งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3

2 1 2 3 ประเด็นนำเสนอ วัตถุประสงค์ ภาพรวม และประโยชน์ที่ได้รับ
ระบบ e-GP ระยะที่ 3 3 ขั้นตอนโดยสรุปของระบบ e-GP ระยะที่ 3

3 วัตถุประสงค์ ภาพรวม และประโยชน์ที่ได้รับ
1 วัตถุประสงค์ ภาพรวม และประโยชน์ที่ได้รับ

4 วัตถุประสงค์ e-GP ระยะที่ 3
1 สร้างมาตรฐานสากลและ เป็นที่ยอมรับให้กับระบบ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดย พัฒนาการจัดซื้อจัดจ้าง ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ให้ ครบวงจร 2 เพิ่มความโปร่งใสของ การจัดซื้อจัดจ้าง และ ส่งเสริมให้เกิดการ แข่งขัน อย่างเป็นธรรม 3 เป็นแหล่งข้อมูลการ จัดซื้อจัดจ้างที่ให้ หน่วยงานกลาง หรือ หน่วยงานภาครัฐ นำข้อมูลไปอ้างอิงในการ กำหนดราคากลาง หรือ การของบประมาณ ต่อไปได้ 4 ลดขั้นตอนและเพิ่ม ประสิทธิภาพของการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ 5 เพื่อลดต้นทุนของ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง

5 ภาพรวมของระบบ e-GP e-GP ระยะที่ 1 e-GP ระยะที่ 2 e-GP ระยะที่ 3 EPIC
ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement System : e-GP) Information Disclosure Center Registration Management System Operation System หน่วยงานภาครัฐ EPIC e-Auction Contact Management Government Fiscal Management Information System (GFMIS) e-Contact/e-Signature ผู้ค้าภาครัฐ (Supplier) Management Information System ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา Help Desk e-Market Grading ผู้สนใจทั่วไป หน่วยงานผู้ตรวจสอบ Bank Gateway e-Bidding DRC CA

6 ประโยชน์ที่ได้รับ e-GP คือ ศูนย์กลางที่เป็นหน้าต่างในการบริการข้อมูล และดำเนินธุรกรรมทางการจัดซื้อจัดจ้างด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การปรับปรุง นโยบายการจัดซื้อ จัดจ้างอย่างมี ประสิทธิภาพ กระตุ้นตลาด และเสริมสร้าง ขีดความสามารถ ของภาคเอกชน  ความสะดวก และความทั่วถึง อย่างเท่าเทียมกัน ความโปร่งใส และมีประสิทธิภาพ

7 2 ระบบ e-GP ระยะที่ 3

8 วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
หลักการจัดซื้อจัดจ้างเดิม วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่เกิน 100,000 บาท ตกลงราคา 100,000 – 2,000,000 บาท สอบราคา เกิน 2,000,0000 บาท e-Auction

9 หลักการจัดซื้อจัดจ้างใหม่
สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าไม่ซับซ้อน สินค้าซับซ้อน E-Market E-Bidding ทุกขั้นตอนเป็นอิเล็กทรอนิกส์ มาแทนวิธีสอบราคา ประกวดราคา และ e-auction

10 หลักการ : การตรวจผู้มีอาชีพ
เดิม ใหม่ ส่วนราชการตรวจ ผู้มีอาชีพกับผู้ค้า ทุกคนที่ยื่นข้อเสนอ ส่วนราชการ ตรวจผู้มีอาชีพเฉพาะผู้ค้าที่เป็น ผู้ชนะ การเสนอราคา

11 หลักการ : การใช้ดุลยพินิจ
เดิม ใหม่ ส่วนราชการใช้ ดุลยพินิจในการเลือกผู้ชนะ ระบบเลือกผู้ชนะโดยคัดเลือกจาก ผู้เสนอข้อเสนอ ที่ดีที่สุด

12 หลักการ : สินค้า การซื้อจำเป็นต้องอ้างอิงรหัสสินค้าและบริการภาครัฐทุกครั้ง รหัสสินค้าและบริการภาครัฐสามารถนำไปสู่การเปรียบเทียบราคาได้ รหัสสินค้าและบริการภาครัฐนำไปเชื่อมโยงข้อมูลราคากลางของ หน่วยงานอื่น เช่น สำนักงบประมาณ และกระทรวง ICT

13 หลักการ : การเปิดเผยและเผยแพร่
ต้องมีการเผยแพร่ข้อมูลดังต่อไปนี้ แผนการจัดซื้อจัดจ้าง เอกสารประกาศจัดซื้อจัดจ้าง/ราคากลาง ผลการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญา

14 e-Market ผู้ค้า ส่วนราชการ e-Catalog Market ประกาศ ใบเสนอราคา สินค้า
ข้อมูลสินค้า - รหัสสินค้า (UNSPSC) - คุณสมบัติ ประกาศ ผู้ค้า ตอบกลับ ประกาศ สินค้า - คุณสมบัติสินค้า - จำนวน ผู้ค้า - คุณสมบัติ ฯลฯ ใบเสนอราคา - สินค้า - ราคา ฯลฯ ส่วนราชการ RFQ,RFA ผู้ชนะการเสนอราคา

15 e-Bidding ส่วนราชการ ผู้ค้า ประชาชนทั่วไป จัดทำ ร่างประกาศ ประกวดราคาฯ
เสนอราคา ส่วนราชการ เผยแพร่/วิจารณ์ ประกาศ จัดทำ ร่างประกาศ ประกวดราคาฯ ประกาศ ประกวดราคาฯ พิจารณาผล ประกาศผู้ชนะ

16 อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน
ผู้ค้า : ลงทะเบียนและกรอกข้อมูลสินค้า ผู้ค้า ลงทะเบียน บันทึกข้อมูลสินค้า (e-Catalog) อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน

17 อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน
ผู้ค้า : เสนอราคา ผู้ค้า ประกาศฯ รับเอกสาร เสนอราคา อิเล็กทรอนิกส์ทุกขั้นตอน

18 การจัดซื้อจัดจ้าง 12 วิธี แผนการ จัดซื้อจัดจ้าง
ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐอิเล็กทรอนิกส์ แผนที่ Grading การจัดซื้อจัดจ้าง 12 วิธี แผนการ จัดซื้อจัดจ้าง สร้างโครงการ e-Bidding รับราคา หลักประกันซอง ส่วนราชการ OTP ผู้ค้า e-Market ลงทะเบียน เสนอราคา e-Contract CA e-Catalog UNSPSC ราคากลาง ประวัติ ซื้อจ้าง บริหารสัญญา e-Sourcing RFI

19 ระบบอื่นๆ ระบบลงทะเบียน ระบบบริหารจัดการรหัส UNSPSC e-Catalog Grading
ระบบรับราคา

20 แนวทางการแก้ปัญหากรณีหารหัสไม่พบ (สินค้าทั่วไป)
1. เมื่อส่วนราชการหารหัสสินค้าในระบบ e-catalog ไม่พบ เบื้องต้นให้ส่วนราชการดำเนินการดังนี้ 1.1 ตรวจสอบว่าสินค้าหรือบริการที่จะจัดซื้อจัดจ้างดังกล่าวเคยจัดซื้อจัดจ้างและทำ PO มาก่อนหรือไม่ 1.2 หากเคยจัดซื้อจัดจ้างมาแล้ว ส่วนราชการจะมีใบสั่งซื้อ (PO) ที่เคยจัดทำไว้ในระบบ GFMIS และในใบสั่งซื้อจะมีข้อมูลรหัส GPSC 1.3 รหัส GPSC กับ รหัส UNSPSC มีความสัมพันธ์กัน ดังนั้น ส่วนราชการหากมีรหัส GPSC มาก่อนก็สามารถค้นหารหัส UNSPSC ได้ 1.4 วิธีการค้นหารหัส UNSPSC จากรหัส GPSC ให้ดำเนินการดังนี้ 1.4.1 เข้าไปยังเว็บไซต์ จากนั้นเลื่อนลงมาด้านล่างแล้ว คลิกเลือกเมนูค้นหารหัส GPSC 1.4.2 นำตัวเลข 8 หลักแรกของรหัส GPSC บันทึกที่ช่อง INC ตามภาพ จากนั้นกดปุ่มค้นหา ระบบจะแสดงรหัส UNSPSC ขึ้นมาให้

21 แนวทางการแก้ปัญหากรณีหารหัสไม่พบ (สินค้าทั่วไป)
2. หากดำเนินการตามข้อ 1. แล้ว ระบบไม่พบข้อมูลรหัส UNSPSC ของสินค้าดังกล่าว ให้ส่วนราชการดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 ให้สันนิษฐานว่ารหัสนั้นได้เปลี่ยนรหัสไปแล้วหรืออาจยกเลิกไปแล้ว 2.2 ให้ส่วนราชการลองค้นหาใหม่ โดยการใส่คำค้นภาษาไทย แต่ไม่ต้องใส่เลข 2.3 หากดำเนินการตามข้อ 2.2 ยังไม่พบ ให้ลองค้นหาแบบตัดคำ หรือย่อคำ หรือใช้คำแทน เช่น โทรทัศน์แทน ทีวี 2.4 เมื่อดำเนินการตามข้อ 2.2 – 2.3 แล้วยังไม่พบ ใช้คำที่ใกล้เคียง 2.5 เมื่อดำเนินการตามข้อ 2.4 แล้วยังไม่พบ ให้ส่วนราชการลองค้นเป็นภาษาอังกฤษ 2.6 เมื่อดำเนินการตามข้อ 2.5 แล้วยังไม่พบ ให้ใช้เลข Dummy 3. กรณีค้นหารหัส UNSPSC ในระบบ e-catalog แล้วพบรหัส แต่เป็นภาษาอังกฤษ ให้สันนิษฐานว่าเป็นรหัสใหม่ อยู่ระหว่างการทยอยแปลเป็นภาษาไทย ให้ส่วนราชการดำเนินการดังนี้ 3.1 ให้ส่วนราชการเลือกใช้รหัส UNSPSC นั้นได้เหมือนปกติ 3.2 เมื่อดำเนินการตามข้อ 3.1 แล้ว ให้ส่วนราชการส่งแบบแจ้งปัญหาการใช้งานระบบ e-GP มายังสำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เพื่อให้เพิ่มคำแปลภาษาไทยในระบบ e-catalog ต่อไป

22 แนวทางการแก้ปัญหากรณีหารหัสไม่พบ (ยารักษาโรคหรือครุภัณฑ์ทางการแพทย์)
4. กรณียารักษาโรค 4.1 หากเป็นยาในบัญชียาหลักหรือยาที่มีรหัส TMT ส่วนราชการ/โรงพยาบาลต้องค้นหายาดังกล่าว โดยใช้รหัส TMT (GPU) เท่านั้น 4.2 หากเป็นยาที่ไม่มีรหัส TMT ส่วนราชการต้องดำเนินส่งแบบฟอร์มขอเพิ่มรหัส TMT (GPU) ไปที่ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย ที่เว็บไซต์ จากนั้นเลือกหัวข้อ ขอเพิ่ม TMTID 4.3 เมื่อศูนย์พัฒนามาตรฐานฯ ดำเนินการเพิ่มรหัสให้แล้วตามข้อ 4.2 กรมบัญชีกลางจะนำรหัสดังกล่าวเข้าระบบ e-catalog ต่อไป 4.4 หากเป็นยานอกบัญชี TMT ให้ส่วนราชการ/โรงพยาบาล ใช้รหัส Dummy – 5. กรณีครุภัณฑ์ทางการแพทย์และสารเคมี 5.1 ให้ส่วนราชการ/โรงพยาบาลลองค้นหาแบบตัดคำ หรือย่อคำ หรือใช้คำแทน หรือคำใกล้เคียง 5.2 เมื่อดำเนินการตามข้อ 5.1 แล้วยังไม่พบ ให้ส่วนราชการลองค้นเป็นภาษาอังกฤษ 5.3 เมื่อดำเนินการตามข้อ 5.2 แล้วยังไม่พบ ให้เลือกรหัสที่ใกล้เคียง อาทิ สารเคมี , อุปกรณ์ทางการแพทย์ 5.4 เมื่อดำเนินการตามข้อ 5.3 แล้วยังไม่พบ ให้ใช้เลข Dummy

23 Grading : ประเมินเพื่อลงโทษผู้ค้า
การดำเนินการในกระบวนการจัดหา การบันทึกข้อมูลใน e-Catalog การบันทึกข้อเสนอ ฯลฯ การดำเนินการตามสัญญา ส่งมอบงาน/ตรวจรับงาน บทลงโทษ ลงโทษเป็นผู้ทิ้งงาน พักการเข้าร่วมการจัดซื้อจัดจ้าง

24 Grading : ประเมินเพื่อส่งเสริมสินค้าและผู้ค้าที่มีคุณภาพ
ประเมินคุณภาพสินค้า ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ประเมินคุณภาพของผู้ค้า คุณภาพในการดำเนินงานตามสัญญา บริการหลังการขาย การนำผลการประเมินไปใช้ เป็นปัจจัยหนึ่งในการพิจารณาผู้ชนะ นำข้อมูลไปแสดงระบบ e-Catalog

25 Grading : ประเมินเพื่อส่งเสริมสินค้าและผู้ค้าที่มีคุณภาพ
เครื่องมือ ข้อมูลในระบบ e-GP แบบสอบถาม

26 การรับราคา - ราคา - Price Performance

27 Price Performance : ตัวอย่าง
บริษัท ก. เสนอราคาต่ำสุด ด้วยวงเงิน 100,000 บาท ตัวชี้วัด น้ำหนัก คะแนน รวม ราคา 60 100 เทคนิค 30 18 Grading 10 6 84 บริษัท ข. เสนอราคาต่ำสุด ด้วยวงเงิน 110,000 บาท ตัวชี้วัด น้ำหนัก คะแนน รวม ราคา 60 90 54 เทคนิค 30 27 Grading 10 80 8 89

28 ภาพรวมของระบบ e-GP

29 การเชื่อมโยงกับระบบอื่น
3 ระบบ GFMIS 2 e-GP System 1 หลักประกันซอง หลักประกันสัญญา การซื้อเอกสาร Bank

30 การเชื่อมโยงกับระบบ GFMIS
ข้อมูลงบประมาณ ข้อมูลหลักผู้ขาย การจัดทำใบ PO การ ตรวจรับ เป็นการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ GFMIS โดยดึงข้อมูลจากระบบ e-GP และการตรวจสอบข้อมูลหลักผู้ขายและเลขที่บัญชีผู้ค้าจากระบบ GFMIS ในขั้นตอนการจัดทำร่างสัญญาในระบบ e-GP ระบบ GFMIS จะส่งข้อมูล พรบ. งบประมาณให้ระบบ e-GP ทุกต้นปีงบประมาณ ทั้งในส่วนของข้อมูลรหัสงบประมาณ และรหัสแหล่งของเงิน การจัดทำ PO ประเภททั่วไป (บส. 01) และการจัดทำ PO ประเภทไม่แน่นอน (บส. 04) โดยดึงข้อมูลสัญญาจากระบบ e-GP มาบันทึกในระบบ GFMIS ผ่านเลขที่โครงการและเลขคุมสัญญาจากระบบ e-GP คือการตรวจรับในระบบ e-GP เมื่อมีการส่งมอบงานและตรวจรับแล้ว จากนั้นเมื่อมีการตรวจรับและสั่งจ่ายในระบบ GFMIS แล้ว ก็จะส่งข้อมูลมายังระบบ e –GP ได้โดยอัตโนมัติ เพื่อนำข้อมูลไปแสดงในระบบ ตรวจรับและเบิกจ่ายต่อไป

31 การเชื่อมโยงกับธนาคาร
หนังสือค้ำประกันต่าง ๆ เช่น หนังสือค้ำประกันซอง หนังสือค้ำ ประกันสัญญา เป็นต้น การซื้อเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ Web service

32 การเชื่อมโยงกับศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย
เป็นระบบสำหรับตรวจสอบรายชื่อที่ปรึกษาจากรายชื่อที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักบริหารหนี้สาธารณะ โดยดำเนินการผ่าน web service Web service

33 ร่างสัญญาและการบริหารสัญญา
การดำเนินงานตามสัญญา การส่งมอบงาน การตรวจรับงาน การเบิกจ่ายเงิน การแก้ไขสัญญา การยกเลิกสัญญา การแจ้งส่งมอบงาน การแจ้งค่าปรับ

34 สรุปกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ : e-market, e-bidding
8บันทึกรายชื่อผู้ขอรับ เอกสาร/ซื้อเอกสาร 9 บันทึกรายชื่อ/ ผู้ค้ายื่นเอกสารเสนอราคา ระบบ e-GP 7. ประกาศเชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ 10. พิจารณาผลการเสนอราคา (ต่ำสุด/Price Performance) และตรวจสอบผลผู้ชนะ BD,MK 6. ปรับปรุงร่างเอกสาร ประกวดราคา 11. นัดหมายเสนอราคา และแจ้งรายชื่อผู้มีสิทธิเสนอราคา ซื้อซอง online / BD ยื่นหลักประกัน 5. จัดทำร่างเอกสารประกวดราคา (วิจารณ์หรือไม่วิจารณ์ก็ได้)/ จัดทำ ร่างประกาศเชิญชวน 12. เสนอหัวหน้าส่วนราชการ เห็นชอบและจัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง /แต่งตั้งกรรมการตรวจรับ (optional) BD,MK BD 5. จัดทำเอกสารซื้อจ้าง ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ และประกาศเชิญชวน MK ขั้นตอนในระบบ GFMIS 13. ประกาศรายชื่อผู้ชนะการ เสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 4. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง และแต่งตั้งคณะกรรมการ (optional) ขั้นตอนที่เพิ่มใหม่ในระบบ e-GP 3 ขั้นตอนที่มีอยู่เดิมในระบบ e-GP 2 14. จัดทำร่างสัญญา BD,MK 3. สร้างโครงการ จัดซื้อจัดจ้าง 15. ตรวจสอบหลักประกันสัญญา และจัดทำสัญญา 2. จัดทำแผนการจัดซื้อ จัดจ้างประจำปีงบประมาณ 16. ข้อมูลสาระสำคัญ ในสัญญา 17. บริหารสัญญา นำข้อมูลงบประมาณ จาก GFMIS เข้า e-GP ระบบ GFMIS 1. ได้รับงบประมาณ ประจำปี 18. ลงทะเบียนทรัพย์สิน ตั้งเบิก/เบิกจ่าย นำข้อมูล PO จาก e-GP เข้า GFMIS

35 4 ขั้นตอนในระบบ e-GP

36 วิธี e-market 1. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง / กำหนดความต้องการ / แต่งตั้งกรรมการ / ร่างเอกสาร e-market 2. ประกาศ e-market ขึ้นเว็บไซต์ 3. จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง 4. ประกาศรายชื่อผู้ชนะการเสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 5. จัดทำร่างสัญญา 6. ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 7. ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 8. บริหารสัญญา

37 วิธี e-bidding 1. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง / แต่งตั้งกรรมการ / ร่างเอกสาร e-bidding / ประกาศขึ้นเว็บไซต์ 2. รายชื่อผู้เสนอราคาและผลการพิจารณา 3. จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง / ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 4. จัดทำร่างสัญญา 5. ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 6. ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 7. บริหารสัญญา

38 วิธีตกลงราคา สร้างโครงการ 1
จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 บันทึกราคาของผู้เสนอราคา 8 การบริหารสัญญา 7 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 6 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 5 จัดทำร่างสัญญา 4 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง

39 วิธีพิเศษ / วิธีกรณีพิเศษ
สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 บันทึกราคาของผู้เสนอราคา 8 การบริหารสัญญา 7 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 6 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 5 จัดทำร่างสัญญา 4 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง

40 จ้างที่ปรึกษา โดยวิธีตกลง
สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 บันทึกราคาของผู้เสนอราคา 8 การบริหารสัญญา 7 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 6 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 5 จัดทำร่างสัญญา 4 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง

41 จ้างที่ปรึกษา โดยวิธีคัดเลือก
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 บันทึกรายชื่อที่ปรึกษาที่คัดเลือก 8 บันทึกราคา ผู้เสนอราคา 7 บันทึกรายชื่อผู้ผ่านการพิจารณา 6 บันทึกและประกาศรายชื่อ ผู้ผ่านการตรวจสอบ 5 บันทึกรายชื่อ ผู้ยื่นเอกสารเสนอราคา 4 จัดทำหนังสือเชิญชวน 9 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง 10 จัดทำร่างสัญญา 11 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 12 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 13 การบริหารสัญญา

42 จ้างออกแบบ โดยวิธีตกลง
สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 บันทึกราคาของผู้เสนอราคา 8 การบริหารสัญญา 7 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 6 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 5 จัดทำร่างสัญญา 4 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง

43 จ้างออกแบบ โดยวิธีคัดเลือก
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 ประกาศ เชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ 8 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง 7 บันทึกรายชื่อผู้ผ่านการพิจารณา 6 บันทึกและประกาศรายชื่อ ผู้ผ่านการตรวจสอบ 5 บันทึกรายชื่อ ผู้ยื่นเอกสารเสนอราคา 4 บันทึกรายชื่อ ผู้ขอรับเอกสาร/ซื้อเอกสาร 9 ประกาศรายชื่อผู้ชนะการเสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 10 จัดทำร่างสัญญา 11 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 12 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 13 การบริหารสัญญา

44 จ้างออกแบบ โดยวิธีคัดเลือกแบบจำกัดข้อกำหนด
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 ประกาศ เชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ 8 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง 7 บันทึกรายชื่อผู้ผ่านการพิจารณา 6 บันทึกและประกาศรายชื่อ ผู้ผ่านการตรวจสอบ 5 บันทึกรายชื่อ ผู้ยื่นเอกสารเสนอราคา 4 บันทึกรายชื่อ ผู้ขอรับเอกสาร/ซื้อเอกสาร 9 ประกาศรายชื่อผู้ชนะการเสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 10 จัดทำร่างสัญญา 11 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 12 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 13 การบริหารสัญญา

45 จ้างออกแบบ วิธีพิเศษ - เลือกจ้าง
สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 บันทึกราคาของผู้เสนอราคา 8 การบริหารสัญญา 7 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 6 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 5 จัดทำร่างสัญญา 4 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อ สั่งจ้าง

46 จ้างออกแบบ โดยวิธีพิเศษ - ประกวดแบบ
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง สร้างโครงการ 1 จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างและแต่งตั้งคณะกรรมการ 2 บันทึกเลขที่และวันที่ของเอกสารและคำสั่ง 3 ประกาศ เชิญชวน ขึ้นเว็บไซต์ 8 จัดทำหนังสืออนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง 7 บันทึกรายชื่อผู้ผ่านการพิจารณา 6 บันทึกและประกาศรายชื่อ ผู้ผ่านการตรวจสอบ 5 บันทึกรายชื่อ ผู้ยื่นเอกสารเสนอราคา 4 บันทึกรายชื่อ ผู้ขอรับเอกสาร/ซื้อเอกสาร 9 ประกาศรายชื่อผู้ชนะการเสนอราคาขึ้นเว็บไซต์ 10 จัดทำร่างสัญญา 11 ตรวจสอบหลักประกันสัญญาและจัดทำสัญญา 12 ข้อมูลสาระสำคัญในสัญญา 13 การบริหารสัญญา

47 การยกเว้นไม่ต้องดำเนินการในระบบ e-GP
1 การจัดซื้อจัดจ้าง ที่มีมูลค่าต่ำกว่า 5,000 บาท ตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค /ว 294 ลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2555  เรื่อง  ซ้อมความเข้าใจแนวทาง การปฏิบัติงานในระบบ e-GP ระยะที่ 2 2 การจัดซื้อจัดจ้าง ตามข้อ 39 วรรค 2 ตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค /ว 294 ลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2555  เรื่อง  ซ้อมความเข้าใจแนวทาง การปฏิบัติงานในระบบ e-GP ระยะที่ 2 3 การจ้างเหมาบุคคลธรรมดาตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุดที่ กค /ว.82 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 เรื่อง ซ้อมความเข้าใจ แนวทางการปฏิบัติงาน ในระบบ e-GP ระยะที่ 2 4 การซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงไม่ถึง 10,000 ลิตร ไม่มีภาชนะเก็บรักษาน้ำมันเชื้อเพลิง กรณีจัดซื้อจากสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงที่ไม่ให้เครดิตแก่ส่วนราชการ , กรณีตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนมาก ที่ กค /ว 89 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2550 เรื่องหลักเกณฑ์และขั้นตอนการใช้บัตรเติมน้ำมันรถราชการ และกรณีการจัดซื้อจากสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงที่ให้เครดิตแก่ส่วนราชการที่ไม่ทำ PO

48 ? Q & A View your slides from anywhere!

49 Thank You What’s Your Message?


ดาวน์โหลด ppt การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google