งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
17 พฤศจิกายน 2559 โดย…นางศรีวิภา เลี้ยงพันธุ์สกุล ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ณ โรงแรมทีเค พาเลซ แอนด์ คอนเวนชั่น

2 ตัวชี้วัดที่ 18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุน
กรมอนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA เกณฑ์การประเมิน ระดับ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 ผู้บริหาร,ทีมนำ ได้ดำเนินการพัฒนาองค์การ/หน่วยงาน มุ่งเน้นการแปลงยุทธศาสตร์สู่การดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน และมีการกำกับติดตามความสำเร็จ/ประสิทธิผลของการดำเนินงาน รวมถึงมีการทบทวน/ปรับแผนให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ โดยคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม (หมวด 1,2) 2 ดำเนินการระดับที่ 1 และ มีการดำเนินงาน โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึงมีการประเมินความพึงพอใจ/ความไม่พอใจและจัดการข้อร้องเรียนของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (หมวด 3) 3 ดำเนินการระดับที่ 1-2 และ แสดงถึงข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ที่จำเป็น ตามภารกิจหลัก/สำคัญขององค์การ/หน่วยงาน ที่สร้าง/รวบรวมและนำเข้าสู่ระบบสารสนเทศเพื่อพร้อมใช้ประโยชน์ รวมทั้งเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (ระบบ KISS : P&E Distribution) รวมถึง มีกระบวนการดำเนินงาน/มีตัวอย่างที่ชัดเจนในการสนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (หมวด 4) 4 ดำเนินการระดับที่ 1-3 และ มีกระบวนการดำเนินงาน/มีตัวอย่างที่ชัดเจนในการจัดระบบบริหารงานบุคคล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน และนวัตกรรม สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน,ก่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ/หน่วยงาน (หมวด 5) และมีวิธีการปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อการสร้างคุณค่าต่อผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและการบรรลุพันธกิจขององค์การ/หน่วยงาน และหรือมีการปรับปรุงผลการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง (หมวด 6) 5 ดำเนินการระดับที่ 1-4 และ ผลการดำเนินงานที่แสดงผลลัพธ์เชิงประจักษ์ มีส่วนร่วมต่อความสำเร็จระดับกรมในการส่งผลงานสมัครขอรับรางวัล หมายเหตุ : การผ่านเกณฑ์ในแต่ละข้อ หน่วยงานจะต้องมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนตาม ADLI และ R ซึ่งมีเกณฑ์น้ำหนัก ดังนี้ A= 0.4 D = 0.3 LI/R = 0.3

3 ตัวชี้วัดที่ 18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุน
กรมอนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA มาตรการสำคัญ B : 1) จัดเวทีลปรร./ สร้างชุมชนนักปฏิบัติ ระหว่างทีมแกนนำ ขับเคลื่อนองค์กร HPO ของ 36 หน่วยงาน กับเครือข่าย (แกนนำของหน่วยงาน ที่ได้รับรางวัด PMQA เพื่อต่อยอดความรู้ ทักษะปฏิบัติ พัฒนาคุณภาพการทำงานผ่านการเทียบเคียง หน่วยงานที่มีผลงาน เป็นเลิศ 2) เยี่ยมเสริมพลังเพื่อการค้นหาหน่วยงานที่มีผลงานน่าชื่นชม และกระตุ้น/เสริมแรงเพื่อการต่อยอดผลงานสู่การส่งสมัครเข้ารับรางวัล 3) สร้างระบบพี่เลี้ยง โดยบุคลากรจากภายในและภายนอกกรมอนามัย ในการเป็นทีมที่ปรึกษา/ร่วมพิจารณาและวิพากษ์อย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผงการดำเนินงาน และเตรียมรองรับการประเมิน P : 1) ประสานความร่วมมือกับทุกหน่วยงานในสังกัด ผ่านการจัดทำคำรับรองฯ เพื่อผลักดันให้มีการดำเนินงานตามนโยบายพัฒนากรมอนามัยสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง 2) ประสานความสัมพันธ์และเร่งสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์การ/หน่วยงานที่มีผลงานเป็นเลิศ และหรือหน่วยงานที่ผ่านการรับรองตามเกณฑ์ PMQA รวมถึงวิทยากรผู้มีประสบการณ์ในการตรวจประเมิน PMQA เพื่อวางระบบพี่เลี้ยง (Coaching) R : 1) เร่งรัด ติดตาม และกำกับการดำเนินงาน โดยคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย, อนุกรรมการขับเคลื่อนและพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA 2) มีการติดตามผลการดำเนินการผ่านระบบนิเทศติดตามของกรมอนามัย 3) มีการรายงานและสรุปบทเรียน Small Success (Special report) ในระบบ DOC ในรอบ 5 เดือนแรก และรอบ 5 เดือนหลัง A : 1) มีการสื่อสารแนวทางการพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูงให้กับบุคลากรกรมอนามัย ผ่านรูปแบบ/ช่องทางที่หลากหลาย (social media, e-book ประชุมชี้แจง ฯลฯ) P I R A B P = Partnership, I = Investment, R = Regulation, A = Advocacy, B = Building Capacity

4 ตัวชี้วัดที่ 18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุน
กรมอนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA Small Success ส่วนกลาง (กพร.) รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1. มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ, ถ่ายทอดตัวชี้วัดค่าเป้าหมายจากระดับกรมสู่ระดับหน่วยงาน 2. มีคณะกรรมการ/อนุกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัยมุ่งสู่ HPO เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนและพัฒนามุ่งสู่ HPO ตามแนวทาง PMQA 3. มีกลไกการกำกับ ติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงานผ่านเวทีประชุมผู้บริหารและหรือเวทีประชุมวิชาการกรมอนามัย 4. กรมอนามัยสมัครขอรับรางวัล PMQA และส่งเอกสาร/หลักฐานผลการดำเนินงานของกรม 1. มีเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้/COP กับหน่วยงานที่ได้รับรางวัล PMQA 2. เยี่ยมเสริมพลังหน่วยงาน/นิเทศ ติดตามของกรมอนามัย 3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการเขียนรายงานสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4. มีร่างรายงานผลการดำเนินงาน 5. รับฟังข้อคิดเห็นจากทีมที่ปรึกษา (ระบบพี่เลี้ยง) เพื่อปรับปรุงร่างรายงานผลการดำเนินงาน เยี่ยมเสริมพลังหน่วยงาน/นิเทศติดตามของกรมอนามัย 2. ปรับร่างรายงานผลการ ดำเนินงาน (Application Report) 1. จัดประชุมเตรียมการเพื่อพร้อมรับการประเมิน (site visit) จากสำนักงาน ก.พ.ร. 2. จัดประชุมรับการประเมิน (site visit) จากสำนักงาน ก.พ.ร.

5 ตัวชี้วัดที่ 18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุน
กรมอนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA Small Success หน่วยงาน รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1. หน่วยงานมีการจัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการและถ่ายทอดตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย (KPI14: HPO) จากระดับหน่วยงานสู่กลุ่มงานและบุคคล 2. หน่วยงานมีการดำเนินงานเพื่อพัฒนาองค์กร/หน่วยงาน โดยใช้ PMQA เป็นแนวทาง/เครื่องมือสร้างการเรียนรู้และพัฒนาหน่วยงาน 3. หน่วยงานมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานไม่น้อยกว่าขั้นตอนที่ 2 1. ทุกหน่วยงานมีสรุปและการรายงานผลการดำเนินงาน ในระบบ DOC 2. หน่วยงานมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานไม่น้อยกว่าขั้นตอนที่ 3 1. ทุกหน่วยงานมีการรายงานผลการดำเนินงาน ในระบบ DOC 2. หน่วยงานมีการดำเนินงานตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนด และมีระดับความสำเร็จไม่น้อยกว่าขั้นตอนที่ 4 1. ทุกหน่วยงานมีการรายงานผลการดำเนินงาน ในระบบ DOC 2. หน่วยงานมีการดำเนินงานตามเกณฑ์ประเมินที่กำหนด และมีระดับความสำเร็จไม่น้อยกว่าขั้นตอนที่ 5

6 ตัวชี้วัดที่ 18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุน
กรมอนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA ตัวอย่าง การถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล (ศูนย์อนามัยที่ 3 นครสวรรค์)

7 เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน
หมวด 1 การนำองค์การ   หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้  หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ  หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ  เป็นการประเมินผลการดำเนินการและแนวโน้มขององค์กร ในมิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพ และมิติด้านการพัฒนาองค์การ

8

9 แนวทางการประเมิน มิติ มิติ กระบวนการ ผลลัพธ์ แนวทาง (Approach - A)
การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) การเรียนรู้ (การทบทวนและ ปรับปรุง) (Learning - L) การบูรณาการ (Integration - I) ผลการดำเนินการปัจจุบัน (Level - Le) แนวโน้ม (Trend - T) ผลการดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison - C) ครอบคลุมและความสำคัญของ ผลลัพธ์ (Linkage - Li)

10 วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ
เป็นระบบ ชัดเจน ทำซ้ำได้ บูรณาการ ฐานข้อมูล วัดได้ ติดตามได้ มุ่งปรับปรุง Approach A มุ่งเป้า องค์กร A1 Goal A2 Plan A3 Assessment Plan ผลลัพธ์ ตรงเป้า Deployment D Learning L Integration I Result R ทำครอบคลุม ทุกหน่วย ทุกคน ทุกขั้น จริงจัง ความสอดคล้องของ เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ ติดตาม แลกเปลี่ยน ปรับปรุง

11 ประเมินองค์กรหมวด 7 (LeTCLi)
แนวโน้มผลการดำเนินงาน (อย่างน้อยสามปี) ผลการดำเนินงาน ในปัจจุบันเทียบกับ เป้าหมาย (Level- Le) (Trend - T) (Linkage- Li) (Comparison - C) มีการเชื่อมโยงกับ ตัวชี้วัดผลต่าง ๆ กับ เกณฑ์หมวดต่าง ๆ ผลการดำเนินงานเปรียบ เทียบกับองค์กรที่มีภารกิจ คล้ายคลึงหรือเทียบเคียงได้

12 การตอบคำถาม LeTCLi ความ ครอบคลุม เชื่อมโยง ของตัวชี้วัด 2558 2559 2560

13 แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6
แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 A D L I (1) 0,5 % ไม่มีแนวทาง A1 ไม่มีถ่ายทอดไปปฏิบัติ หรือมีเล็กน้อย D1 ไม่เห็นแนวคิดการปรับปรุง หรือปรับปรุงเมื่อเกิดปัญหา L1 PDCA ไม่มีทิศทางเดียวกันแยกกันทำงานเอกเทศ I1 (2) 10,15 20,25 เริ่มมีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนด ขั้นเริ่มต้น A2 ถ่ายทอดไปปฏิบัติ เกือบทุกหน่วย D2 เริ่มเปลี่ยนจากตั้งรับมาเป็นแนวคิดปรับปรุงทั่วไป L2 มีทิศทางเดียวกับหน่วยงานอื่น ร่วมกันแก้ปัญหา I2 (3) 30,35 40,45 มีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนดพื้นฐาน (บางส่วน) ขั้นปานกลาง A3 เว้นบางหน่วย อยู่ขั้นเริ่มต้น D3 เริ่มมีระบบประเมินปรับปรุงกระบวนการสำคัญ L3 เริ่มมีทิศทางเดียวกับความต้องการพื้นฐานขององค์กร I3

14 แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6(ต่อ)
แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6(ต่อ) A D L I (4) 50,55 60,65 % มีแนวทาง มีผลต่อข้อกำหนด โดยรวม (ส่วนใหญ่)ขั้นดี A4 ถ่ายทอดไปปฏิบัติ ขั้นดี อาจต่างกัน บางหน่วย D4 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ระดับองค์กร L4 PDCA มีทิศทางเดียวกับ ความต้องการพื้นฐานองค์กร I4 (5) 70,75 80,85 ต่างๆ (ทุกส่วน) ขั้นดีมาก A5 เกือบครบทุกหน่วย D5 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ วิเคราะห์แบ่งปันในระดับองค์กร L5 มีทิศทางที่บูรณาการกับความต้องการองค์กร I5 (6) 90,95 100 มีผลต่อข้อกำหนดต่างๆ (ทุกส่วน)ขั้นสมบูรณ์ A6 ขั้นสมบูรณ์ ในทุกหน่วย D6 มีระบบประเมินปรับปรุงใช้ข้อมูลจริง และมีการเรียนรู้ สู่การจัดการ การวิเคราะห์แบ่งปันความรู้สร้างนวัตกรรมทั่วองค์กร L6 มีทิศทางบูรณาการ กับความต้องการองค์กรเป็นอย่างดี I6

15 อ้างอิง จุดแข็ง ตัว การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง อย่าง
( SELF ASSESSMENT REPORT) หมวด 7 อ้างอิง จุดแข็ง 7 (1) LeTCLi = มีผลลัพธ์ที่ดี (Le) ตามเป้าหมาย มีแนวโน้ม (T) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีผลลัพธ์ที่อยู่ในระดับดีกว่ากับคู่แข่งขัน (C) มีการระบุผลการดำเนินการว่าเป็นผลจากการดำเนินการจากหมวดใด ข้อใดอย่างชัดเจนและครอบคลุม (Li)

16 อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง ตัว อย่าง
การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENT REPORT)หมวด 7 อ้างอิง โอกาสในการปรับปรุง 7 (1) LeTCLi = มีการกำหนด KPI ที่ชัด ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด แต่ผลลัพธ์มีแนวโน้ม (T)ที่เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว ไม่มีการกำหนดคู่เปรียบเทียบ (C) รวมทั้งไม่ได้ระบุการเชื่อมโยงว่าผลลัพธ์ในข้อนี้มาจากการดำเนินการในหมวดใด (Li) 7 (5) LeTCLi = ไม่มี ตัวชี้วัดที่สำคัญของผลการดำเนินการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย


ดาวน์โหลด ppt การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google