม โดยที่สถานศึกษามีบทบาท การสอนเพศศึกษารอบด้าน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และพัฒนาแกนนำวัยรุ่น สถานบริการสาธารณสุข มีฐานข้อมูล แผนงาน และ กิจกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ มีการจัดบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS) และมีระบบการดูแล/ส่งต่อ เชื่อมโยง ทุกระดับ ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการ จัดทำแผนดำเนินการ การสนับสนุนทรัพยากร มีฐานข้อมูลเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสสังคม และครอบครัวมีการสื่อสารเรื่องเพศ นโยบาย / ระบบเฝ้าระวัง/ การติดตามและประเมินผล วรรณดี จันทรศิริ

43 ๑. อัตราการคลอดในวัยรุ่น ๑๕ - ๑๙ ปี
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ๑. อัตราการคลอดในวัยรุ่น ๑๕ - ๑๙ ปี ๒. อัตราการคลอดในวัยรุ่น ๑๐ - ๑๔ ปี

44 ตัวชี้วัดผลผลิต ๑. ร้อยละของวัยรุ่นที่เคยมีเพศสัมพันธ์
๒. ร้อยละของวัยรุ่นที่ใช้ถุงยางอนามัย ๓. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น ๔. จำนวนวัยรุ่นผู้มีภาวะแทรกซ้อนหรือเสียชีวิต จากการทำแท้ง ๕. ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น

45 ตัวชี้วัดผลผลิต ๖. ร้อยละของวัยรุ่นมีความรู้เรื่องทักษะชีวิตและเพศศึกษา รอบด้านอย่างเหมาะสมตามวัย ๗. จำนวนวัยรุ่นในระบบการศึกษาที่ต้องออกจากการเรียน เนื่องจากปัญหาการตั้งครรภ์ ร้อยละของแม่วัยรุ่นที่ได้รับสวัสดิการสังคมอย่าง เหมาะสม ร้อยละของวัยรุ่นตั้งครรภ์ที่สามารถดำรงชีวิตใน ครอบครัวและชุมชนได้โดยไม่ถูกตีตรา ๑๐. ร้อยละของอปท มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในพื้นที่อย่าง ต่อเนื่อง

46 นโยบาย ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มาตรการในการขับเคลื่อน

47

48 การคุมกำเนิดหลังการยุติการตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ
นโยบาย พรบ 29/12/61 กรมอนามัยสนับสนุนให้มีการใช้วิธีการ คุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร ได้แก่ ห่วงอนามัย และ ยาฝังคุมกำเนิด ในวัยรุ่นทั่วไป หรือหลังคลอด/ หลังยุติการตั้งครรภ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุนการ ให้บริการโดยสถานบริการจะได้รับค่าตอบแทนการ ให้บริการห่วงอนามัย ในอัตรา 800 บาทต่อราย และยาฝังคุมกำเนิด ในอัตรา 2,500 บาทต่อราย เริ่มตั้งแต่ 1 พ.ค. 2557 ส่วนในการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ กรมอนามัยได้เน้นในเรื่องการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวรในวัยรุ่นทั่วไปที่มีเพศสัมพันธ์ หรือวัยรุ่นหลังคลอดและหลังการยุติการตั้งครรภ์ โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้สนับสนุนการให้บริการค่าตอบแทนห่วงอนามัย ในอัตรา 800 บาทต่อราย และยาฝังคุมกำเนิด ในอัตรา 2,500 บาทต่อราย วรรณดี จันทรศิริ

49 การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย
นโยบาย พรบ 29/12/61 มี 2 วิธี 1.การยุติการตั้งครรภ์ด้วยวิธีทางศัลยกรรม D&C MVA (manual vacuum aspiration) 2.การยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา WHO แนะนำการใช้ยา 2 ชนิดร่วมกัน เพื่อยุติการตั้งครรภ์ในอายุครรภ์ ไม่เกิน 63 วัน โดยกินยามิฟิพริสโตน 200 มิลลิกรัม 1 เม็ด จากนั้น 24 – 48 ชั่วโมง ให้ใช้ไมโซโพรสตอล ขนาด200 ไมโครกรัม 4 เม็ด เหน็บทางช่องคลอดหรืออมใต้ลิ้นหรือข้างกระพุ้งแก้ม ในส่วนการจัดบริการ ทางกรมอนามัยเน้นการจัดบริการในคลินิกวัยรุ่น ที่เน้นในเรื่องการให้ความรู้ การป้องกันการตั้งครรภ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ ตลอดจนยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย และข้อบังคับแพทยสภา ซึ่งการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย มีทั้งวิธีทางศัลยกรรมและการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา วรรณดี จันทรศิริ


ดาวน์โหลด ppt นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google