งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วาระประชุมเดือนกันยายน 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วาระประชุมเดือนกันยายน 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
งานควบคุมโรค

2 ตารางสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทย
อายุ ชนิดวัคซีน แรกเกิด BCG, HB1 2 เดือน OPV1, DTP-HB1 4 เดือน IPV1, OPV2, DTP-HB2 6 เดือน OPV3, DTP-HB3 9 เดือน MMR1 1 ปี JE1-2 (เชื้อตาย) หรือ LAJE1 (เชื้อเป็น) 18 เดือน OPV4, DTP4 2 ปี 6 เดือน MMR2 , JE3 (เชื้อตาย) หรือ LAJE2 (เชื้อเป็น) 4 ปี OPV5, DTP5 7 ปี (นร.ป.1) BCG, dT, OPV, MR เฉพาะรายที่รับไม่ครบ 12 ปี (นร.ป.6) dT หญิงตั้งครรภ์ dT (ตามประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต) เจ้าหน้าที่, กลุ่มเสี่ยง Influenza (ประจำฤดูกาล, ประจำปี)

3 กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนโปลิโอ
ให้ IPV 1 ครั้ง แก่เด็กอายุ 4 เดือน ทุกคน ครั้งที่ อายุ ชนิดของวัคซีนโปลิโอ 1 2 เดือน OPV1 และ DTP-HB1 2 4 เดือน IPV , OPV2 และ DTP-HB2 3 6 เดือน OPV3 และ DTP-HB3 4 1 ปี 6 เดือน OPV4 และ DTP4 5 4 ปี OPV5 และ DTP5 + กลุ่มเป้าหมายในการให้วัคซีน IPV เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ทุกคน ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบตามกำหนดการให้วัคซีน กรณีที่เด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลังอายุ 4 เดือน เป็นต้นไป ขอให้ฉีดวัคซีน IPV พร้อมกับหยอดวัคซีน OPV ในครั้งแรกที่พบ และหยอดวัคซีน OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม ถ้าเด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลัง 4 เดือน ให้ฉีด IPV ในครั้งแรก และ ให้วัคซีนอื่นๆ ต่อตามกำหนดการเดิม กรณีเด็กอายุเกิน 4 เดือน ได้รับ OPV มาแล้วอย่างน้อย 2 ครั้ง ไม่ต้องฉีด IPV

4 ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การให้บริการ IPV OPV ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. หยอดวัคซีน ครั้งละ 2 – 3 หยด + การให้บริการ 1 ให้วัคซีน IPV โดยการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. 2. ให้วัคซีน OPV ให้หยอดวัคซีน 2 – 3 หยดขึ้นกับ เอกสารกำกับยา ทั้งนี้ กำหนดให้ทุกสถานบริการทั่วประเทศให้บริการวัคซีน Trivalent OPV ครั้งสุดท้ายภายในวันที่ 22 เมษายน 2559 และเริ่มให้วัคซีน Bivalent OPV ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2559 เป็นต้นไป

5 การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย
คาดประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการแต่ละครั้งจาก 1. รายชื่อเด็กที่นัด ทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา 3. เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณ ปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน ให้เจ้าหน้าที่ประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการในแต่ละครั้งจาก รายชื่อเด็กที่นัดทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด แล้วประมาณการวัคซีนตามที่กล่าวในหัวข้อ “แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น”

6 หลังการให้บริการ สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที
เก็บขวดวัคซีนที่เปิดใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน 3. สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที 4. ทิ้งวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว - ไม่ควรดึงเข็มจากไซริงค์ ควรนำไซริงค์ที่มีเข็มติดอยู่ทิ้งลงในภาชนะพลาสติกหนาที่เข็มไม่สามารถแทงทะลุได้ รวมทั้งอุปกรณ์อื่น ที่ใช้ในการให้วัคซีน ให้เก็บรวบรวมไว้แล้วทำลายแบบขยะติดเชื้อ เนื่องจากกระบวนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนโปลิโอในครั้งนี้ จะต้องทำลายวัคซีน tOPV ให้หมดไปภายในวันที่ 28 เม.ย. 2559 วันที่ 1 ถึง 22 เม.ย. เมื่อให้บริการฉีดวัคซีนแล้ว ขอให้รวบรวม tOPV ส่งคลังวัคซีน ภายในวันที่ 25 เม.ย. 59 เพื่อนำส่งต่อไป สสจ เพื่อทำลายให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 เม.ย. 59

7 การบันทึกข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลการให้วัคซีนรายบุคคล
รวมทั้งเลขที่วัคซีน (lot.no.) และ ลำดับขวดวัคซีน เพื่อตรวจสอบกรณีเกิด AEFI 2. บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. บันทึกการให้บริการวัคซีน IPV และ OPV เป็นรายบุคคลผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

8 บันทึกการได้รับวัคซีน บันทึกการได้รับวัคซีน IPV ในสมุดสีชมพู
การบันทึกข้อมูล 16 สค 58 16 สค 58 บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึก สุขภาพแม่และเด็ก 22 ตค 58 24 ธค 58 IPV 4 เดือน 24 ธค 58 บันทึกการได้รับวัคซีน IPV ในสมุดสีชมพู

9 รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ
การบันทึกข้อมูล รหัสวัคซีน IPV-P ครั้งที่ ใช้เลขรหัสวัคซีน 401 OPV ครั้งที่ ใช้เลขรหัสวัคซีน 081 OPV ครั้งที่ ใช้เลขรหัสวัคซีน 082 OPV ครั้งที่ ใช้เลขรหัสวัคซีน 083 OPV ครั้งที่ ใช้เลขรหัสวัคซีน 084 OPV ครั้งที่ ใช้เลขรหัสวัคซีน 085 ICD-10-TM ใช้รหัส Z24.0 รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) รหัสวัคซีน ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ(เดือน) ชื่อโรคที่ป้องกัน รหัส ICD_10 _TM 401 IPV-P ไอพีวี-พี ฉีด 4 เดือน โปลิโอ Z24.0

10 การจัดทำรายงาน 1. กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับ OPV3
เด็กกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับวัคซีนโปลิโอ ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ/จังหวัด) 1. กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับ OPV3 การจัดทำรายงาน ขอให้สถานบริการจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอเป็นรายไตรมาสเพื่อประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ ซึ่งกำหนดให้เด็กกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับวัคซีนโปลิโอ ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ/จังหวัด) กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง กลุ่มอายุครบ 2 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 4 กลุ่มอายุครบ 5 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 5 2. กลุ่มอายุครบ 2 ปี ประเมินการได้รับ OPV4 3. กลุ่มอายุครบ 5 ปี ประเมินการได้รับ OPV5

11 แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA 14-14-2
โรคไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA (LAJE)

12 กลุ่มเป้าหมาย เข็มที่ 1 เด็กอายุ 1 ปี เข็มที่ 2 เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน
ให้ LAJE แก่เด็กอายุครบ 1 ปี(เกิดตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2558) เข็มที่ 1 เด็กอายุ 1 ปี เข็มที่ 2 เด็กอายุ 2 ปี 6 เดือน (พร้อมวัคซีน MMR เข็มที่ 2)

13 การให้ LAJE แก่เด็กอายุเกิน 1 ปี
เกิดก่อนวันที่ 1 พ.ค. 2558 ประวัติการได้รับวัคซีนเจอีชนิดเชื้อตาย กำหนดการให้วัคซีนเจอี SA ครั้งต่อไป ไม่เคยหรือเคยได้รับ 1 เข็ม ฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 3-12 เดือน (ขึ้นอยู่กับบริษัทที่ผลิตวัคซีน) เคยได้รับ 2 เข็ม ฉีด 1 เข็ม ห่างจากเข็มที่ 2 เป็นเวลา 12 เดือน เคยได้รับ 3 เข็ม ไม่ต้องให้

14 การให้ LAJE แก่เด็กอายุเกิน 1 ปี
จำง่ายๆ ตาย 1 ได้เป็น 2 ตาย 2 ได้เป็น 1

15 การให้วัคซีน LAJE ขนาดที่ใช้ ครั้งละ 0.5 มล. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง

16 การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย
วัคซีน LAJE ที่ใช้ เป็นชนิด single dose คิดอัตราสูญเสียร้อยละ 1 = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.01 จำนวนวัคซีน LAJE ที่ใช้ (dose) วัคซีน LAJE ที่ใช้ เป็นชนิด 4 dose คิดอัตราสูญเสียร้อยละ 20 = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายในแต่ละเดือน x 1.25 จำนวนวัคซีน LAJE ที่ใช้ (dose)

17 รหัสวัคซีน ครั้งที่ฉีด รหัสวัคซีน LAJE ครั้งที่ 1 J11 LAJE ครั้งที่ 2

18 การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน
เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กที่อายุครบ 2 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ ได้เจอีเชื้อตาย 1 ครั้งและตามด้วย (LAJE) 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ ได้รับเจอีเชื้อเป็น (LAJE) 1 ครั้ง ได้รับ (LAJE) 1 ครั้ง ต่อด้วยเจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับทั้งชนิดเชื้อตายและเชื้อเป็น (LAJE)

19 การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน
เด็ก 2 ปี ได้ตาย 2 หรือ เป็น 1 ตาย 1 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

20 การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน
เกณฑ์การพิจารณาความครบถ้วนของการได้รับวัคซีนเจอีในเด็กที่อายุครบ 3 ปี ประวัติการได้รับวัคซีนเจอี ความครบถ้วน เจอีเชื้อตาย 3 ครั้ง ผ่านเกณฑ์ เจอีเชื้อตาย 2 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 1 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 2 ครั้ง เจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ต่อด้วย LAJE 1 ครั้ง ไม่ผ่านเกณฑ์ LAJE 2 ครั้ง เจอีเชื้อเป็น LAJE 1 ครั้ง ต่อด้วยเจอีเชื้อตาย 1 ครั้ง ไม่เคยได้รับวัคซีนทั้งชนิดเชื้อตายและเชื้อเป็น (LAJE)

21 การจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีน
เด็ก 3 ปี ได้ตาย 3 หรือ เป็น 2 ตาย 1 + เป็น 2 ตาย 2 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

22 สรุป เริ่มให้ LAJE เด็ก1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2559
ขนาดที่ใช้ ครั้งละ 0.5 มล. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ให้ LAJE เข็ม 1 ในเด็ก 1 ปี, เข็ม 2 ในเด็ก 2 ปี 6 เดือน เด็กอายุเกิน 1 ปี >>ตาย 1 ได้เป็นอีก 2 >> ตาย 2 ได้เป็นอีก 1

23 สรุป เบิก LAJE ตามปกติ เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส
LAJE ขนาด 1 โด๊ส อัตราสูญเสีย 1% (X 1.01) LAJE ขนาด 4 โด๊ส อัตราสูญเสีย 20% (X 1.25) เก็บที่อุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส

24 สรุป ความครอบคลุม >>>> OK >>>> OK
เด็ก 2 ปี ได้ตาย 2 หรือเป็น ตาย 1 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 ความครอบคลุม >>>> OK เด็ก 3 ปี ได้ตาย 3 หรือเป็น 2 ตาย 1 + เป็น 2 ตาย 2 + เป็น 1 เป็น 1 + ตาย 1 >>>> OK

25 ขณะนี้สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ได้กำหนดรหัสวัคซีนที่อยู่นอกแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งรวมถึงวัคซีน LAJE โดยมีรหัสวัคซีน J11 และ J12 ดังนั้น ในการ key in ข้อมูลการให้บริการวัคซีนไข้สมองอักเสบเจอีผ่านฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ หากเป็นการฉีดวัคซีน LAJE ครั้งที่ 1 ขอให้เจ้าหน้าที่ click ไปที่ “JE 1 : Lived attenuated” หากเป็นการฉีดวัคซีน LAJE ครั้งที่ 2 ขอให้เจ้าหน้าที่ click ไปที่ “JE 2 : Lived attenuated ” ในแต่ละวันเมื่อ key in ข้อมูลการให้บริการวัคซีนทุกชนิดในเด็กก่อนวัยเรียนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วิธีลงรหัสให้สอบถามต่ายก็ได้ค่ะ


ดาวน์โหลด ppt วาระประชุมเดือนกันยายน 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google