งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี

2 ผลสุ่มสำรวจสภาวะโรคฟันผุ จ.ปทุมธานี ปี 2555-2557
ผลสุ่มสำรวจสภาวะโรคฟันผุ จ.ปทุมธานี ปี ร้อยละ ร้อยละ 50

3 ร้อยละโรคฟันผุของเด็ก 3 ปี ปี 2555-2557
53.6

4 สภาวะทันตสุขภาพ จ.ปทุมธานี ปี 2557 : เด็ก 18 เดือน
จังหวัด ปทุม ธานี สามโคก คลองหลวง ธัญบุรี ปชป. ลาด หลุมแก้ว ลำลูกกา หนองเสือ 1. ร้อยละเด็ก 18 เดือน มีฟันผุ 8.5 (113/1333) 9.8 (26/266) 7.2 (5/69) 8.4 (33/391) 7.8 (6/77) 15.9 (29/183) 7.4 (7/94) 1.6 (3/184) 10.1 (7/69) 2. จำนวนซี่ฟันเฉลี่ยที่เด็ก 18 เดือนผุ (ซี่/คน) 0.28 (358/1297) 0.3 (86/266คน) 0.4 (28/33) 0.2 (93/391) (24/77) (52/183) 0.6 (54/94) 0.04 (8/184) (13/69) 3. เด็กที่มี plaque 4 ซี่หน้า 12.6 30.9 12 5.1 22.1 6.6 12.8 2.3 29.0 4. เด็กที่มี white spot lesion 4 ซี่หน้า 9.5 23.5 10 4.3 9.1 9.9 20.3 การรับบริการทันตกรรม เด็กที่เคยได้รับตรวจช่องปาก 9-12 เดือน : 92.9% % เด็กที่เคยได้รับคำแนะนำ : 95.2% % เด็กที่เคยได้รับ Fluoride varnish: 71.5% % เด็กที่เคยได้รับบริการรักษา : 9.9% % พฤติกรรมการแปรงฟัน เด็กได้รับการแปรงฟันก่อนนอนทุกวันจากผปค. : 64.6% % จำนวนครั้งที่เด็กแปรงฟัน/วัน : 1.5 ครั้ง/วัน ผู้ปกครองเคยได้รับการฝึก แปรงฟัน : 93.5% % พฤติกรรมบริโภค ปี 57 นมหวาน : 24.4% % เครื่องดื่มรสหวาน : 38.9% % ใช้ขวดนม : 79.9% % จำนวนครั้ง/วันที่กินขนม : 1.5 ครั้ง/วัน เด็กที่กินขนม >0 ครั้ง/วัน :81.1% 69.3%

5 สภาวะทันตสุขภาพ จ.ปทุมธานี ปี 2557 : เด็ก 3 ปี
จังหวัด ปทุม ธานี สามโคก คลองหลวง ธัญบุรี ปชป. ลาด หลุมแก้ว ลำลูกกา หนองเสือ 1. ร้อยละเด็ก 3 ปี มีฟันผุ 54.1 57.2 48.9 51.2 45.2 68.6 58.8 46.9 55.8 2. ค่าเฉลี่ย dmft (ซี่/คน) 3.0 3.2 1.9 2.5 4.2 3.5 2.7 1.5 3. ร้อยละเด็กที่มีฟันสะอาด 64.1 71.7 62.3 70.7 76.4 59.7 65.3 89.9 62.4 พฤติกรรมบริโภค นำนมหวาน/นมเปรี้ยวมาศพด. : 6.1% ปี 57 : 9.0% นำขวดนมมาศพด. : 4% ปี 57 : 5.6% นำขนมมาศพด. : 11.6% ปี 57 : 11.2% พฤติกรรมการแปรงฟัน เด็กแปรงฟันตอนเช้า : 80.6% % สิ่งแวดล้อม ศพด.ที่จัดผลไม้ 3-5 วัน/สัปดาห์ : 91.1% 92.9% ศพด.จัดนมจืดให้เด็ก : 83.38% % ศพด.จัดอาหารว่างเป็นขนมกรุบกรอบ % ศพด.ที่แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน : 96.88% % ศพด.มีกิจกรรมตรวจฟัน : 96.88% %

6 “จากแม่ฟันดี... สู่ลูกฟันสวย จังหวัดปทุมธานี”

7 กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
ANC ตรวจสุขภาพช่องปากให้สุขศึกษาโดยจนท.สาธารณสุข (P2, P1, F3, F2, M2, S) ฝึกแปรงฟัน ย้อมสีฟันรายบุคคล/กลุ่ม (P2, P1, F3, F2, M2, S) ขูดหินปูนและนัดรับการรักษาตามความจำเป็น (P2 ที่มีทันตบุคลากร, P1, F3, F2, M2, S) เยี่ยมหลังคลอดใน Ward โดยรพ. (F3, F2, M2, S)

8 กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
WBC ขยายบริการโดย CUP จัดอบรมเชิงปฏิบัติการตรวจสุขภาพช่องปาก, ให้ทันตสุขศึกษา, ทาฟลูออไรด์วานิชให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก (P2, P1, F3, F2, M2, S) ให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครองรายบุคคลแบบเข้มข้นในเด็ก 9 เดือนและ18 เดือน (P2, P1, F3, F2, M2, S) ฝึกแปรงฟันแก่ผู้ปกครองแบบ Hands On และตรวจความสะอาดของฟัน (P2 ที่มีทันตบุคลากร, P1, F3, F2, M2, S) เปิด วีดีทัศน์สอนแปรงฟันใน รพ.สต. ที่ไม่มีทันตบุคลากร

9 กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
WBC นัดทาฟลูออไรด์วานิชทุก 6 เดือนในกลุ่มเสี่ยงต่ำ ทุก 3 เดือนในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง (P2, P1, F3, F2, M2, S) ในเด็กที่มีฟันผุนัดมาทำการรักษาหรือส่งต่อ เพื่อจำกัดความรุนแรงของโรค และลดการสูญเสียฟันในอนาคต

10 กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
ชุมชน ประชุมติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยโดย อสม.ในพื้นที่นำร่อง ปรับปรุงเครื่องมือ วิธีการทำงานในพื้นที่ที่มีปัญหา ขยายกิจกรรมในพื้นที่ที่สามารถดำเนินการได้ดี

11 กิจกรรมขับเคลื่อนระดับจังหวัด (CORE PACKAGE)
ทรัพยากร จัดทำชุดสื่อให้ความรู้ในกลุ่มเด็กปฐมวัยโดยทีมระดับจังหวัด ภาพพลิกคุณแม่ฟันดี สู่ลูกฟันสวย แผ่นพับหญิงตั้งครรภ์, เด็ก 9 เดือนและ 18 เดือน แผ่นซีดีความรู้เรื่อง วิธีแปรงฟันในเด็กปฐมวัย สติกเกอร์สีแดงในกลุ่มความเสี่ยงสูง สีเหลืองในความเสี่ยงต่ำ และรูปดาว สำหรับเด็กที่มารับฟลูออไรด์ครบและฟันสะอาด แต่ละ CUP อบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการให้ทันตสุขศึกษา ฝึกแปรงฟันแบบ hands on และทาฟลูออไรด์วานิช จังหวัดสนับสนุนฟลูออไรด์วานิชให้หน่วยบริการทุกระดับ

12 การประเมินผล ร้อยละความครอบคลุมงานส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในคลินิก
ANC, WBC จังหวัดจัดประกวดระบบเครือข่ายสุขภาพช่องปากระดับอำเภอดีเด่น, รพ.สต.ดาวเด่น, รพ.สต.ดาวรุ่ง เกิดแนวทางการดำเนินงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันและประเมินผลเชิงคุณภาพในหน่วยบริการที่มีทันตบุคลากร - กรณีร้อยละโรคฟันผุผ่านเกณฑ์ : ประเมินผลเชิงคุณภาพการแปรงฟันแบบ Hands on, การรับฟลูออไรด์วานิช ทุก 6 เดือน - กรณีร้อยละโรคฟันผุไม่ผ่านเกณฑ์ : ประเมินความครอบคลุมของกิจกรรมในแต่ละหน่วยบริการ, การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกับโรคฟันผุ 3. ในปี 2560 โรคฟันผุในเด็ก 3 ปี ร้อยละ 50

13 การพัฒนาระบบข้อมูลทางทันตสุขภาพ

14 ปัญหาของระบบข้อมูลทางทันตสุขภาพของจังหวัด
ข้อมูลจากการดึงรายงานไม่ตรงกับข้อมูลจริง ข้อมูลดึงเป็นรายงานไม่ได้ เช่น ข้อมูล ป.1 ดึงออกมาเป็นช่วงอายุซึ่งไม่ตรงกับการทำงานที่ทำเป็นชั้นเรียน HosXP ไม่สามารถออกรายงานได้ หรือออกได้ไม่ตรงกับความจริง รหัสที่ใช้ในการดึงรายงานของ สนย. กับของจังหวัดไม่ตรงกัน

15 ปัญหาของระบบข้อมูลทางทันตสุขภาพของจังหวัด
บางงานไม่มีรหัสหัตถการให้ลง เช่น การเยี่ยมหลังคลอด ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่า การลงงานแต่ละครั้งผิดที่จุดไหน ขาด Admin ในระดับจังหวัดที่จะสามารถประสานงานแก้ไขปัญหาได้ ใน รพ.สต. ที่ไม่มีทันตบุคลากรไม่ทราบรหัส หรือไม่สามารถลงงานได้ถูกต้อง

16 วิธีการแก้ไขปัญหา จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง: งานระบบข้อมูลของจังหวัด
ชี้แจงรหัสที่ใช้ในลงงานให้ตรงกัน ทบทวนวิธีการลงอย่างถูกต้อง วิธีการดึงรายการและตรวจสอบข้อมูลของตนเองได้ ทำช่องทางตรวจสอบข้อมูลจากการดึงข้อมูล 43 แฟ้ม และรายงานกระดาษ มีการคืนกลับข้อมูลจากหน่วยบริการมาให้จังหวัด ให้จังหวัดรับทราบและแก้ปัญหาต่อไป จัดทำ Line group ไว้สำหรับการประชาสัมพันธ์ข้อมูลและซักถามปัญหา

17 ความคาดหวังของจังหวัดต่อศูนย์อนามัย
การสนับสนุนด้านสื่อประกอบการให้ความรู้ สำหรับกลุ่มวัยต่างๆ สนับสนุนด้านวิชาการในการวิเคราะห์ข้อมูล วางแผนการดำเนินงานโครงการของจังหวัด นิเทศติดตาม ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนางานของจังหวัด

18

19 Thank You


ดาวน์โหลด ppt การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google