งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
Process Management : PM ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public sector Management Quality Award : PMQA) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ น.ท.วัชรพงศ์ ขำวิไล หน.ยุทธศาสตร์ กองนโยบายและยุทธศาสตร์ กรมยุทธการทหารเรือ

2 การจัดการกระบวนการ หมวด 1 หมวด 5 หมวด 4 หมวด 2 หมวด 3
การนำองค์กรในการกำหนดนโยบายและสร้างระบบการทำงานขององค์กรคำนึงถึงและเน้นการสร้างคุณค่าให้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งมีการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงผลผลิตหรือบริการที่องค์กรนำส่งได้ หมวด 5 การบริหารกำลังคนให้พอเหมาะกับงาน และการพัฒนาขีดสมรรถนะที่เหมาะสม กับงาน รวมทั้งสร้างบรรยากาศในการปฏิบัติงานที่ดี ปลอดภัย และสามารถปรับปรุงผลการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง การจัดการกระบวนการ หมวด 4 การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการบริหารจัดการการ และสารสนเทศในเชิงเปรียบเทียบได้ตรงกับกระบวนการทำงานขององค์กร และมีการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ หมวด 2 การวางแผนและกลยุทธ์ขององค์กรจะต้องคำนึงถึงทรัพยากร สมรรถนะและกระบวนการทำงานหลักขององค์กร รวมทั้งสามารถนำแผนไปปฏิบัติและปรับปรุงได้อย่างต่อเนื่อง หมวด 3 ประสิทธิภาพในการได้มาซึ่งข้อมูลความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการสร้างผลผลิตหรือบริการให้ตรงกับความต้องการ

3 หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
(หมวด 6) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public sector Management Quality Award : PMQA)

4 สินค้า บริการ หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ กระบวนการผลิต
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) แนวคิดของการจัดการกระบวนการ คือ การระดมทรัพยากรในการดำเนินงาน ได้แก่ บุคลากร วัสดุ แรงงาน และเครื่องจักร เพื่อการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของวัตถุประสงค์หลักขององค์การ สินค้า กระบวนการผลิต บริการ

5 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) การจัดการกระบวนการ เป็นหัวใจสำคัญที่สุดของระบบการบริหารคุณภาพ เนื่องจาก เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนทั้งหมดของส่วนราชการที่นำส่งให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวข้องกับการติดตาม ควบคุม ดูแล ให้กระบวนการดังกล่าวสามารถดำเนินการได้ตามมาตรฐาน เกี่ยวกับการปรับปรุงกระบวนการ และมาตรฐานการทำงาน อย่างต่อเนื่อง

6 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) Function ฝ่าย 1 ฝ่าย 2 ฝ่าย 3 ฝ่าย 4 กระบวนการ การให้บริการ ลูกค้า การสื่อสาร เป้าหมายของกระบวนการ ลูกค้า วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์หลักของหน่วยงาน พันธกิจ การแก้ไขปัญหา ลูกค้า วัตถุประสงค์ของฝ่ายงาน ผู้บังคับบัญชา

7 คน เครื่องจักร เครื่องมือ เทคนิค และวัสดุ กระบวนการผลิต/การให้บริการ
หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ (Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ความหมายของกระบวนการ : Controls INPUT Process OUTPUT ขั้นตอน 1 ขั้นตอน 2 ขั้นตอน 3 คน เครื่องจักร เครื่องมือ เทคนิค และวัสดุ ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ กระบวนการผลิต/การให้บริการ Mechanisms กิจกรรมที่เชื่อมโยงกัน เพื่อจุดมุ่งหมายในการส่งมอบผลผลิตหรือบริการให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายในองค์การและภายนอกองค์การ โดยทั่วไปกระบวนการ ประกอบด้วย คน เครื่องจักร เครื่องมือ เทคนิค และวัสดุ มาทำงานร่วมกันตามขั้นตอน เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ,สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

8 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ความหมายของกระบวนการ : กิจกรรมที่เชื่อมโยงกันโดยมีจุดมุ่งหมายเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือบริการให้แก่ลูกค้า ทั้งลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอก การวางแผนกระบวนการจะช่วยให้องค์กรมองเห็นภาพรวม และความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันของแต่ละกระบวนการ ซึ่งแต่ละกระบวนการไม่สามารถดำเนินการได้อย่างอิสระ โดยไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอื่น การมองกระบวนการเป็นชิ้นย่อยๆ แยกออกจากกัน โดยขาดมุมมองที่เป็นระบบ ถึงแม้ว่าจะปรับปรุงกระบวนการย่อยให้มีประสิทธิภาพหรือได้ผลลัพธ์ที่ดีเพียงใด ก็ไม่อาจรับประกันได้ว่าภาพรวมการประกอบการขององค์กรจะดี ,สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

9 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ประเภทของกระบวนการ : กระบวนการที่สร้างคุณค่า หมายถึง กระบวนการต่างๆ ที่มีความสำคัญที่สุดในการดำเนินธุรกิจ เพื่อรักษาหรือทำให้องค์กรมีความได้เปรียบเชิงแข่งขันอย่างยั่งยืน กระบวนการเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับพนักงานส่วนใหญ่ขององค์กร และสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้า ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็นกระบวนการสำคัญที่สร้างประโยชน์ให้แก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และส่งผลต่อการบรรลุพันธกิจหลักของส่วนราชการ เป็นสิ่งที่ตอบโจทย์ของการจัดสรรทรัพยากรและความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณแผ่นดิน

10 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ประเภทของกระบวนการ : กระบวนการสนับสนุน หมายถึง กระบวนการที่สนับสนุนกระบวนการที่สร้างคุณค่าขององค์กร พนักงานและการปฏิบัติงานประจำวัน รวมถึงการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก กฎหมาย ทรัพยากรบุคคล และการบริหารทั่วไป การออกแบบกระบวนการเหล่านี้ไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของผลิตภัณฑ์และบริการ กระบวนการสนับสนุน ที่สำคัญ : การเงินและการบัญชี การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก กฎหมาย การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารโครงการ การบริหารงานทั่วไป

11 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ระบบงาน กระบวนการ กระบวนการย่อย
หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ (Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ระดับชั้นของกระบวนการ : วิสัยทัศน์ พันธกิจ การวิเคราะห์เพื่อกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า ต้องพิจารณากำหนดระดับชั้นของการวิเคราะห์เพื่อทอนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ลงมาจนถึงกระบวนการในระดับปฏิบัติการและความรับผิดชอบในการปรับปรุงงาน กลุ่มงาน ระดับ 1 Level 1 ระบบงาน ระดับ 2 ระดับ 3 Level 2 กระบวนการ Level 3 and Below กระบวนการย่อย

12 Sub-Sub Processes (Level 3 and Below)
หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ (Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) การวิเคราะห์และการจัดการกระบวนการหลายระดับชั้น : KPI KPI KPI KPI KPI Core Process (Level 1) Inbound Logistics Outbound Logistics Marketing & Sales Operations Service KPI KPI KPI KPI KPI Sub Processes (Level 2) 1 st 2 nd 3 rd 4 th 5 th Start Stop KPI KPI KPI KPI Sub-Sub Processes (Level 3 and Below) Start 1 st 2 nd 3 rd 5 th Stop KPI 4 th

13 เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์กระบวนการ
หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ (Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) เครื่องมือในการวิเคราะห์กระบวนการ : เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์กระบวนการ การระดมกำลังสมองในกลุ่ม Focus Group ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ เพื่อระบุคุณค่า และผลกระทบจากกระบวนการที่สำคัญ การใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นกลุ่มต่างๆ การวิเคราะห์โดยใช้ห่วงโซ่คุณค่า Value Chain Analysis หรือ SIPOC การวิเคราะห์วงจรชีวิตธุรกิจ Business Life cycle Analysis การวิเคราะห์ลำดับชั้นของกระบวนการส่งมอบคุณค่า Value Stream Mapping

14 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) คำแนะนำในการใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์กระบวนการ : การระบุกระบวนการสร้างคุณค่านี้มีความยากง่ายแตกต่างกันไปตามขนาด ความซับซ้อนของพันธกิจ และผลลัพธ์ของส่วนราชการ ควรใช้วิธีการที่เข้าใจง่ายและสามารถสร้างความมีส่วนร่วมของทุกกลุ่มได้ ไม่มีความจำเป็นที่ต้องใช้เครื่องมือที่สลับซับซ้อน บันทึกแนวทางในการใช้เครื่องมือและการวิเคราะห์ผลจากเครื่องมือต่างๆ เพื่อการถ่ายทอดและการทำซ้ำได้

15 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) เครื่องมือในการวิเคราะห์กระบวนการ : SIPOC Model /Value Chain SIPOC Model เป็นหลักการที่อธิบายสายโซ่ความสัมพันธ์ของกระบวนการดำเนินงานขององค์กร ที่ต้องอาศัยปัจจัยต้นน้ำส่งมอบคุณค่าไปยังปลายน้ำเป็นระบบ ตั้งแต่ Supplier (ผู้ส่งมอบ) นำส่ง Inputs (ปัจจัยนำเข้า) ที่จำเป็นต่อ Process (กระบวนการ) เพื่อแปรรูปหรือผลิต สินค้า/บริการ Outputs (ผลผลิต) ในการนำส่งหรือให้บริการแก่ Customer (ลูกค้า/ผู้รับบริการ) ให้ตรงกับความต้องการ Value Chain มีความสอดคล้องกับการวิเคราะห์และการจำแนกองค์ประกอบตาม SIPOC Model

16 SIPOC Model/ Value chain model Customers Outputs Process Inputs
ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร 1 Customers สินค้าหรือบริการคืออะไร Outcome 2 3 Outputs ความต้องการคืออะไร กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร 4 Process ปัจจัยนำเข้าของกระบวนการคืออะไร 5 Inputs ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร 6 Suppliers

17 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) เครื่องมือในการวิเคราะห์กระบวนการ : SIPOC Model Suppliers Inputs Process Outputs Customers Process description : Process Map :

18 หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) เครื่องมือในการวิเคราะห์กระบวนการ : Value Chain Analysis : Micheal E. Porter ค่านิยมของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ดีมีคุณภาพ ราคาสมเหตุสมผล บริการรวดเร็ว พฤติกรรมบริการที่ดี

19 การจัดการกระบวนการ : ภาคปฏิบัติ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ตัวอย่างการวิเคราะห์ SIPOC Model : กระทรวงพลังงาน

20 การจัดการกระบวนการ : ภาคปฏิบัติ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ตัวอย่างการวิเคราะห์กระบวนการระดับสอง : กระทรวงพลังงาน Value Stream Mapping

21 การจัดการกระบวนการ : ภาคปฏิบัติ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ตัวอย่างการวิเคราะห์กระบวนการระดับสอง : กระทรวงพลังงาน

22 การจัดการกระบวนการ : ภาคปฏิบัติ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ตัวอย่างการวิเคราะห์กระบวนการระดับสอง : กระทรวงพลังงาน

23 การจัดการกระบวนการ : ภาคปฏิบัติ
(Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ตัวอย่างการวิเคราะห์ SIPOC Model : กองทัพเรือนิวซีแลนด์ Strategic Stakeholder (Mission Delivery) Performance (a) Navy Mission Outputs Value Creation System (b) Operational Readiness (d) Logistic Support (e) Share Service Delivery (f) leadership (g) Career and Training System (c) Capability Development Input : Enabling and Support Systems (h) People (i) Resources

24 การวิเคราะห์กระบวนการของกองทัพเรือ/SIPOC Model
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฯ พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม ฯ พ.ร.ฏ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการกองทัพเรือ กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ ฯ นโยบายด้านความมั่นคงแห่งชาติ ฯ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล ฯ กฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อธิปไตยทางทะเลและทางบก ในความรับผิดชอบของกองทัพเรือ ความมั่นคงภายในประเทศ ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล การช่วยเหลือประชาชน การพัฒนาประเทศและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาสำคัญของชาติ การปกป้องและเทิดทูนสถาบันฯ สภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคง สถานการณ์ทางทะเลและผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล และสิ่งแวดล้อมทางทะเล แนวนโยบายของรัฐบาล สภาพเศรษฐกิจ กระแสการเมืองและประชาสังคม ระบบการเมืองระหว่างประเทศ SUPPLIER INPUT PROCESS OUTPUT CUSTOMER รัฐบาล การเตรียมความพร้อมด้านองค์บุคคล องค์วัตถุ และ องค์ยุทธวิธี (การเตรียมกำลัง) กำลังรบมีความพร้อม ประชาชน บุคคลจากภายนอก อธิปไตย ความมั่นคง ของชาติและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ได้รับการพิทักษ์รักษา สถาบันฯ ยุทโธปกรณ์และ สิ่งอุปกรณ์ รัฐบาล กระทรวงกลาโหม การปฏิบัติงานตามภารกิจ (การใช้กำลัง) STAKEHOLDER องค์ความรู้ กระทรวงกลาโหม กองทัพไทย เหล่าทัพ สมช. และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชนต่างๆ ชาติพันธมิตร ประเทศเพื่อนบ้าน และองค์กรระหว่างประเทศ การติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติงาน การเสริมสร้าง ความเชื่อมั่น และความ พึงพอใจ ประชาชนได้รับการช่วยเหลือ และสามารถสนับสนุนรัฐบาลได้ตามที่ได้รับมอบหมาย งบประมาณ การประชาสัมพันธ์ผลการปฏิบัติงาน สถาบันฯ ได้รับการเทิดทูนและปกป้อง คู่เปรียบเทียบ/คู่แข่ง การกำหนดยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการกองทัพ ประเด็นการเปรียบเทียบ : ด้านกำลังรบที่สมดุลทันสมัย ด้านการบริหารและคุณภาพการบริหารจัดการ หรือประเด็นอื่นๆ ตามที่กำหนด การบริหารทรัพยากรบุคคล ความเชื่อมั่น และความ พึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การส่งกำลังบำรุง การจัดการเทคโนโลยี และสารสนเทศ การข่าวกรอง และข้อมูลสำคัญ

25 การวิเคราะห์กระบวนการของกองทัพเรือ/Value Chain
การกำหนดยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการกองทัพ การบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบงานสนับสนุน การส่งกำลังบำรุง การจัดการเทคโนโลยี และสารสนเทศ การข่าวกรอง และข้อมูลสำคัญ พันธกิจ กองทัพเรือ การเตรียมความพร้อมขององค์บุคคล องค์วัตถุ และ องค์ยุทธวิธี การติดตาม ตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธ์ ผลการปฏิบัติงาน การเสริมสร้างความเชื่อมั่น และความพึงพอใจ การปฏิบัติงานตามภารกิจ ระบบงานหลัก

26 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ระบบงาน กระบวนการ กระบวนการย่อย
หลักการและแนวคิดการจัดการกระบวนการ (Process Management : Public sector Management Quality Award : PMQA) ระดับชั้นของกระบวนการ : วิสัยทัศน์ พันธกิจ การวิเคราะห์เพื่อกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า ต้องพิจารณากำหนดระดับชั้นของการวิเคราะห์เพื่อทอนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ลงมาจนถึงกระบวนการในระดับปฏิบัติการและความรับผิดชอบในการปรับปรุงงาน กลุ่มงาน ระดับ 1 Level 1 ระบบงาน ระดับ 2 ระดับ 3 Level 2 กระบวนการ Level 3 and Below กระบวนการย่อย

27 1. การเตรียมความพร้อมขององค์บุคคล องค์วัตถุ และองค์ยุทธวิธี
ระบบงานหลัก 1. การเตรียมความพร้อมขององค์บุคคล องค์วัตถุ และองค์ยุทธวิธี 1.1 กระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถกำลังรบ 1.1.1 กระบวนการจัดหายุทโธปกรณ์และปลดประจำการยุทโธปกรณ์ 1.1.2 กระบวนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทางการทหาร 1.1.3 กระบวนการฝึกกองทัพเรือ 1.1.4 กระบวนการฝึกร่วมกองทัพเรือ 1.1.5 กระบวนการฝึกระดับองค์บุคคล และองค์ยุทธวิธี 1.2 กระบวนการกำหนดแนวทางการใช้กำลังรบ 1.2.1 กระบวนการพัฒนาหลักนิยม 1.2.2 กระบวนการวางแผนทางทหาร 1.2.3 กระบวนการวางแผนระดมสรรพกำลัง 1.2.4 กระบวนการวางแผนการใช้และส่งมอบกำลังรบ 1.2.5 กระบวนการควบคุมบังคับบัญชาและการอำนวยการยุทธ์ 1.2.6 กระบวนการจัดวางกำลังและสับเปลี่ยน

28 ระบบงานหลัก 2. การปฏิบัติงานตามภารกิจ
2.1 กระบวนการถวายความปลอดภัยและการถวายพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์ 2.2 กระบวนการรักษาอธิปไตยทาง ทะเล ทางบก และลำน้ำ 2.3 กระบวนการคุ้มครองและรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล 2.4 กระบวนการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2.5 กระบวนการช่วยเหลือประชาชน และการบรรเทาสาธารณภัย 2.6 กระบวนการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างประเทศ ฝ่ายทหาร 2.7 กระบวนการสนับสนุนการพัฒนาประเทศและการแก้ไขปัญหาสำคัญ ของชาติ 3. การติดตาม ตรวจสอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.1 กระบวนการตรวจราชการและการตรวจสอบภายใน 3.2 กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติราชการและปรับปรุงการปฏิบัติงาน

29 ระบบงานหลัก 4. การประชาสัมพันธ์ผลการปฏิบัติงาน
4.1 กระบวนการประชาสัมพันธ์ 4.2 กระบวนการนาวิกสนเทศและประชาสนเทศ 5. การเสริมสร้างความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ 5.1 กระบวนการป้องกันและปราบปรามทุจริต 5.2 กระบวนการบริการข้อมูลข่าวสาร 5.3 กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 5.4 กระบวนการจัดการผลกระทบทางลบ 5.5 กระบวนการกำกับดูแลองค์กรที่ดี 5.6 กระบวนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ 5.7 กระบวนการเรียนรู้ความต้องการ ความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจ

30 1. การกำหนดยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการกองทัพ
ระบบงานสนับสนุน 1. การกำหนดยุทธศาสตร์และการบริหารจัดการกองทัพ 1.1 กระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์และนโยบาย 1.1.1 กระบวนการประเมินยุทธศาสตร์และกำลังรบ 1.1.2 กระบวนการกำหนดนโยบาย 1.2 กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ 1.3 กระบวนการวางแผน จัดสรร และบริหารงบประมาณ 1.3.1 กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 1.3.2 กระบวนการจัดทำแผนการจัดสรรงบประมาณ 1.3.3 กระบวนการบริหารงบประมาณ 1.3.4 กระบวนการการเงินและการบัญชี 1.4 กระบวนการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทัพ 1.5 กระบวนการสารบรรณ 1.6 กระบวนการติดตามและประเมินผลทางการบริหารจัดการ 1.6.1 กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ 1.6.2 กระบวนการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จในการดำเนินการฯ

31 2. การบริหารทรัพยากรบุคคล
ระบบงานสนับสนุน 2. การบริหารทรัพยากรบุคคล 2.1 กระบวนการบริหารกำลังพล 2.1.1 กระบวนการวางแผนทรัพยากรบุคคล 2.1.2 กระบวนการกำหนดความต้องการกำลังพล 2.1.3 กระบวนการกำหนดแนวทางการรับราชการ 2.1.4 กระบวนการจัดหากำลังพลและการกำลังพลสำรอง 2.1.5 กระบวนการจัดการกำลังพล 2.1.6 กระบวนการปกครอง 2.2 กระบวนการพัฒนากำลังพล 2.2.1 กระบวนการวางแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล 2.2.2 กระบวนการกำหนดแนวทางการศึกษาและการฝึกอบรม 2.2.3 กระบวนการจัดการความรู้

32 2. การบริหารทรัพยากรบุคคล
ระบบงานสนับสนุน 2. การบริหารทรัพยากรบุคคล 2.3 กระบวนการบำรุงขวัญ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตกำลังพล 2.3.1 กระบวนการสวัสดิการกำลังพล 2.3.2 กระบวนการเสมียนตราและจัดสรรสิ่งจูงใจ 2.3.3 กระบวนการจัดการเบี้ยหวัดและบำเหน็จบำนาญ 2.3.4 กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตกำลังพล 2.4 กระบวนการติดตามและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.4.1 กระบวนการประเมินขีดสมรรถนะกำลังพล 2.4.2 กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล 2.4.3 กระบวนการประเมินผลความผาสุกและความพึงพอใจของกำลังพล

33 ระบบงานสนับสนุน 3. การส่งกำลังบำรุง 3.1 กระบวนการส่งกำลัง
3.1.1 กระบวนการจัดหา เก็บรักษา และแจกจ่ายพัสดุ 3.1.2 กระบวนการจัดหา เก็บรักษา และแจกจ่ายสิ่งอุปกรณ์ 3.1.3 กระบวนการจัดหา เก็บรักษา และแจกจ่ายอาวุธยุทโธปกรณ์ 3.2 กระบวนการบริการ 3.2.1 กระบวนการบริการที่อยู่อาศัย 3.2.2 กระบวนการบริการทางการแพทย์และการส่งกลับ 3.3 กระบวนการขนส่งและการลำเลียง 3.4 กระบวนการซ่อมบำรุง 3.4.1 กระบวนการซ่อมบำรุงเรือและรถสะเทินน้ำสะเทินบก 3.4.2 กระบวนการซ่อมบำรุงเครื่องบิน 3.4.3 กระบวนการซ่อมบำรุงยานพาหนะทางบก 3.4.4 กระบวนการซ่อมบำรุงสรรพาวุธ

34 ระบบงานสนับสนุน 3. การส่งกำลังบำรุง
3.5 กระบวนการการฐานทัพและอสังหาริมทรัพย์ 3.5.1 กระบวนการพัฒนาฐานทัพ 3.5.2 กระบวนการก่อสร้าง ซ่อมแซมอาคาร พัฒนาสถานที่และสาธารณูปโภค 3.6 กระบวนการติดตามและประเมินผลทางการส่งกำลังบำรุง 3.6.1 กระบวนการประเมินผลการรักษาระดับการสะสม สป.รายการทั่วไป 3.6.2 กระบวนการประเมินผลการรักษาระดับการสะสม สป.รายการวิกฤติ 3.6.3 กระบวนการประเมินค่าการซ่อมบำรุง

35 4. การจัดการเทคโนโลยี และสารสนเทศ
ระบบงานสนับสนุน 4. การจัดการเทคโนโลยี และสารสนเทศ 4.1 กระบวนการพัฒนาระบบ ควบคุม บังคับบัญชา และสั่งการ 4.2 กระบวนการพัฒนาระบบการสื่อสารและสารสนเทศ 4.3 กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีบริหารจัดการทรัพยากร 4.4 กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการจัดการความรู้ 4.5 กระบวนการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ 4.6 กระบวนการรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสารและสารสนเทศ 4.7 กระบวนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการติดตามและประเมินผล

36 5. การข่าวกรองและข้อมูลสำคัญ
ระบบงานสนับสนุน 5. การข่าวกรองและข้อมูลสำคัญ 5.1 กระบวนการข่าวกรองยุทธศาสตร์ และยุทธการ 5.2 กระบวนการรักษาความปลอดภัย 5.3 กระบวนการต่อต้านการข่าวกรอง 5.4 กระบวนการบริการข่าวกรองทางทหาร 5.5 กระบวนการการแผนที่ สมุทรศาสตร์ และอุตุนิยมวิทยา 5.6 กระบวนการสนับสนุนข้อมูลทางกฎหมายสงครามและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง 5.7 กระบวนการติดตามและประเมินผลทางการข่าว

37 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐระดับพื้นฐาน
(หมวด 6) การจัดการกระบวนการ (Fundamental Level: FL)

38 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : หมวด 6 การจัดการกระบวนการ รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM1 ส่วนราชการต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ A แสดงวิธีการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า ซึ่งอย่างน้อยได้พิจารณาจาก ยุทธศาสตร์ พันธกิจ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PM2 ส่วนราชการต้องจัดทำข้อกำหนกดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือ ปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า มีการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ซึ่งอย่างน้อยได้พิจารณาจาก ความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน D การนำข้อกำหนดของกระบวนการไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า L มีการติดตามผลของตัวชี้วัดของกระบวนการ เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการ “คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด” การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554

39 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : หมวด 6 การจัดการกระบวนการ รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM3 ส่วนราชการต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญใน PM2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง A แสดงข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าและชี้ให้เห็นว่านำมาออกแบบกระบวนการเพื่อให้บรรลุข้อกำหนดที่สำคัญอย่างไร การออกแบบกระบวนการที่สร้างคุณค่าได้นำปัจจัยที่สำคัญมาใช้ประกอบ อย่างน้อย 2 ปัจจัย ต่อไปนี้ -องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เปลี่ยนแปลง -ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน -การควบคุมค่าใช้จ่าย -ปัจจัยเรื่องประสิทธิภาพและประสิทธิผล D มีการสื่อสารสร้างความเข้าใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการและการนำไปปฏิบัติ L มีการตรวจสอบกระบวนการที่สร้างคุณค่า เพื่อวิเคราะห์หาจุดที่ควรปรับปรุง โดยการศึกษา วิเคราะห์กระบวนการ หรือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ร่วมกันของผู้ปฏิบัติงาน “คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด” การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554

40 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : หมวด 6 การจัดการกระบวนการ รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM4 ส่วนราชการต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น และมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการ เพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง A แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกันผลกระทบกับการจัดการกระบวนการในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน D สื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินงานตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง “คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด” การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554

41 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : หมวด 6 การจัดการกระบวนการ รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน PM5 ส่วนราชการต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ A แสดงรายชื่อกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุนที่ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหาร คัดเลือกกระรบวนการที่สร้างคุณค่าไม่น้อยกว่า 50% และกระบวนการสนับสนุนไม่น้อยกว่า 50% มาจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงานอย่างน้อยควรประกอบด้วย Work Flow และมาตรฐานคุณภาพงาน D แสดงวิธีการที่ส่วนราชการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานไปสู่การปฏิบัติ โดยการเผยแพร่มาตรฐาน การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน การมีระบบติดตามมาตรฐานงาน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด L มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานเพื่อการปรับปรุงกระบวนการ “คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด” การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554

42 ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : หมวด 6 การจัดการกระบวนการ รหัส แนวทางการดำเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดำเนินการที่ครบถ้วน I มีการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน หรือ มีระบบต่างๆ ที่สนับสนุนการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามข้อกำหนดของกระบวนการ PM6 ส่วนราชการต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดการทำงานซ้ำ และความสูญเสียจากผลการดำเนินงาน A แนวทาง/วิธีการที่แสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงกระบวนการ แนวทาง/วิธีการในการป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และลดการสูญเสีย เช่น การบริหารความเสี่ยงของกระบวนการ D วิธีการสื่อสารมาตรฐานการปฏิบัติงานให้บุคลากรเกี่ยวข้องทราบ เช่น การประชุม บันทึกเวียน Website “คู่มือคำอธิบายตัวชี้วัด” การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2554


ดาวน์โหลด ppt หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google