งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ผู้บรรยาย อ.นริสรา ลอยฟ้า ที่มา กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

2 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

3 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Internet ย่อมาจาก Inter Connection Network เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายๆ เครือข่าย ที่มีการเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยที่คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ทั่วโลก กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

4 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Intranet ย่อมาจาก Intra Connection Network เป็นระบบเครือข่ายการเชื่อมต่อภายใน ของหลายกลุ่มเครือข่าย เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน เกิดเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร - ลักษณะของเครือข่าย จำลองมาจาก Internet แต่การใช้งานหรือบริการ ที่มีในเครือข่ายจะจำกัดอยู่ใน เฉพาะ บริษัท หรือ องค์กรนั้น เช่น Intranet ทร. เชื่อมโยงเครือข่าย ระหว่าง นขต.ทร. บริการภายใน เครือข่าย สามารถใช้งานได้เฉพาะ ผู้ที่อยู่ในเครือข่าย ทร. เท่านั้น กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

5 อินเทอร์เน็ตมีความเป็นมาอย่างไร?
เริ่มจากเครือข่ายสื่อสารทางทหารชื่อ ARPANET ที่ใช้ทำสงครามของสหรัฐ ที่ออกแบบเหมือนร่างแห เมื่อภัยสงครามสงบ ก็มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป็นระบบเปิดกว้าง ไม่ต้องพึ่งพาโครงสร้างหลักของเครือข่ายทหารเดิม การต่อขยายอินเทอร์เน็ตจึงแพร่หลายไปทั่วโลก และเปิดให้บริการเชิงพาณิชย์อย่างเต็มที่มากขึ้น กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

6 เครือข่ายแบบร่างแหที่ใช้ในการสื่อสารทางทหาร
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

7 ประเภทของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ LAN (Local Area Network) WAN (Wide Area Network) MAN (Metropolitan Area Network) กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

8 ประเภทของระบบเครือข่าย
LAN (Local Area Network) การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในพื้นที่ใกล้กัน เช่น การเชื่อมต่อในตึกเดียวกัน การเชื่อมต่อในมหาวิทยาลัย การเชื่อมต่อในหน่วยงานต่างๆ โดยการเชื่อมต่อสามารถผ่านระบบ Ethernet, Fast Ethernet, FDDI, Token Ring กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

9 ประเภทของระบบเครือข่าย
WAN (Wide Area Network) การเชื่อมต่อ Lan เข้าด้วยกันในกรณีที่ระยะทางในการเชื่อมต่อระหว่างวง Lan ทั้งสองห่างกันมาก โดยการเชื่อมต่อสามารถทำได้โดยการใช้ ATM, DSL, ISDN อื่นๆ แต่การเชื่อมต่อจะมีความเร็วในการเชื่อมต่อต่ำกว่าการเชื่อมต่อแบบ Lan กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

10 ประเภทของระบบเครือข่าย
Man (Metropolitan Area Network) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์บนพื้นที่ขนาดใหญ่เช่นเดียวกับ Wan แต่การเชื่อมต่อนั้น จะเป็นการเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูง เช่นเดียวกับการเชื่อมต่อแบบ Lan กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

11 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
คำศัพท์ที่ควรรู้เกี่ยวกับระบบเครือข่าย Bandwidth (แบนด์วิทช์) คือ ความเร็วในการส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย มีหน่วยเป็น bps (บิตต่อวินาที) กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

12 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Router ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายที่มีการเชื่อมต่อภายในแตกต่างกัน หรือเชื่อมระหว่าง LAN และ WAN กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

13 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าเป็นระบบเครือข่ายเดียวกัน หรือต่างกันก็ได้ Bandwidth 10/100/1000 Mbps แต่ละพอร์ตไม่มีการใช้งานร่วมกัน Switch กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

14 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Hub ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นระบบเครือข่ายเดียวกัน Bandwidth 10/100/1000 Mbps แต่ละพอร์ตใช้งานร่วมกัน(เชื่อมกันหมด) กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

15 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ความแตกต่างระหว่าง Hub และ Switch Hub จะส่งข้อมูลที่เข้ามาไปยังทุกๆ พอร์ตของ Hub ยกเว้นพอร์ตที่ข้อมูลดังกล่าวเข้ามายัง Hub ในขณะที่ Switch จะทำการเรียนรู้อุปกรณ์ที่ต่อกับพอร์ตต่างๆ ทำให้ Switch ส่งข้อมูลไปยังพอร์ตที่มีเครื่องปลายทางอยู่เท่านั้น ไม่ส่งไปทุกๆ พอร์ตเหมือนกับ Hub ซึ่งส่งผลให้ปริมาณข้อมูลภายในระบบเครือข่ายไม่มากเกินความจำเป็น Hub เป็นเพียงตัวขยายสัญญาณข้อมูล (Repeater) เท่านั้น ในขณะที่ Switch จะมีการทำงานที่ซับซ้อนกว่า, มีการเรียนรู้อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ, การตัดสินใจส่งข้อมูลออกไปพอร์ตใด กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

16 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Ethernet Card ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายผ่านทาง Switch หรือ Hub Bandwidth 10/100/1000 Mbps กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

17 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ไฟสถานะของEthernet Card กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

18 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ไฟสถานะของEthernet Card LINK ถ้าสว่างแสดงว่า มีการเสียบสายแลนเข้ากับการ์ด และสามารถใช้งานได้ 10 ถ้าสว่างแสดงว่า อุปกรณ์นี้เชื่อมต่อด้วยความเร็ว 10 MB/s เช่นเดียวกับไฟ 100 ถ้าสว่างแสดงว่าเชื่อมด้วยความเร็ว 100 MB/s ACT (Activity) ถ้ากระพริบแสดงว่ามีการส่งข้อมูลเข้า-ออกการ์ด (เนื่องมาจากกิจกรรมการใช้เครือข่ายต่างๆ เช่น การใช้อินเตอร์เน็ต, การแชร์ไฟล์ ฯลฯ ถ้ามีการส่งข้อมูลจำนวนมากจะเปลี่ยนจากกระพริบมาเป็นสว่างค้างตลอดเวลา กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

19 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Modem ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายผ่านทางสายโทรศัพท์ Bandwidth 56 Kbps Internal Modem External Modem กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

20 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Access Point ใช้ในการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายแบบไร้สาย (wireless) Bandwidth 11/54 Mbps กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

21 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Wireless Card ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายแบบไร้สาย Bandwidth 11/54 Mbps PCMCIA USB PCI for PC กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

22 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
สาย UTP (Unshielded Twisted Pair) ใช้ในการเชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และ Ethernet Switch หรือ Hub Bandwidth 10/100/1000 Mbps ความเร็วในการเชื่อมต่อขึ้นอยู่กับการเข้าหัวสาย และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อ ระยะทางในการเชื่อมต่อ < 100m กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

23 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
สาย UTP และหัว RJ-45 สาย UTP ที่ใช้ใน Ethernet Lan จะเข้าหัวแบบ RJ-45 ภายในสาย UTP จะมีสายทองแดงย่อยอีก 8 เส้น โดยถูกจัดกลุ่มเป็นคู่ๆ ทั้งหมด 4 คู่ RJ-45 UTP กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

24 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การเข้าหัว RJ-45 มีได้ 2 แบบ คือ แบบ A (Standard EIA/TIA 568A) มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ขาว/เขียว เขียว ขาว/ส้ม น้ำเงิน ขาว/น้ำเงิน ส้ม ขาว/น้ำตาล น้ำตาล กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

25 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
แบบ B (Standard EIA/TIA 568B) เป็นแบบที่นิยมใช้กันมาก มีการเรียงสายจากซ้ายไปขวา ดังนี้ ขาว/ส้ม ส้ม ขาวเขียว น้ำเงิน ขาว/น้ำเงิน เขียว ขาว/น้ำตาล น้ำตาล กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

26 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
สาย UTP มี 2 แบบ ตามการเข้าหัว RJ-45 ดังนี้ สายตรง (UTP Straight Cable) เป็นสายที่ใช้ทั่วไป และพบมาก โดยใช้ในการเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์เครือข่ายจำพวก Hub และ Switch โดยการเข้าหัวทั้ง 2 ปลายจะเป็นแบบเดียวกัน (A หรือ B ก็ได้) สายครอส (UTP Cross-over Cable) ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องโดยตรง ไม่ผ่านอุปกรณ์ประเภท Hub และ Switch นอกจากนี้ยังใช้เชื่อมระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และ Router (ซึ่งถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์อีกรูปแบบหนึ่ง) โดยการเข้าหัวที่ปลายทั้ง 2 จะไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ปลายข้างหนึ่งเข้าหัวแบบ A อีกปลายจะเข้าหัวแบบ B กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

27 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
สาย Fiber Optic Fiber Optic คือ สายสัญญาณของระบบเครือข่ายอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสามารถในการรับ-ส่งสัญญาณได้ไกลๆ เป็นกิโลเมตร และมีการสูญเสียของสัญญาณน้อยมาก เมื่อเทียบกับสายแลนทั่วๆ ไป (CAT5, CAT5e, CAT6, CAT7 เป็นต้น) Fiber Optic เรียกเป็นภาษาไทยว่า "เส้นใยแก้วนำแสง“ Fiber Optic แบ่งออกได้ 2 ประเภท - เส้นใยแก้วนำแสงชนิดโหมดเดี่ยว(Singlemode, SM) ไม่เกิน 40 KM - เส้นใยแก้วนำแสงชนิดหลายโหมด (Multimode, MM) ไม่เกิน 2 KM กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

28 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
สาย โทรศัพท์ 1. สาย TIEV ใช้เดินภายในอาคาร ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ      - TIEV 2 CORE สำหรับโทรศัพท์ ANALOG     - TIEV 4 CORE สำหรับโทรศัพท์ DIGITAL และ ANALOG 2. สาย TPEV เป็นสายคู่ไม่ตีเกลียว ใช้เดินภายใน เป็นสายที่มีทองแดงอยู่ภายในตั้งแต่ 4, 5, 6, 8, 10, 15, 20, 25, 30, 40, 50, 100, 150, 200 คู่ (Pair) 3. สาย DROP WIRE เป็นสายเดินภายนอก มีแกนลวดหุ้ม 4. สาย AP เป็นสายที่คล้ายกับ TPEV ใช้ สำหรับเดินภายนอกอาคาร กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

29 อินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อกันได้อย่างไร?
มีจุดเชื่อมต่อเข้าหากันมากมายผ่าน ISP ISP = Internet Service Provider (ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต) มีทั้งผู้ให้บริการฟรีและเสียเงิน ราคาค่าบริการขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีที่ใช้ เช่น แบบธรรมดาแบบความเร็วสูง กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

30 ผู้ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ผ่าน ISP
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

31 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ISP คืออะไร ? หน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิดการเชื่อมต่อให้กับบุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ มีอยู่ 2 ประเภทคือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ (commercial ISP) ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับสถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ (non-commercial ISP) กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

32 เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร?
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

33 เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร?
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

34 Domain Name System (DNS) URL Proxy
สิ่งที่ควรรู้ในอินเตอร์เน็ต TCP/IP =(Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ภาษาสื่อสารหลักในระบบอินเตอร์เน็ต IP Address Domain Name System (DNS) URL Proxy กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

35 โปรโตคอล : กติกาของอินเทอร์เน็ต
การทำงานต่างๆในอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ต้องมีกติกาเดียวกัน ทุกเครื่อง ทุกโปรแกรม จะรับรู้และทำตามเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก เรียกว่า ”โปรโตคอล” (protocol) กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

36 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
TCP/IP กับ IP address กติกาหลักในการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต โดยกำหนดวิธีขั้นตอนในการรับส่งข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้องอย่างรัดกุม ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้ คือ IP address หรือที่อยู่ IP IP address เป็นตัวเลขล้วนๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง คั่นด้วยจุด กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

37 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
TCP/IP ภาษาสื่อสารหลักในระบบอินเตอร์เน็ต กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

38 IP Address : หมายเลขประจำเครื่อง
สำหรับอ้างถึงเมื่อมีการติดต่อสื่อสาร IP Address จะถูกส่งไปพร้อมกับข้อมูล เครื่องแต่ละเครื่องจะมี IP Address ไม่ซ้ำกัน ตัวอย่าง แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ๆละ 8 Bit รวม 32 Bit ในแต่ละส่วนจะคั้นด้วยจุด (Dot) กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

39 URL : Uniform Resource Locator
โปรโตคอล://ชื่อโฮสต์.ชื่อโดเมน/ชื่อไฟล์ โปรโตคอล http ใช้กับบริการ www ftp ใช้กับบริการ FTP ชื่อ Host คือชื่อเครื่องที่ให้บริการ (Server) ชื่อ Domain เป็นชื่อที่ใช้แทน IP Address ชื่อ File เป็นระบุชื่อและตำแหน่งไฟล์ กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

40 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Domain Name System ใช้ภาษาอังกฤษเป็นคำๆ จำง่ายและสื่อความหมายได้ดี กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

41 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
DNS และ DNS Server กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

42 โดเมนส่วนขยายบอกประเภทขององค์กร
com หรือ co องค์กรเอกชน edu หรือ ac สถาบันการศึกษา gov หรือ go องค์กรรัฐบาล mil หรือ mi องค์กรทางทหาร net องค์กรให้บริการเครือข่าย org หรือ or องค์กรไม่แสวงผลกำไร กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

43 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
โดเมนส่วนขยายบอกประเทศ au ออสเตรเลีย de เยอรมันนี fr ฝรั่งเศส jp ญี่ปุ่น th ไทย tw ไต้หวัน uk อังกฤษ กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

44 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Proxy เป็นตัวแทนในการติดต่อระหว่าง browser กับ website ต่างๆ (Cache) เก็บประวัติการใช้งาน คัดกรอง website คัดกรองเครื่องที่จะให้ใช้งาน กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

45 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
proxy ทร. LAN และ modem ทร. proxy.navy.mi.th port 80,8080,3128 ISP ,ADSL port 80,8080,3128 กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

46 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การตั้งค่า proxy เมนู Tools  internet options  connections กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

47 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การตั้งค่า proxy ระบบ LAN กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

48 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การตั้งค่า proxy ระบบ Modem กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

49 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
เว็บ (Web) ย่อมาจาก เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) หรือ WWW บริการพื้นฐานที่ใช้กันมากที่สุด โดยเรียกดูข้อความและภาพประกอบเป็นหน้าๆ ไป ลักษณะพิเศษคือ แต่ละหน้าจะมีการเชื่อมโยงหรือ ”ลิงค์” (link) เพื่อเรียกดูเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกันได้โดยง่าย กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

50 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
เว็บไซท์ กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

51 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
HTTP โปรโตคอลของเว็บ HyperText Transfer Protocol หรือ HTTP โปรโตคอลอีกชนิดหนึ่งที่ใช้เรียกดูข้อมูลจากเว็บ เรียกดูข้อมูลจากเว็บผ่านบราวเซอร์โดยระบุ นำหน้าโดเมน กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

52 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
HTML : ภาษาของเว็บ HTML = HyperText Markup Language ภาษาที่ใช้ในการจัดหน้าเว็บเพจ มีส่วนขยายคือ .htm หรือ .html ใช้โปรแกรมช่วยเขียนได้ เช่น Dreamweaver, Frontpage, HTML-kit กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

53 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
URL กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

54 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Web Browser Internet Explorer MoZilla Firefox Opera Google chrome Safari กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

55 วิธีการใช้งานโปรแกรม Internet Explorer
คลิกที่ปุ่ม จาก taskbar จะแสดงเว็บเพจของโปรแกรม Internet Explorer กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

56 ส่วนต่างๆ ในหน้าจอ Internet Explorer
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

57 แถบเครื่องมือ (Toolbar)
แถบเครื่องมือหลักของ Internet Explorer มีอยู่ 3 แถบคือ แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons) เป็นส่วนที่ช่วยในการจัดการกับเว็บเพจต่างๆ แถบที่อยู่ (Address bar) เป็นส่วนที่แสดงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บเพจขณะนั้น แถบเครื่องมือลิงค์ (Links bar) เป็นส่วนที่ช่วยในการแสดงส่วนเชื่อมโยง ไปยังเว็บเพจเฉพาะส่วนที่คัดเลือกไว้ เช่น เว็บเพจที่ดีและน่าสนใจที่สุด หรือเว็บเพจที่ถูกใจ เป็นต้น กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

58 แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons)
Back การย้อยกลับไปดูเว็บเพจที่ดูไปแล้ว Forward การเดินหน้าไปดูเว็บเพจที่ดูไปแล้ว ปุ่มนี้สามารถใช้ได้หลังจากการใช้ปุ่มย้อนกลับ Stop การหยุดโหลดข้อมูล Refresh การดึงข้อมูลจากเว็บเพจหน้าเดิมใหม่ ใช้ในกรณีที่ข้อมูลที่ดึงข้อมูลมาไม่สมบูรณ์ กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

59 แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons)
Home การกลับไปที่หน้าโฮมเพจได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว Search การค้นหาข้อมูลที่อยู่ในเว็บเพจ Favorites การเก็บชื่อและตำแหน่งของเว็บเพจที่ถูกใจ เพื่อให้สามารถกลับมาดูได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว History การเก็บชื่อและตำแหน่งของเว็บเพจที่ได้เข้าไปเยี่ยมชมมาแล้ว ซึ่งสามารถกลับไปยังเว็บเพจเหล่านั้นได้โดยเลือกในส่วนของ History กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

60 แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons)
Print การพิมพ์เว็บเพจออกทางเครื่องพิมพ์ Edit การแก้ไขเว็บเพจหน้าที่กำลังเปิดอยู่ในขณะนั้น กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

61 แถบที่อยู่ (Address bar)
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

62 แถบเครื่องมือลิงค์ (Links bar)
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

63 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การท่องอินเตอร์เน็ต โปรแกรม Internet Explorer พิมพ์ชื่อเว็บไซท์ที่ต้องการ และกดปุ่ม Enter กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

64 Electronic mail (E-mail)
เป็นการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อมูลที่ส่งออกไปจะถูกกองรอไว้ เมื่อผู้รับว่างจึงจะเข้ามาเปิดอ่าน โดยไม่จำเป็นต้องมีการโต้ตอบกันทันที เครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล์ เรียกว่า ”เมล์เซิร์ฟเวอร์” (mail server) มีทั้งบริการที่เสียเงินและฟรีบนเว็บไซท์ผู้ให้บริการ กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

65 รูปแบบของ E-mail address
การส่งอีเมล์ ต้องรู้ที่อยู่ของผู้รับว่าจะส่งไปที่ชื่อไหน เรียกว่า "ตู้จดหมาย" หรือ mailbox มีรูปแบบคือ (เมล์เซิร์ฟเวอร์ที่ผู้รับใช้) กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

66 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การส่ง ผู้ส่ง: yahoo.com กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

67 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การรับ ผู้รับ:s_chumsak yahoo.com กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

68 บริการอินเตอร์เน็ตของ ทร.
บริการระบบสมาชิกอินเตอร์เน็ต ทร. 1. Proxy (WWW) 2. Modem 3. (web mail,pop3) บริการระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ บริการระบบงานกำลังพล กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

69 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
info.navy.mi.th กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

70 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

71 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
proxy ทร. LAN และ modem ทร. proxy.navy.mi.th port 80,8080,3126 ISP ,ADSL port 80,8080,3126 กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

72 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การตั้งค่า proxy เมนู Tools  internet options  connections กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

73 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การตั้งค่า proxy ระบบ LAN กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

74 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การตั้งค่า proxy ระบบ Modem กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

75 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การสมัคร proxy กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

76 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การตั้งค่า Modem เบอร์โทรศัพท์สำหรับ modem กทม.และปริมณฑล 0247(53151),0247(53152) สัตหีบ (หมุนเข้า ศูนย์ฯ กร.) 74301 กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

77 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ข้อกำหนดของ Modem ครั้งละ 2 ชม. 1 account /1 คู่สาย ระยะเวลาตามชั้นยศ / เดือน คู่สายโทรศัพท์ ISP คอมพิวเตอร์ MODEM MODEM กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

78 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การสมัคร Modem กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

79 ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

80 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ระบบงานกำลังพล กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

81 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การสืบค้นข้อมูล ในช่อง Address ให้พิมพ์ address ของ Google ดังนี้ o หรือ o กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

82 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

83 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google อธิบายรายละเอียดในหน้าจอรายงานผลการสืบค้น 1. แสดงจำนวน Web address ที่พบจากการสืบค้น กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

84 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google 2. แสดง Web Page title ที่พบข้อมูลตาม Keyword 3. กรณีที่ผลการสืบค้นพบมากกว่า 1 รายการใน Web Site เดียวกัน จะแสดงรายการเป็นรายการย่อย 4. “หน้าที่ถูกเก็บไว้” (Cached) เป็นข้อมูลการสืบค้นโดยใช้ Google ครั้งหลังสุด 5. “หน้าที่คล้ายกัน” (Similar pages) เป็นการให้ Google ทำการค้นหา Web Page ที่มีลักษณะข้อมูลคล้ายคลึงกัน กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

85 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google 6. หากต้องการดูรายละเอียดการสืบค้นจากผลของ Search Engine อื่นๆ ที่ link อยู่ร่วมกับ Google วิธีการใช้การสืบค้น 1.Google ถือว่าตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวใหญ่ (capital) และตัวเล็ก เป็นตัวอักษรชนิดเดียวกัน “george washington” จะเหมือนกับ “George Washington” กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

86 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google 4. คำทั่วไปบางคำจะถูกยกเว้นในการใช้เป็น Keyword เช่น “how” “where” “when” รวมถึงตัวอักษรตัวเดียว หรือตัวเลขตัวเดียว เช่น “A” “s” “I” “3” แต่หากมีความจำเป็นต้องใช้ ให้ผู้ใช้ทำการเพิ่ม เครื่องหมาย “+” หน้าตัวอักษรที่เป็น Keyword Star Wars Episode +I กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

87 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google 5. กรณีที่ต้องการสืบค้นเป็นวลี หรือข้อความยาวๆ ทั้งชุดให้ทำการใส่เครื่องหมายคำพูดคร่อมวลี หรือข้อความ “the long and winding road” 6. กรณีที่คำที่ต้องการสืบค้นมีได้หลายความหมาย และต้องการยกเลิกไม่สืบค้นในความหมายที่ไม่ต้องการ ให้ใช้สัญญลักษณ์ “-” หน้าข้อความที่เป็นความหมายที่ไม่ต้องการ กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

88 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google 7. หากต้องการสืบค้นไฟล์เอกสารตามชนิดที่ระบุ ให้ทำการใส่ชนิดเอกสาร ไว้หลัง Keyword navy filetype:pdf 8. ค้นหาเฉพาะรายชื่อ Domain ที่ต้องการ ทำได้โดยใส่ Keyword ที่ต้องการ แล้วตามด้วยคำว่า “site:” navy site:th กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

89 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
การใช้งาน Google 9. สืบค้นข้อมูลที่เป็นช่วงของตัวเลข สามารถทำได้โดยใส่ “..” ในช่วงของข้อมูล ต่ำสุด-สูงสุดที่ต้องการค้น สถิติอุบัติเหตุ ปี กสท.ศสท.สสท.ทร. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น


ดาวน์โหลด ppt อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google