งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)

2 เขตตรวจราชการ 1, 2 และ 4 เขตตรวจราชการ 2
(ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง) นครสวรรค์ อุทัยธานี “ครัวสุขภาพ เพื่อมหานคร (ผักปลอดภัยและกล้วยน้ำว้า (Healthy Kitchen for The Metropolis)” ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มรดกโลก และเมืองนวัตกรรมด้านอาหารตอนกลาง นครนายก แปรรูปการเกษตร (ข้าว ข้าวโพด อ้อย มันสำปะหลัง ไก่เนื้อ ปลาน้ำจืด) แปรรูปข้าว เขตตรวจราชการ 4 (นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี ) “เมืองแห่งนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis)” เขตตรวจราชการ 1 (สระบุรี นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา) เพชรบุรี ศูนย์กลางการค้า การท่องเที่ยวที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมภาคตะวันตก “ศูนย์กลางของชาติในการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงมรดกประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชุมชนอย่างยั่งยืน” แปรรูปการเกษตร (ไก่ สุกร ข้าว อ้อย ผลไม้) แปรรูปข้าว พืชไร่ ผัก ผลไม้ ฐานผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ อิเล็กทรอนิกส์ แปรรูปข้าว (ข้าวสาร ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง แป้ง)

3 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ.2579 2562 2558 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ โครงการติดตั้งระบบการแปรรูป ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ (เขตตรวจราชการที่ 1) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (เขตตรวจราชการที่ 2) โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร เชิงสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรมสู่ความยั่งยืน (เขตตรวจราชการที่ 4) แผนพัฒนากลุ่มภาคกลางตอนบน 1 แผนพัฒนากลุ่มภาคกลางตอนบน 2 แผนพัฒนากลุ่มภาคกลางตอนล่าง 1 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12

4 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 พ. ศ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 พ.ศ (นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี) วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เมืองแห่งคุณภาพชีวิต แหล่งของนวัตกรรม ศูนย์กลางการลงทุน ด้านอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและการผลิตอาหารปลอดภัย 1.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและความร่วมมือกับสถานประกอบการ สถานศึกษา และชุมชนเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม เชิงสร้างสรรค์ 2.ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว ให้ได้มาตรฐานสากล และประทับใจนักท่องเที่ยว สนับสนุนการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม 3.การเพิ่มศักยภาพการจัดการสภาวะสิ่งแวดล้อม โดยการฟื้นฟูคุณภาพระบบนิเวศของแม่น้ำเจ้าพระยา/ป่าสักและลำน้ำสาขาและสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะด้วยการใช้นวัตกรรม 4.เสริมสร้างเมืองให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยการจัดระเบียบการขยายตัวของชุมชนเมืองอย่างมีแบบแผนเหมาะสมและสอดคล้องกับการวางระบบโครงข่ายบริการพื้นฐาน รองรับการขยายตัวของเมือง

5 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 พ. ศ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 พ.ศ (ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง) วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ฐานการผลิตอาหารปลอดภัย ท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ ทรัพยากรน้ำสมดุลและยั่งยืน 1.พัฒนาการตลาดระบบ Logistics และการผลิตอาหารปลอดภัย 2.สร้างมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยวจากฐานความรู้ทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.บริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ

6 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 พ. ศ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 พ.ศ (นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี) วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ศูนย์กลางสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการเพื่อสุขภาพครบวงจร การท่องเที่ยวหลากหลายเชื่อมโยงอารยธรรมทวารวดี การค้าและการลงทุนระดับสากลที่มีความสามารถ ในการแข่งขันและการค้าผ่านแดน สู่เอเชีย 1.พัฒนาสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน ยกระดับสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพครบวงจร 2.ส่งเสริมอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดอารยธรรม ทวารวดีไปยังแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน และยกระดับ การท่องเที่ยวให้มีชื่อเสียง 3.พัฒนาและส่งเสริมการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนให้มีศักยภาพ ผลักดันเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการค้า การลงทุน เชื่อมโยงการค้าสู่เอเชีย 4.ยกระดับการผลิต ภาคเกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม สินค้าชุมชน และภาคแรงงาน ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตโดยเน้นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ประเทศไทย 4.0

7 ติดตั้งระบบการแปรรูปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้
เขตตรวจราชการที่ 1 โครงการ ติดตั้งระบบการแปรรูปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้

8 หลักการและเหตุผล

9 ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ

10 ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ

11 การขจัดขยะมูลฝอยเชิงกล (MBT)
วิธีการกำจัดขยะ Engineer Landfill 1 ฝังกลบ Sanitary Landfill Control Dump 2-4 5 การขจัดขยะมูลฝอยเชิงกล (MBT) เทกอง 6 Open Dump เผากลางแจ้ง

12 ขั้นตอนการทำงาน

13 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อติดตั้งระบบการแปรรูปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้
มาแปรรูปเป็นปุ๋ยหมักและก๊าซชีวภาพ 2. เพื่อดูแลรักษาและอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามนโยบายรัฐบาล 3. เพื่อสุขภาวะที่ดีและการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่ท้องถิ่นและการท่องเที่ยว

14 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1.การเสริมสร้างศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและเข้มแข็ง 2.การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนให้เอื้ออำนวยต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อให้บริการอย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม 1.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและความร่วมมือกับสถานประกอบการ สถานศึกษา และชุมชนเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมเชิงสร้างสรรค์ 2.ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวพร้อมทั้งปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว ให้ได้มาตรฐานสากล และประทับใจนักท่องเที่ยว สนับสนุนการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม 3.การเพิ่มศักยภาพการจัดการมลภาวะสิ่งแวดล้อม โดยการฟื้นฟูคุณภาพระบบนิเวศของแม่น้ำเจ้าพระยา/ป่าสัก และลำน้ำสาขา และสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะด้วยการใช้นวัตกรรม 4.เสริมสร้างเมืองให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยการ จัดระเบียบการขยายตัวของชุมชนเมืองอย่างมีแบบแผนเหมาะสมและสอดคล้องกับการวางระบบโครงข่ายบริการ พื้นฐานรองรับการขยายตัวของเมือง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1

15 ย่อยสลายขยะจังหวัดละไม่น้อยกว่า 1 ตัน/วัน/แห่ง
KPI ย่อยสลายขยะจังหวัดละไม่น้อยกว่า 1 ตัน/วัน/แห่ง

16 งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 40 ล้านบาท
ขั้นตอนการดำเนินงาน - TOR - ทำสัญญาจ้าง - ติดตั้งระบบแปรรูปฯ - อบรมเชิงปฏิบัติการ ก.ย ต.ค. พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย. พ.ค มิ.ย ก.ค. ส.ค ก.ย. 2561 2562 งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 40 ล้านบาท

17 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ
ขยะอินทรีย์

18 เขตตรวจราชการที่ 2 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

19 หลักการและเหตุผล ตัดต้นไม้ผลิตกระดาษ 66.3 MT/yr หรือ 126.0 ต้น/นาที
หรือ 60.0 kgs/yr/คน กระดาษเก่า 1 ตัน ต้นไม้ 15 ต้น

20 วัตถุประสงค์ 1. 2. World market

21 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1.การเสริมสร้างศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและเข้มแข็ง 2.การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนให้เอื้ออำนวยต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อให้บริการอย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม 1.พัฒนาการตลาด ระบบ Logistics และการผลิตอาหารปลอดภัย 2.สร้างมูลค่าเพิ่มทาง การท่องเที่ยวจากฐานความรู้ทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.บริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2

22 1 2 ที่ปรึกษา+KM (เชิงลึก) KM+Green SMEs 100 ราย/4 จังหวัด
KPI 1 2 ที่ปรึกษา+KM (เชิงลึก) KM+Green SMEs 100 ราย/4 จังหวัด SMEs 20 ราย/4 จังหวัด

23 งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 5.25 ล้านบาท
ขั้นตอนการดำเนินงาน - จัดจ้างที่ปรึกษา - ให้คำปรึกษาเชิงลึก - พัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ใหม่ - ออกแบบและจัดทำระบบสำรวจ/จัดเก็บ วัสดุเหลือใช้ - อบรม - บริหาร โครงการ - ประชาสัมพันธ์ - เชิญชวน - บริหารโครงการ ก.ย ต.ค. พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย. พ.ค มิ.ย ก.ค. ส.ค ก.ย. 2561 2562 - บริหารโครงการ งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 5.25 ล้านบาท

24 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ
20 ราย/4 จังหวัด 20 ผลิตภัณฑ์/4 จังหวัด โครงการ

25 โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร เชิงสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรม
เขตตรวจราชการที่ 4 โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร เชิงสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรม

26 หลักการและเหตุผล ประเทศไทย 4.0 ประชารัฐ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Efficiency Economy) ประชารัฐ วิสาหกิจชุมชน RM : เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-Based Economy) เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food InnoPolis) E-Commerce E-Marketing ตลาดสากล

27 มาตรฐานต่าง ๆ - ISO 9001 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งการออกแบบ และพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ - ISO เป็นมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง - ISO เป็นมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร - GMP (Good Manufacturing Practice ) คือการปฏิบัติที่ดีในการผลิตอาหาร เป็นระบบประกันคุณภาพที่มีการปฏิบัติในการผลิตอาหาร เพื่อให้ เกิดความปลอดภัย  - HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) คือ การวิเคราะห์อันตราย และจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมเป็นระบบการวิเคราะห์อันตราย และจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร

28 ฝึกอบรมเกี่ยวกับมาตรฐานสากล
สภาพปัญหา/ความต้องการ SMEs/ วิสาหกิจชุมชน R&D/ Innovation เจรจาธุรกิจการค้า (Business Matching) SMEs/ วิสาหกิจชุมชน KM : ISO, GMP, HACCP ฝึกอบรมเกี่ยวกับมาตรฐานสากล

29 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อส่งเสริมการใช้นวัตกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ในเชิงสร้างสรรค์ 2. เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs และวิสาหกิจชุมชนให้ได้รับมาตรฐานต่าง ๆ ที่เป็นที่ยอมรับในสากลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและโอกาสทาง การค้า เช่น ISO, GMP, HACCP เป็นต้น

30 ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1.การเสริมสร้างศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและเข้มแข็ง 2.การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนให้เอื้ออำนวยต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อให้บริการอย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม 1.พัฒนาสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ให้ได้คุณภาพมาตรฐาน ยกระดับสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพครบวงจร 2.ส่งเสริมอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดอารยธรรม ทวารวดีไปยังแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน และยกระดับ การท่องเที่ยวให้มีชื่อเสียง 3.พัฒนาและส่งเสริมการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนให้มีศักยภาพ ผลักดันเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการค้า การลงทุน เชื่อมโยงการค้าสู่เอเชีย 4.ยกระดับการผลิต ภาคเกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม สินค้าชุมชนและภาคแรงงาน ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตโดยเน้นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ประเทศไทย 4.0 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1

31 1 2 KPI ผลิตภัณฑ์+นวัตกรรม SMEs+มาตรฐานสากล 100 ผลิตภัณฑ์/4 จังหวัด
10 ราย/4 จังหวัด

32 งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 10.55 ล้านบาท
ขั้นตอนการดำเนินงาน - TOR,... - ลงนามสัญญาฯ - เปิดตัวโครงการ+PR - รับสมัคร+คัดเลือก - ให้คำปรึกษาเชิงลึก - ปิดตัวโครงการ - ประเมิน - สรุปโครงการ - อบรม - ดูงาน - ให้คำปรึกษาเชิงลึก - ให้คำปรึกษาเชิงลึก ก.ย ต.ค. พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย. พ.ค มิ.ย ก.ค. ส.ค ก.ย. 2561 2562 งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น ล้านบาท

33 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ
ความรู้นวัตกรรม ศึกษา ดูงาน สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ SMEs/ วิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค คำปรึกษาเชิงลึก มาตรฐานสากล พัฒนาผลิตภัณฑ์ โครงการ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google