งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
05/12/61 ศูนย์อนามัยที่ 6 วรรณดี จันทรศิริ นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ

2 วรรณดี จันทรศิริ 05/12/61 ประเด็นการนำเสนอ การพัฒนาบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนYFHS แบบบูรณาการ เกณฑ์มาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนYFHS ฉบับบูรณาการ บริการสูขภาพที่มิตรสำหรับมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณการ

3 การให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น

4 การเดินทางและเวลาให้บริการไม่สะดวก
การเข้าถึงและใช้บริการสุขภาพ (accessibility and utilization of health services) คุณลักษณะของ YFHS นโยบายที่เป็นมิตร กระบวนการให้บริการที่เป็นมิตร ผู้ให้บริการที่เป็นมิตร ทีมสนับสนุนบริการที่เป็นมิตร สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก วัยรุ่นและเยาวชนมีส่วนร่วม มีการสื่อสาร/การมีส่วนร่วมของชุมชน การบริการเชิงรุกและเชื่อมบริการอื่นๆ การบริการที่เหมาะสมและครบวงจร การบริการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล Youth Friendly Health Services เพื่อตอบสนองความต้องการของวัยรุ่น อุปสรรคการเข้าถึง/ใช้บริการของวัยรุ่น วัยรุ่นไม่รู้ข้อมูลแหล่งให้บริการ สถานบริการไกลบ้าน/โรงเรียน การเดินทางและเวลาให้บริการไม่สะดวก ผู้ให้บริการไม่เป็นมิตร/ตัดสินวัยรุ่น ค่าใช้จ่าย ความเป็นส่วนตัว/ความลับ ฯ ข้อจำกัดทางสังคม/กฎหมาย/ ข้อจำกัดทางวัฒนธรรม ขจัดอุปสรรคการเข้าถึง และใช้บริการ วัยรุ่นเข้าไม่ถึงบริการ

5 การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน
มาตรฐานคุณภาพ YFHS 1. นโยบายที่เป็นมิตร 2. กระบวนการให้บริการที่เป็นมิตร 3. ผู้ให้บริการที่เป็นมิตร 4. ทีมสนับสนุนบริการที่เป็นมิตร 5. สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก 6. วัยรุ่นมีส่วนร่วม มีการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของ ชุมชน การบริการเชิงรุกและสัมพันธ์กับ บริการด้านอื่นโดยวัยรุ่นในชุมชน เพื่อเพิ่มความครอบคลุมและการ เข้าถึงบริการ 9. การบริการที่เหมาะสมและครบวงจร 10. การบริการสุขภาพที่มีประสิทธิผล 11. การบริการที่มีประสิทธิภาพ ขจัดอุปสรรคการเข้าถึงและใช้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการของวัยรุ่น ธรรมชาติของโรคที่ไม่แสดง อาการจนกว่าจะถึงขั้นรุนแรง ประกอบกับขาดการวินิจฉัยโรค 2. วัยรุ่นขาดความรู้ 3. ข้อจำกัดด้านวัฒนธรรม ข้อจำกัดด้านนโยบายและ กฎหมาย ทัศนคติและความสามารถของผู้ ให้บริการ 6. บริการด้อยคุณภาพ 7. อัตราค่าบริการสูง ข้อจำกัดทางกายภาพของสถาน บริการ แหล่งข้อมูล: WHO 2003 The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers The WHO Orientation Programme on Adolescent Health for Health-Care Providers แหล่งข้อมูล: Karl L. Delhne , Gabriele Riedner , 2005 และ McIntyre P.,2002 05/12/61 วรรณดี จัทรศิริ 5

6 ความเชื่อมโยงกิจกรรมบริการ YFHS ของโรงพยาบาลกับ Setting เครือข่ายในชุมชน
ประสานและเชื่อมโยง/ ส่งต่อบริการ พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ แกนนำวัยรุ่น สภาเด็กและเยาวชน ร่วม/สนับสนุนกิจกรรม หน่วยเคลื่อนที่/ประชาสัมพันธ์บริการ สถานประกอบการ ประสานและเชื่อมโยง/ส่งต่อบริการ พัฒนาศักยภาพแกนนำ ส่งต่อบริการ หน่วยเคลื่อนที่ /ประชาสัมพันธ์ โรงเรียน ประสานและเชื่อมโยง/ส่งต่อบริการ ระบบดูแลช่วยเหลือ คัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง Friend Corner ชุมนุมเอดส์ ฯ พัฒนาศักยภาพแกนนำ สอนเพศศึกษา/RH หน่วยเคลื่อนที่ /ประชาสัมพันธ์บริการ โรงพยาบาล YFHS จัดตั้งคลินิกวัยรุ่น / ผสมผสานบริการ ให้บริการดูแลสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน ส่งต่อบริการสังคม / การแพทย์ กิจกรรมเชิงรุก เชื่อมโยงบริการกับสถานศึกษา / สถานประกอบการ / ชุมชนและอื่น ๆ ดำเนินงานตามมาตรฐาน ฯ

7 มาตรฐานYFHS แนวทางการดำเนินงานตาม คุณภาพที่พึงประสงค์
เพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงและได้รับบริการตามความต้องการ

8 มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ
องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล ฉบับบูรณาการ องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลาการผู้ให้บริการ มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุมความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ

9 องค์ประกอบที่ ๑ การบริหารจัดการ
องค์ประกอบที่ ๑ การบริหารจัดการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย คณะทำงาน /คณะกรรมการ แผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ การสื่อสารภายใน การสนับสนุนทรัพยากร การกำกับ ติดตามและประเมินผล

10 องค์ประกอบที่ ๒ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและ การสร้างความต้องการในการใช้บริการ
ภาคีและเครือข่าย การประชาสัมพันธ์ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

11 องค์ประกอบที่ ๓ บริการที่ครอบคลุมความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย
องค์ประกอบที่ ๓ บริการที่ครอบคลุมความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย บริการที่ให้ข้อมูล บริการให้คำปรึกษา บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ

12 องค์ประกอบที่ ๔ ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อวัยรุ่น
องค์ประกอบที่ ๔ ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อวัยรุ่น ระบบบริการ สถานที่ให้บริการ บุคลากรผู้ให้บริการ

13 มีปัญหา พฤติกรรมเสี่ยง วัยรุ่นทั่วไป
บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน คลินิกวัยรุ่น บริการ ความรู้ การปรึกษา บริการสุขภาพ ดูแลส่งต่อ มีปัญหา พฤติกรรมเสี่ยง วัยรุ่นทั่วไป

14 คลินิกวัยรุ่น ตั้งที่ไหน/ใครรับผิดชอบ ?
กลุ่มงาน เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน (รพช.) Counseling ARV STI ANC FP ยาเสพย์ติด/สุขภาพจิต OSCC อนามัยโรงเรียน ตัวอย่าง

15 ความเชื่อมโยงภายในรพ ยาเสพย์ติด/สุขภาพจิต
Counselling ARV เวชกรรม OPD STI ANC FP ยาเสพย์ติด/สุขภาพจิต OSCC อนามัยโรงเรียน

16 แนวทางการพัฒนา โรงพยาบาลศึกษาแบบประเมินตนเองตาม
มาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน (YFHS) นำข้อที่ไม่ผ่านการประเมินตนเอง กำหนดเป็น โอกาสพัฒนา (opportunity for improvement OFI) วิธีการ มาตรการ หรือ แผนงาน/โครงการ (approach)เพื่อให้บรรลุเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

17 สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ
วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนวัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ ข้อมูลสุขภาพที่สำคัญของวัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่ ข้อมูลสภาพแวดล้อมและปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อปัญหาของวัยรุ่น เช่น สถานบันเทิง ร้านเกม ร้านเหล้า หอพัก เป็นต้น ข้อมูลด้านสถานศึกษา และสถานประกอบการ จำนวนการให้บริการจำแนกตามปัญหาสุขภาพวัยรุ่นที่มารับบริการประเภทต่างๆ

18 สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ
วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวนวัยรุ่นที่ได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจ (Psychosocial care) 7. ข้อมูลการคลอดโดยมารดาอายุ ปี และมารดาอายุ ปี 8. ข้อมูลวัยรุ่นอายุ ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิดหลัง คลอดหรือแท้งก่อนออกจาก รพ. 9. ร้อยละของวัยรุ่นอายุ ปี ที่ได้รับบริการคุมกำเนิด ด้วยวิธีคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร (ห่วงอนามัยหรือยาฝัง คุมกำเนิด) หลังคลอดหรือแท้งก่อนออกจากโรงพยาบาล 10. ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ ปี

19 สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ
วัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ 11. จำนวนและร้อยละของวัยรุ่นและเยาวชนที่มีการแท้ง 12. ข้อมูลการป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และผู้ ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ 13. จำนวนวัยรุ่นและเยาวชน ที่ขอรับการปรึกษาทาง โทรศัพท์ หรือทางสื่อออนไลน์ 14. จำนวนวัยรุ่นที่รับการส่งต่อจากเครือข่ายเพื่อรับ บริการและจำนวนวัยรุ่นที่ส่งต่อไปยังเครือข่าย 15. ข้อมูลอื่น ๆ

20 คณะผู้เยี่ยมประเมินระดับเขต
พัฒนาคุณภาพบริการตามคู่มือแนวทางคลินิกวัยรุ่นและมาตรฐานYFHS โรงพยาบาล ประเมินตนเอง รพ. ที่พร้อม(คะแนน>/= 2.0 ) แจ้งความประสงค์ไปยัง สสจ.พร้อมส่งแบบประเมินตนเอง เยี่ยมเพื่อพัฒนาการดำเนินงานของโรงพยาบาลตามมาตรฐาน ฯ ทีมเยี่ยมและพัฒนาระดับจังหวัด ไม่ผ่าน ผ่าน 2.0 ขึ้นไป รายงานผลให้ศูนย์อนามัย คณะผู้เยี่ยมประเมินระดับเขต เยี่ยมประเมินโรงพยาบาลที่ผ่านระดับ 2.0 ขึ้นไป พิจารณาและสรุปผลการประเมินรับรอง คณะกรรมการ ส่วนกลาง รายงานผลการประเมินรับรองมายังส่วนกลาง สรุปผลการประเมินและนำเสนอกรมฯให้ความเห็นชอบ แจ้งผลการประเมินให้ จังหวัดและโรงพยาบาลทราบ กรมอนามัย ดำเนินการมอบเกียรติบัตร ปีละครั้ง

21 Profile ของสถานบริการ
วรรณดี จันทรศิริ 12/5/2018 Profile ของสถานบริการ ชื่อสถานบริการ ประเภท รพศ/รพท/รพช/ อื่นๆ จำนวนเตียง ที่ตั้ง โทรศัพท์โรงพยาบาล Fax ชื่อผู้อำนวยการ ชื่อทีมแพทย์ที่รับผิดชอบYFSH ชื่อผู้ประสาน โทรศัพท์ผู้ประสาน ผู้ประสาน บริการสูขภาพที่มิตรสำหรับมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณการ

22 หลักฐานที่ปรากฏ/วิธีการ
แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (ฉบับบูรณาการ) มาตรฐาน ผลการประเมินตนเอง มี ไม่มี ไม่แน่ใจ หลักฐานที่ปรากฏ/วิธีการ 1. วิสัยทัศน์1 พันธกิจ2 และนโยบาย3 โรงพยาบาลมีนโยบายที่มุ่งไปสู่การพัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน4 เกณฑ์ตัดสิน โรงพยาบาลมีนโยบายการจัดบริการสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน เป็นลายลักษณ์อักษร เจ้าหน้าที่ ภาคีเครือข่าย ตัวแทนวัยรุ่นและเยาวชน มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการจัดบริการสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน มีการทบทวนและปรับปรุงนโยบายที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ ภาคีเครือข่ายและตัวแทนวัยรุ่นและเยาวชน …………. ………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………………….

23 สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ
โรงพยาบาลมีระบบบริการบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS) ตามมาตรฐานฉบับบูรณาการ Process เครือข่ายการให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS ที่เข้มแข็งและมีคุณภาพทั้งในโรงพยาบาล รพ.สต. สถานศึกษาและในชุมชน Output Intermediate Outcome วัยรุ่นและเยาวชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมากขึ้น(Accessibility) ลดปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นและเยาวชน (การตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ HIV ปัญหาพฤติกรรม ความรุนแรง การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด ฯลฯ) Outcome/ Impact

24 โรงพยาบาลที่ผ่านการพิจารณาตัดสินและประเมินรับรองโรงพยาบาล
ตามมาตรฐาน YFHS (ปีพ.ศ ) ข้อมูล ณ วันที่ 6ต.ค.2559

25 โครงการ การสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์
เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพวิทยากรในการจัดอบรมเรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว (ครู ก) กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบงานวัยรุ่น ระดับจังหวัด สื่อสารเรื่องเพศระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการสื่อสารเรื่องเพศระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว นักเรียนแกนนำในระดับชั้นมัธยมศึกษาและโรงเรียนขยายโอกาสชั้นปีที่ 1-3 และครู


ดาวน์โหลด ppt นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google