งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ

2 ขอบเขตการบรรยาย ความสำคัญและข้อควรรู้เกี่ยวกับราคากลาง
เทคนิคการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ และคุณสมบัติผู้เสนอราคา แนวปฏิบัติ และกรณีศึกษา e-Auction การบริหารสัญญา กรณีศึกษาปัญหาพัสดุ

3 ความสำคัญและข้อควรรู้เกี่ยวกับราคากลาง

4 ก่อนซื้อหรือจ้างทุกวิธี
ต้องจัดหาราคากลางของสิ่งของ ที่จะซื้อ หรืองานที่จะจ้าง เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาราคา ของผู้เข้าเสนอราคาและเปิดเผยไว้ใน เว๊บไซต์ของหน่วยงาน และศูนย์ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้าง ของกรมบัญชีกลาง ที่ มติครม. ลว.๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖และ๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ (สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๕/ ว ๑๒๙ ลว. ๙ สิงหาคม ๒๕๕๖) กำหนดให้ การจัดหาพัสดุที่มีวงเงินเกิน 100,000 บาท ขึ้นไป ต้องนำรายละเอียดการคำนวณราคากลางไปลงเว็บไซต์ด้วย

5 งานก่อสร้าง งานก่อสร้าง จะต้องคำนวณราคากลาง
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2555 แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506 / 6579 ลงวันที่ 19 มีนาคม 2555 หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค / ว 9 ลงวันที่ 7 มีนาคม 2550

6 ข้อควรรู้ งานจ้างก่อสร้างที่มิได้แข่งขันราคา
เช่น วิธีตกลงราคา/วิธีพิเศษ/ วิธีกรณีพิเศษ จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง เหมือนกัน ยกเว้น/งานต่อไปนี้ไม่ต้องแต่งตั้งคกก.กำหนดราคากลาง หน่วยงานซื้อพัสดุ มาดำเนินการเอง งานก่อสร้างในต่างประเทศ

7 การเปิดเผยราคากลางงานซื้อ งานจ้างทั่วไป และงานจ้างก่อสร้าง เป็นไปตามประกาศของสำนักงาน ป.ป.ช.
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๑๐๓/๗ กำหนดให้หน่วยงานของรัฐจัดทำข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อ จัดจ้างโดยมีเจตนารมณ์มุ่งเน้นให้ประชาชนได้รับรู้ข้อมูลราคากลางและตรวจสอบได้เป็นสำคัญ หากเกิดกรณีการจัดหาพัสดุชนิดเดียวกันแต่ราคากลางที่เปิดเผยแตกต่างกัน จะต้องพิจารณาจากเจตนาและพฤติการณ์แวดล้อมของการได้มาของราคากลาง การเปิดเผยราคากลางงานก่อสร้าง กระทรวงการคลังได้แจ้งเวียนให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓/ว ๙๐ ลว. ๒๒ ส.ค. ๒๕๕๕ การจัดซื้อจัดจ้างประเภทอื่นที่มิใช่งานก่อสร้าง ให้ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค. ๐๔๒๑.๓/ว ๑๑๑ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๖ สำหรับคู่มือแนวทางการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ สำนักงาน ป.ป.ช. สามารถดาวน์โหลดได้ที่

8 -ลงพร้อมกับประกาศสอบ/ประกวดราคา/หรือจ้างก่อสร้างโดยวิธีอื่น
การเปิดเผยราคากลางงานซื้อ งานจ้างทั่วไป และงานจ้างก่อสร้าง เป็นไปตามประกาศของสำนักงาน ป.ป.ช. (ต่อ) กรณีงานก่อสร้าง ให้ปฏิบัติตามหนังสือเวียนกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๓/ว ๙๐ ลว. ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ ซึ่งกำหนดดังนี้ -ให้ประกาศเปิดเผยข้อมูลราคากลางทางเว็ปไซต์ของหน่วยงาน และของกรมบัญชีกลางที่ -ลงพร้อมกับประกาศสอบ/ประกวดราคา/หรือจ้างก่อสร้างโดยวิธีอื่น -ให้แนบหลักฐานการคำนวณตามใบ BOQ เป็นเอกสาร หรือเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ (CD-ROM) ให้ผู้สนใจเข้าตรวจสอบ/ดาวน์โหลดได้ -วิธีเปิดเผยให้ปฏิบัติตามคู่มือในระบบe-GPทาง หัวข้อข่าวจัดซื้อจัดจ้าง และหัวข้อแนะนำ/รายละเอียดการคำนวณที่ต้องเปิดเผย ๒.๑ งานอาคาร ปร.๔, ปร.๔(พ.) ปร.๕(ข), ปร.๖ งานทาง สะพานและท่อเหลี่ยม แบบสรุปราคากลางงานดังกล่าว งานชลประทาน แบบสรุปราคากลางงานชลประทาน

9 การสืบหาราคากลางที่ไม่ใช่งานก่อสร้าง
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค. ๐๔๒๑.๓/ว ๑๑๑ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๖ ครุภัณฑ์ ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ให้ใช้ราคามาตรฐาน ที่สำนักงบประมาณ กำหนด หากไม่มี ให้ใช้ราคาที่ เคยซื้อครั้งหลังสุด ภายในระยะเวลา ๒ปี หรือ ให้ใช้ราคา ตลาด โดยสืบราคา จากท้องตลาด รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆทั้งนี้ ให้พิจารณาจากความเหมาะสมของประเภทครุภัณฑ์ และเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ 1 1.ให้ใช้ราคาตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยา แห่งชาติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ.2551 ยาในบัญชียาหลัก 2 2.หากไม่มีให้ใช้ราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปีงบประมาณ ยานอก บัญชียาหลัก 3. หากไม่มีให้ใช้ราคาตลาด โดยสืบราคา รวมถึงเว็บไซต์ต่างๆ เป็นราคาอ้างอิง 3 เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 1.ให้ใช้ราคามาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด 2.หากไม่มีให้ใช้ราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุด ไม่เกิน 2 ปี 3.หากไม่มีให้ใช้ราคาตลาดโดยสืบราคา รวมถึงเว็บไซด์ต่างๆ เป็นราคาอ้างอิง

10 การสืบหาราคากลางที่ไม่ใช่งานก่อสร้าง
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค. ๐๔๒๑.๓/ว ๑๑๑ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๖(ต่อ) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจ้างที่ปรึกษา การจ้าง งานวิจัย หรือให้ทุนการวิจัย ให้ใช้ราคาตามที่ ICT กำหนด หรือ ให้ใช้ราคาตลาด โดยการสืบจากท้องตลาด รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกำหนด ฮาร์ดแวร์ การพัฒนาซอฟแวร์ประเภทโปรแกรมประยุกต์ การจ้างที่ปรึกษา หากไม่มี ให้พิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ของที่ปรึกษาเป็นสำคัญ การจ้างงานวิจัย หรือให้ทุนการวิจัย ให้พิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ของที่ปรึกษาเป็นสำคัญ ให้ใช้ราคาตลาด โดยสืบราคา รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ รายการอื่นๆ การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน ให้ใช้อัตราตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือ ของหน่วยงานนั้นๆ กำหนด

11 ปัจจุบันกรมบัญชีกลางได้มีหนังสือแจ้งเวียน
ที่ กค๐๔๒๑.๔ /ว ๒๙๔ ลว. ๑๑ กรกฏาคม ๒๕๕๕ กำหนดวิธีปฏิบัติงาน จัดซื้อ/จัดจ้าง ทุกวิธี ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานของรัฐ ให้จัดทำขั้นตอนการจัดหาพัสดุในระบบ Electronic Goverment Procurement :e-GP ระยะที่ ๒ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สามารถทราบขั้นตอนการทำงานได้ทุกขั้นตอนและเชื่อมโยงกันได้ ทุกระบบ เช่น ระบบงบประมาณ ระบบธนาคาร เป็นต้น

12 ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง
ปัญหาที่พบ ราคากลางหมดอายุก่อนดำเนินการประกาศเชิญชวน ราคาวัสดุก่อสร้างไม่ตามกระทรวงพาณิชย์ คิดค่าใช้จ่ายดำเนินการที่รวมใน Factor F แล้ว ซ้ำ คิด Factor F ไม่ถูกต้อง ใช้เกณฑ์คำนวณผิดประเภท ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ไม่ถูกต้องตามระเบียบ ไม่ชี้แจงความจำเป็น รายละเอียดของค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องมี

13 เทคนิคการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะและคุณสมบัติผู้เสนอราคา

14 ก่อนซื้อ/จ้าง ต้องกำหนดความต้องการสิ่งของที่จะซื้อ หรืองานที่จะจ้าง Specification (Spec) ก่อน ************************ **โดยมีหลักเกณฑ์การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของงานซื้อ และการกำหนดขอบเขตของงานจ้าง***ดังนี้ 14

15 มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ
มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ระเบียบฯ ข้อ 13 หลังจากทราบยอดเงิน ที่จะนำมาใช้ในการจัดหา ให้รีบดำเนินการ ให้เป็นไปตามแผน... การดำเนินการ กำหนด Spec. กวพ. 1. ทราบยอดเงิน คือ งบประมาณ ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ 2. การเริ่มดำเนินการจัดหา คือ การดำเนินการในขั้นตอนที่ ต้องผูกพันบุคคลภายนอก (การประกาศฯ) 3. การกำหนด spec. เป็นขั้นตอน ภายในหน่วยงาน ยังไม่ได้ก่อให้ เกิดสิทธิแก่บุคคลภายนอก จึง สามารถดำเนินการไว้แต่เนิ่นได้

16 มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ
มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ข้อกำหนดตามระเบียบ ไม่ชัดเจน นโยบายของหน่วยงาน ผู้มีหน้าที่กำหนด Spec. - เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะทำงาน คณะกรรมการ Spec. กลาง - ฯ -

17 มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ
มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ Spec. ** ในชั้นของการขอตั้ง งบประมาณ ** - งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป - งานจ้างก่อสร้าง Conceptual design ** ในชั้นการจัดหา ** - งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป - งานจ้างก่อสร้าง Detail design

18 Spec. พัสดุ ** มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ
มิติสัมพันธ์ ของรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ Spec. ** Spec. หน่วยงานกลาง ** - สำนักงบประมาณ - กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร -สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ -กระทรวงสาธารณสุข ** Spec. ตามความต้องการ ของหน่วยงานที่จะจัดหา พัสดุ **

19 หลักการ ในการกำหนด Spec.
** การกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ หรืองานจ้าง / คุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน ** การวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน แต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ ** เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน แต่ ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้

20 หลักเกณฑ์ ในการกำหนด Spec.
ความเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุณสมบัติของผู้เสนอราคาตามที่ กวพ. กำหนด

21 เปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาส
ให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 15 ทวิ วรรคหนึ่ง *** - ต้องดำเนินการโดยเปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม โดยคำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองาน เว้นแต่ กรณีที่มีลักษณะเฉพาะอันเป็นข้อยกเว้น ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ ข้อ 17 - การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ การออกแบบรูปรายการก่อสร้างโดยละเอียด ให้หัวหน้าส่วนราชการรับผิดชอบควบคุมดูแลให้เป็นไปอย่างโปร่งใส 1 2

22 การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ
1 งานก่อสร้าง มติ ครม. 23 มี.ค. 20 (ที่ สร 0203/ว 52 ลว. 28 มี.ค. 20) กำหนดรายการในการก่อสร้าง 1. มี มอก. หรือ กระทรวง อุตสาหกรรมรับรองแล้ว หรือ มีมาตรฐานที่ส่วนราชการอื่น กำหนดไว้ ก็ให้ระบุตาม มาตรฐานนั้นได้ ตามความ จำเป็น 2. กรณียังไม่มีมาตรฐาน ถ้าส่วนราชการ จำเป็นต้องใช้สิ่งของที่เห็นว่ามีคุณภาพดี เป็นที่นิยมใช้ในขณะนั้น และจำเป็นต้อง ระบุชื่อยี่ห้อสิ่งของ ก็ให้ระบุได้ แต่ ต้องให้มากยี่ห้อที่สุดเท่าที่จะสามารถ ระบุได้ และสิ่งของที่มีคุณภาพเทียบเท่ากัน ก็ให้ใช้ได้ด้วย

23 การระบุคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของหรือยี่ห้อสิ่งของ
2 งานซื้อ มติ ครม. ตามหนังสือ ที่ สร 0403/ว 93 ลว. 7 พ.ย. 12 และ ที่ สร 0203/ว 157 ลว. 27 ธ.ค. 19 คุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของ *** ห้าม *** 1. กำหนดให้ใกล้เคียงกับยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง 2. ระบุยี่ห้อสิ่งของที่จะซื้อ เว้นแต่ ที่มีข้อยกเว้นไว้ เช่น ยารักษาโรค เครื่องอะไหล่ เป็นต้น

24 หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ
มติ ครม. 21 เม.ย ด่วนที่สุด ที่ นร 0505/ว 89 ลว. 28 เม.ย. 52 ** เรื่อง ข้อเสนอมาตรการเพื่อลดผลกระทบจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ต่อภาค อุตสาหกรรมไทย (การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย) ระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 16 มติ ครม. 29 พ.ค. 50 (ว.83) ส่วนราชการ องค์ปกครอง ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจและ องค์การมหาชน ไม่ให้ขัดหรือแย้ง กับข้อตกลงระหว่างประเทศ Ex. ข้อตกลงขององค์การการค้าโลก การประกวดราคานานาชาติ เป็นต้น + เคร่งครัด ขอความร่วมมือ ระวัง หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ 1

25 มติ ครม. 29 พ.ค. 50 - ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50 **
หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ 2 มติ ครม. 29 พ.ค ที่ นร 0505/ว 83 ลว. 30 พ.ค. 50 ** 1. การจัดหาพัสดุที่มีผลิตในประเทศ 1.1 ให้หน่วยงานของรัฐใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ และถือปฏิบัติตาม ระเบียบหรือข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของหน่วยงานผู้ดำเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ถ้าไม่มีพัสดุที่ผลิตในประเทศ ให้จัดหาตามหลักเกณฑ์ปกติ 1.2 กรณีต่อไปนี้ ให้เสนอรัฐมนตรีพิจารณา ** ถ้ามีพัสดุที่ผลิตในประเทศ แต่ไม่เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ หรือมีน้อยราย หรือจำเป็นต้องใช้พัสดุที่ผลิตจากต่างประเทศ หรือจะต้องนำเข้าจากต่างประเทศในกรณีเป็นประโยชน์ยิ่งกว่า

26 พัสดุที่ผลิตในประเทศ
พัสดุที่ผลิตในประเทศ หมายความว่า ** ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสำเร็จรูปแล้ว โดยสถานที่ผลิตตั้งอยู่ในประเทศไทย (ระเบียบ 35 ข้อ 5) ** หมายความรวมถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการประกอบหรือขึ้นรูปในประเทศไทยด้วย (การตีความของ กวพ.) ** การตรวจสอบว่า พัสดุที่จะซื้อหรือจ้างทำมีผู้ผลิตหรือรับจ้าง ในประเทศไทยหรือไม่ ต้องตรวจสอบจาก กรมโรงงานอุตสาหกรรม

27 หลักเกณฑ์การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ
3 ระเบียบพัสดุฯ พ.ศ ข้อ 16 ให้ส่วนราชการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย ห้ามกำหนด Spec. กีดกัน ผู้ผลิต/ผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศ หรือเป็นกิจการของคนไทย (16(1)) มีประกาศ มอก. ให้กำหนด Spec. หรือรายการในการ ก่อสร้างตามมาตรฐาน มอก. หรือ ระบุเฉพาะหมายเลข มอก. ก็ได้ (16(2)) พัสดุที่ต้องการ ซื้อ/จ้าง มีผู้ได้รับการจดทะเบียน ผลิตภัณฑ์ ให้กำหนด Spec. หรือรายการในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับคู่มือผู้ซื้อ หรือ ใบแทรกคู่มือผู้ซื้อ (16(3)) จำเป็นต้องกำหนดแตกต่าง ให้แจ้ง สมอ. (16(4)) 3

28 มอก. + ISO ที่เสนอราคาต่ำสุด
การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย (ข้อ16) ข้อ มอก. + ISO ISO จด ทะเบียน การกำหนด TOR สิทธิ Spec. 16(2) / (3) ความต้องการพัสดุ 16 (5) – (11) 16 (5) วรรค 1 3 ตาม มอก. เฉพาะที่แสดง มอก. + ISO + ทำในประเทศไทย แข่งกันเอง 16 (5) วรรค 2 16 (6) วรรค 3 มอก. / ISO + มอก. + ISO ที่เสนอราคาต่ำสุด ได้สิทธิ + 5 % % 16 (6) วรรค 1 เฉพาะที่แสดง มอก.+ 16 (6) วรรค 2 (ตาม มอก.) เฉพาะที่ได้ ISO +

29 การใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศและกิจการของคนไทย (ข้อ16)
มอก. + ISO ISO จด ทะเบียน การกำหนด TOR สิทธิ Spec. 16(2) / (3) ความต้องการพัสดุ 16 (5) – (11) 16 (7) วรรค 1 และ 16 (7) วรรค 2 (ก) 16 (7) วรรค 2 (ข) 3 ตาม มอก. (ตาม มอก.) เฉพาะที่ทำ ในประเทศไทย (ก) มอก. + ISO ได้สิทธิ % % กรณี (ก) ไม่ได้ผล มอก. / ISO ได้สิทธิ + 7 % % 16 (8) วรรค 1 และ 16 (8) วรรค 2 - สอดคล้อง กับคู่มือผู้ซื้อหรือ ใบแทรกฯ จดทะเบียนที่เสนอราคาต่ำสุด 16 (11) ตามความต้องการ ระบุแหล่งกำเนิด/ประเทศที่ผลิต กำเนิด / ผลิตในประเทศ ได้สิทธิ + 5 % %

30 ข้อ มอก. + ISO ISO จด ทะเบียน บริษัท ก. ข. ค. ง. 16 (5) วรรค 1 3 16 (5) วรรค 2 และ 16 (6) วรรค 3 16 (6) วรรค 1 และ (ขอ ISO) 16 (6) วรรค 2 และ (ขอ มอก.) 16 (7) วรรค 1 และ16 (7) วรรค 2 (ก) 16 (7) วรรค 1 และ 16 (7) วรรค 2 (ข) 16 (8) วรรค 1 และ 16 (8) วรรค 2 - 16 (11)

31 การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ มติคณะรัฐมนตรี 22 มกราคม 2551 เห็นชอบตามข้อเสนอของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ มอบหมายให้กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) รับไปพิจารณา ปรับปรุงระเบียบพัสดุฯ 35 เพื่อให้การใช้มาตรการตามแผนการ จัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ และ (ร่าง) แผนส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ พ.ศ – 2554 มีความสอดคล้องกัน 1

32 การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ ** ขอให้ส่วนราชการภายใต้ระเบียบพัสดุฯ 35 จัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของ หน่วยงานภาครัฐ และ (ร่าง) แผนส่งเสริม การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของภาครัฐ พ.ศ. 2551 – 2554 ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ** สินค้าและบริการใดที่จะต้องจัดซื้อจัดจ้างตามเกณฑ์ข้อกำหนดที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม หรือได้รับฉลากเขียว หรือได้รับใบไม้เขียว ให้ดำเนินการตาม คู่มือการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของกรม ควบคุมมลพิษ และอยู่ภายใต้บังคับระเบียบพัสดุฯ 35 ข้อ 16 และต้องไม่ขัดหรือ แย้งกับระเบียบพัสดุฯ 35 ** หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 287 ลงวันที่ 29 ส.ค. 2551 2

33 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
พิจารณาตามตัวอย่างเอกสาร ประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด งานซื้อ/จ้าง ทั่วไป งานจ้าง ก่อสร้าง ต้อง ทำตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคาที่ กวพ. กำหนด ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ ด่วนมาก ที่ นร (กวพ) 1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 *** 1 2

34 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 1. ต้องเป็นผู้มีอาชีพขาย หรือ รับจ้าง 2. ไม่เป็นผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายชื่อผู้ทิ้งงาน และ ได้แจ้งเวียน ชื่อแล้ว หรือ ไม่เป็นผู้ได้รับผลของการสั่งให้นิติบุคคลหรือ บุคคลอื่นเป็นผู้ทิ้งงาน 3. ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน (ณ วันประกาศ) 3.1 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ ผู้เสนอราคารายอื่น 3.2 การซื้อ/จ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ ผู้เสนอราคารายอื่น , ผู้ให้บริการกลางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ไม่เป็นผู้กระทำการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม

35 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 4. ไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์หรือความคุ้มกัน ซึ่งอาจปฏิเสธไม่ยอมขึ้น ศาลไทย เว้นแต่ รัฐบาลของผู้เสนอราคาได้มีคำสั่งให้สละสิทธิ์ และ ความคุ้มกันเช่นว่านั้น ** ต้องผ่านการคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นในการซื้อหรือจ้าง ** ผู้เสนอราคาต้องเป็น นิติบุคคล และ มี ผลงานก่อสร้างประเภท เดียวกัน กับงานที่ประกวดราคาจ้าง ในวงเงินไม่น้อยกว่า.....บาท และ เป็นผลงานที่เป็นคู่สัญญาโดยตรงกับส่วนราชการ หน่วยงาน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานเอกชนที่กรมเชื่อถือ

36 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.1 กรณีความเป็นนิติบุคคล งานก่อสร้าง วงเงินตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป ผู้เสนอราคา ต้องเป็นนิติบุคคล ตามกฎหมาย มติ ครม. 6 มิ.ย. 21 – ด่วนมาก ที่ สร 0203/ว 80 ลว. 8 มิ.ย. 21 3 3

37 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณีผลงาน เพื่อให้ได้ทราบถึงศักยภาพของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ** งานก่อสร้าง ** กำหนดได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการ นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่วนมาก นร 0202/ว 1 ลว. 3 ม.ค. 37 ต้องเป็นผลงานในสัญญาเดียวเท่านั้น นร (กวพ) 1204/ว ลว. 28 พ.ย. 39 1 4 1 5 4 5

38 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** 6.2 กรณีผลงาน งานก่อสร้าง (ต่อ) ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง คือ ผลงานที่ใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน เป็นผลงานที่ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตามสัญญา ที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจาก การรับจ้างช่วง (แนววินิจฉัยของ กวพ.)

39 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
** ผลงาน กรณีกิจการร่วมค้า นร (กวพ) 1305/ว 2457 ลว. 16 มี.ค.43 6 จดทะเบียน คุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไข คุณสมบัติด้านผลงานก่อสร้าง ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าได้ ไม่จดทะเบียน คุณสมบัติทุกรายต้องครบถ้วนตามเงื่อนไข ข้อยกเว้น ตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ใครเป็นผู้รับชอบหลักในการเข้าเสนอราคาและแสดงหลักฐานพร้อมซองข้อเสนอราคา / ของข้อเสนอทางเทคนิค ใช้ผลงานของผู้เข้าร่วมค้าหลักได้

40 คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** งานซื้อ / จ้าง ทั่วไป *** ไม่มีหลักเกณฑ์เรื่องการกำหนดผลงาน แต่หากจำเป็นต้องกำหนด ก็เป็นดุลยพินิจ ของส่วนราชการที่จะอนุโลมนำหลักเกณฑ์ ของงานก่อสร้างมาใช้ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.) กรณีทุนจดทะเบียน กำหนดไม่ได้ (แนววินิจฉัยของ กวพ.)

41 (สรุป)วิธีกำหนดคุณสมบัติของผู้เข้าเสนอราคา/เสนองาน
จะได้เฉพาะตามตัวอย่างเอกสารตามที่ คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.)กำหนดไว้เท่านั้น ดังนี้ เป็นผู้มีอาชีพรับจ้างงานที่ประกาศเชิญชวน ไม่เป็นผู้ถูกระบุชื่อเป็นผู้ทิ้งงานของทางราชการ ไม่เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน ไม่เป็นผู้กระทำการขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็นธรรม ณ วันประกาศ ไม่เป็นผู้ได้รับเอกสิทธิ์ความคุ้มกัน ที่ปฏิเสธไม่ยอมขึ้นศาลไทย เว้นแต่ สละสิทธิ์ ต้องผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้น ต้องเป็นนิติบุคคล(กรณีงานก่อสร้าง ๑ ล้านบาทขึ้นไป) ปปช.ให้กำหนดคุณสมบัติเพิ่มว่าต้องเป็นผู้แสดงบ/ช รับ-จ่าย/ ต้องลงทะเบียน ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลางที่เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลจัดซื้อจัดจ้าง/ ต้องรับ-จ่ายเงินผ่านบัญชีเงินฝากธนาคาร เว้นแต่ การรับจ่าย แต่ละครั้ง ซึ่งมีมูลค่า ไม่เกินสามหมื่นบาท คู่สัญญาอาจรับจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ 41

42 การจัดทำรายงาน ขอจ้าง ขอซื้อ

43 การจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ...จัดทำเมื่อใด ?
หลักการ ** ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ขอซื้อหรือขอจ้าง** เว้นแต่ การจัดหาโดยวิธี e-Auction ให้ดำเนินการภายหลังจากขั้นตอน การจัดทำและวิจารณ์ TOR เสร็จสิ้นแล้ว โดยจัดทำในระบบ e-GP

44 ข้อยกเว้น การจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง
** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท และ วิธีพิเศษกรณีเร่งด่วนตาม 23 (2) หรือ 24 (3) ซึ่งไม่อาจทำรายงานตามปกติได้ จะทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้างเฉพาะรายการที่เห็นว่าจำเป็นก็ได้ ** การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคาในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ตามข้อ 39 วรรคสอง ไม่ต้องรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง แต่ต้องทำรายงานขอความเห็นชอบ

45 ผู้มีหน้าที่ จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง
ระเบียบพัสดุฯ ข้อ 27 เจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นผู้มีหน้าที่จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ... การจัดทำ หมายความถึง การรวบรวมรายละเอียดให้อยู่ในรูปรายงานฯ รายการบางอย่างอาจมาจากแหล่งอื่น เช่น Spec.

46 ข้อควรรู้ ในส่วนของงานก่อสร้าง เมื่อคณะกรรมการคัดเลือกได้รายต่ำสุดแล้ว
ก่อนเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งจ้าง คณะกรรมการฯจะต้องดำเนินการ ประเมินเปรียบเทียบราคาที่เสนอ ในใบแจ้งปริมาณวัสดุและราคา( BOQ)กับราคากลางของทางราชการ ว่าเหมาะสม หรือไม่ อีกครั้งหนึ่ง 46

47 ข้อควรรู้เกี่ยวกับ e-Auction

48 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม แจ้งตามนัยหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506/ว 182 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2552 เป็นมติที่ใช้ในการผ่อนผันการปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึงวันที่ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ ฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติมมีผลใช้บังคับ

49 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
1. การจัดหาพัสดุ สำหรับส่วนราชการ ในวงเงิน 2-5 ล้านบาท สำหรับรัฐวิสาหกิจ ในวงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท กรณีที่มีเหตุผลความจำเป็นหรือมีปัญหาอุปสรรค ทำให้ไม่สามารถดำเนินการโดยวิธี Auction ได้ ให้หัวหน้าหน่วยงานใช้ ดุลยพินิจดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุฯ ปี 35 หรือระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการพัสดุของรัฐวิสาหกิจนั้นๆ หรือระเบียบอื่นของหน่วยงานนั้นๆ ได้ ทั้งนี้ ต้องชี้แจงเหตุผล ความจำเป็น หรือปัญหาและอุปสรรคดังกล่าว ไว้ในรายงานขอซื้อหรือขอจ้างด้วย

50 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
2. การแต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขตของงานและร่างเอกสารประกวดราคา การจัดหาพัสดุในวงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท สำหรับงานก่อสร้างในโครงการที่มีแบบและข้อกำหนดในการก่อสร้างที่เป็นมาตรฐานไว้แล้ว ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าหน่วยงานที่จะจัดหาพัสดุ ว่าจะแต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขตของงานและร่างเอกสารประกวดราคาหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องนำร่างขอบเขตของงานและร่างเอกสารประกวดราคาดังกล่าวเผยแพร่ทาง Website ของหน่วยงานและของกรมบัญชีกลางเพื่อให้สาธารณชนเสนอแนะหรือวิจารณ์

51 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
3. การแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคา การคัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลาง และการกำหนดวัน เวลา สถานที่เสนอราคา ให้เป็นอำนาจของหัวหน้าหน่วยงานในการแต่งตั้งคณะกรรมการฯ รวมทั้งคัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลาง และกำหนดวัน เวลา สถานที่เสนอราคา

52 4. การแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาฯ
ระเบียบฯ (เดิม) 1. ประธานกรรมการ: บุคลากรในหน่วยงาน 2. กรรมการ (3 – 5 คน): (มีบุคคลภายนอกอย่างน้อย 1 คน) 3. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ: กรรมการและเลขานุการ 4. เจ้าหน้าที่พัสดุ: ผู้ช่วยเลขานุการ (ว 182) ผ่อนผัน ดังนี้ ไม่เกินวงเงิน 10 ล้านบาท 1. ให้มีคณะกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 7 คน 2. จะมีบุคคลภายนอก หรือไม่ก็ได้ 3. ให้มีบุคลากรของหน่วยงานเป็น กรรมการ และเลขานุการ วงเงินเกิน 10 ล้าน ขึ้นไป 1.คณะกรรมการไม่น้อยกว่า 5 แต่ไม่เกิน 7 2.ต้องมีบุคคลภายนอกอย่างน้อย 1 คน 3.ให้เจ้าหน้าที่พัสดุหรือที่เรียกชื่ออย่างอื่น ในหน่วยงานนั้น เป็นกรรมการ และเลขานุการ จะแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่/ก็ได้

53 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
5. การดำเนินการคัดเลือกเบื้องต้นเพื่อหาผู้มีสิทธิเสนอราคา กรณีที่มีผู้มีสิทธิเสนอราคารายเดียว หรือเมื่อถึงเวลาเริ่มการเสนอราคามีผู้เข้ามาเสนอราคาเพียงรายเดียว โดยปกติให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานให้ยกเลิก แต่ถ้าคณะกรรมการฯ เห็นว่ามีเหตุผลสมควรที่จะดำเนินการต่อไปโดยไม่ต้องยกเลิกการประกวดราคา ให้คณะกรรมการฯ ต่อรองราคากับผู้มีสิทธิเสนอราคา รายนั้น แล้วเสนอหัวหน้าหน่วยงานพิจารณา

54 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
6. กรณีการจัดหาพัสดุในวงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท ถ้าได้มีการประกวดราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ไป แล้ว แต่:- 1. ไม่มีผู้เข้าเสนอราคา 2. มีผู้มีสิทธิเสนอราคารายเดียว 3. มีผู้มีสิทธิเสนอราคาหลายราย แต่มาเสนอราคาเพียงรายเดียว และคณะกรรมการประกวดราคา ต่อรองราคารายนั้นแล้วไม่ได้ผล ให้จัดหาโดยวิธีอื่นได้โดยไม่ต้องขอผ่อนผัน กวพ.อ. อีก ปัจจุบันเมื่อได้ดำเนินการ e-Auction แล้ว ไม่ได้ผลหากประสงค์จะจัดหาโดยวิธีอื่น ต้องขอผ่อนผันต่อ กวพ.อ. เท่านั้น ตามหนังสือ ที่ กค (กวพ) /ว 79

55 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
7. แนวทางการนำสาระสำคัญที่สามารถเผยแพร่ได้ของร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคาลงประกาศฯ  ในกรณีที่ไม่มีข้อเสนอแนะ หรือคำวิจารณ์ใด ๆ หน่วยงานไม่ต้องนำร่าง TOR และ ร่างเอกสารประกวดราคา ลงประกาศทางเว็บไซต์ฯ อีก  ในกรณีที่มีข้อเสนอแนะความเห็นหรือคำวิจารณ์ ก็ให้คณะกรรมการร่าง TOR และ ร่างเอกสารประกวดราคา พิจารณาว่า สมควรปรับปรุงหรือไม่ แล้วนำเสนอหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อขอความเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง จะต้องนำประกาศทางเว็บไซต์ (ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง) อีกครั้งหนึ่ง ไม่น้อยกว่า 3 วัน

56 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
8. ตามระเบียบฯ ข้อ 9(4) กรณีที่ปรากฏว่ามีผู้มีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดียว ให้หน่วยงานที่จะจัดหาพัสดุยกเลิก การดำเนินการทั้งหมด แล้วเริ่มดำเนินการใหม่ ในการดำเนินการจัดหาใหม่ดังกล่าว หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อคณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ ก็ให้คณะกรรมการฯ ดังกล่าว ดำเนินการต่อไปได้ โดยไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ใหม่ แต่ทั้งนี้ร่างขอบเขตของงานและร่างเอกสารประกวดราคาต้องไม่มีการเปลี่ยนแปลง 56

57 มาตรการในการผ่อนผัน ตาม ว 182
9. กรณีการดำเนินการจัดหาพัสดุเพิ่มเติมหรือจัดหาใหม่ โดยขอบเขตของงานและเอกสารประกวดราคาเหมือนเดิม และเป็นการจัดหาไม่เกินวงเงินงบประมาณที่เคยจัดหาในรอบปีที่ผ่านมา (นับจากวันที่นำสาระสำคัญของร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารประกวดราคาประกาศในเว็บไซต์ครั้งสุดท้าย) ให้หน่วยงานดำเนินงานต่อไปโดยไม่ต้องดำเนินการนำร่าง TOR ลง Website ให้สาธารณชนวิจารณ์อีก 57

58 ให้จัดทำประกาศและเอกสารประกวดราคา (ตามแบบตัวอย่างที่ กวพ.อ.กำหนด)
ข้อควรรู้ ระเบียบปี 49 ให้จัดทำประกาศและเอกสารประกวดราคา (ตามแบบตัวอย่างที่ กวพ.อ.กำหนด) หนังสือแจ้งเวียนใหม่ ของ กวพ.อ. ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพอ) ๐๔๒๑.๓/ว ๓๙๘ ลว.๒๘ ต.ค.๒๕๕๖ กำหนด *กำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคาตามที่ปปช.กำหนด *กำหนดหลักเกณฑ์การเสนอลดราคาขั้นต่ำ Minimum Bid *กำหนดให้นำรายละเอียดการคำนวณราคากลางตาม BOQ ไว้ในตย.เอกสารประกวดราคา *กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำและแสดงบัญชีรายการรับ – จ่ายของโครงการที่บุคคลหรือนิติบิคคลเป็นคู่สัญญาหน่วยงานของรัฐฯ

59 ให้จัดทำประกาศและเอกสารประกวดราคา (ตามแบบตัวอย่างที่ กวพ.กำหนด)
ข้อควรรู้ ระเบียบปี 35 ให้จัดทำประกาศและเอกสารประกวดราคา (ตามแบบตัวอย่างที่ กวพ.กำหนด) หนังสือแจ้งเวียนใหม่ ของ กวพ ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) ๐๔๒๑.๓/ว ๔๗๐ ลว.๒๗ ธ.ค. ๒๕๕๖ กำหนด *กำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคาตามที่ปปช.กำหนด *กำหนดให้นำรายละเอียดการคำนวณราคากลางตาม BOQ ไว้ในตย.เอกสารประกวดราคา *กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำและแสดงบัญชีรายการรับ – จ่ายของโครงการที่บุคคลหรือนิติบิคคลเป็นคู่สัญญาหน่วยงานของรัฐฯ

60 การบริหารสัญญา

61 การบริหารสัญญา รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป (ข้อ 132)
1.1 ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดรูป (ข้อ 133) ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) 2.1 ตกลงราคา ส่งของภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูป (ข้อ 133 วรรคท้าย) 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ ส่ง สนง.อัยการสูงสุดพิจารณา

62 แนวปฏิบัติที่ถูกต้องในการออกหนังสือค้ำประกันธนาคาร
แนวปฏิบัติที่ถูกต้องในการออกหนังสือค้ำประกันธนาคาร (เพื่อใช้เป็นหลักประกันสัญญา) หนังสือเวียนสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร(กวพ) ๑๓๐๕/ว ๓๖๕๙ ลว. ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๑ กำหนดวิธีปฏิบัติไว้ดังนี้ (๑.) ส่วนราชการต้องจัดพิมพ์ร่างสัญญาให้สมบูรณ์ (๒.) กำหนดวันทำสัญญาซื้อขาย หรือสัญญาจ้าง (๓.) นัดหมายผู้ขาย/ผู้รับจ้างล่วงหน้าว่าจะทำสัญญา ในวันใด (๔.) กำหนดเลขที่สัญญา เพื่อให้ผู้ขาย/ผู้รับจ้างนำร่างสัญญาไปออกหนังสือค้ำประกันของธนาคาร เพื่อให้ธนาคารผู้ออกหนังสือค้ำประกัน กรอกข้อความ ในหนังสือค้ำประกันได้อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน 62

63 ใคร ? เป็นผู้มีหน้าที่บริหารสัญญา
ใคร ? เป็นผู้มีหน้าที่บริหารสัญญา คำวินิจฉัยกวพ.ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๒๘๕๑๔ลว.๑๒ ต.ค.๔๘ เจ้าหน้าที่พัสดุ/คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง โดยปกติ ต้องมีหน้าที่บริหารสัญญา กล่าวคือ เมื่อสัญญา ครบกำหนด จะต้องแจ้งให้ผู้ขายหรือรับจ้างส่งมอบงาน ตามสัญญา เจ้าหน้าที่ดังกล่าว จะต้องเสนอหัวหน้าส่วน ราชการให้มี หนังสือแจ้งเตือน แจ้งปรับ แล้วแต่กรณี “””หากมิได้ดำเนินการ จะถือว่าละเลยไม่ดำเนินการตามหน้าที่

64 การกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญา (ข้อ134)
กรณีซื้อ /จ้าง  ไม่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01 – ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบ กรณีงานจ้างก่อสร้าง  ที่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็นจำนวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 – 0.10 ของราคางานจ้าง แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100 บาท  การจ้างที่ปรึกษา ปรับรายวันในอัตรา/จำนวนตายตัว ร้อยละ 0.01 – 0.10

65 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (ข้อ136)
หลัก ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อยกเว้น กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ

66 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (ข้อ136) (ต่อ)
อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา หัวหน้าส่วนราชการ *** หลักการแก้ไขสัญญาฯ *** การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถจะพิจารณา ดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะ ล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้า จะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการ ตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง ไว้ใช้

67 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ 139)
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ 139) กวพ. ซ้อมความเข้าใจแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบฯ ข้อ ตามหนังสือ ที่ กค (กวพ) /ว 268 ว. 16 ก.ค. 2555 การพิจารณางดหรือลดค่าปรับให้แก่คู่สัญญาด้วยเหตุตามระเบียบฯ ข้อ 139 เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของส่วนราชการ (2) เหตุสุดวิสัย (3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญา ซึ่งเหตุดังกล่าวมีผลกระทบโดยตรงที่ทำให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ไม่สามารถส่งมอบสิ่งของหรืองานจ้างตามสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจ้าง แล้วแต่กรณี ให้อยู่ในอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการที่จะพิจารณาได้ ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง

68 วิธีปฏิบัติก่อนการคืนหลักประกันสัญญา
หนังสือแจ้งเวียนของสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๐๐๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๒ ๑.ให้หัวหน้าหน่วยงาน ผู้ครอบครองพัสดุ หรือผู้ได้รับมอบหมาย ให้ดูแลบำรุงรักษา มีหน้าที่ตรวจสอบความชำรุดบกพร่อง ๒. กรณีไม่มีผู้รับผิดชอบตามข้อ ๑. ให้หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ เป็นผู้ดูแล บำรุงรักษา และตรวจสอบความ ชำรุดบกพร่อง

69 วิธีปฏิบัติก่อนการคืนหลักประกันสัญญา (ต่อ)
หนังสือแจ้งเวียนของสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๐๐๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๒ ๓. กรณีพบความชำรุดบกพร่อง ในระหว่างเวลาประกันตามสัญญา ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบตามข้อ ๑. รีบรายงานหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายหรือ ผู้รับจ้างแก้ไข/ซ่อมแซมทันที และแจ้งผู้ค้ำประกัน (ถ้ามี) ทราบด้วย

70 วิธีปฏิบัติก่อนการคืนหลักประกันสัญญา (ต่อ)
หนังสือแจ้งเวียนของสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๐๐๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๒ ๔. ก่อนสิ้นสุดเวลาประกันความชำรุดบกพร่อง ภายใน ๑๕ วัน กรณีประกันไม่เกิน ๖ เดือน ภายใน ๓๐ วัน กรณีประกันเกิน ๖ เดือนขึ้นไป ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุและ ให้รายงานหส.ราชการทราบ อีกครั้งหนึ่ง หากตรวจพบให้หัวหน้าส่วนราชการรีบแจ้งให้แก้ไขก่อนสิ้นสุดเวลาประกันและแจ้งผู้ค้ำประกัน(ถ้ามี) ทั้งนี้ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ แจ้งกำหนดเวลาประกันความชำรุดบกพร่องตามสัญญาให้หัวหน้าหน่วยงานหรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทราบพร้อมกับ การส่งมอบพัสดุทุกครั้ง

71 การบอกเลิก/ตกลงกันเลิกสัญญาหรือข้อตกลง
หลักการ (ข้อ ๑๓๗) เป็นดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ ๑.) การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาจ้าง เมื่อผิดสัญญา มีเหตุเชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานได้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ๒.) การตกลงบอกเลิกสัญญา/ ข้อตกลง ให้ทำได้แต่เฉพาะ ที่เป็นประโยชน์แก่ทางราชการโดยตรงหรือ เพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบของทางราชการ (หากจะต้องปฏิบัติตามสัญญา/ข้อตกลงต่อไป)

72 การตรวจรับพัสดุ และการควบคุมงานก่อสร้าง ตามระเบียบฯ ข้อ ๗๑ ข้อ ๗๒ ข้อ ๗๓

73 ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้างก่อสร้าง
นร (กวพ) 1002/ว 9 ลว. 4 เม.ย. 33 ให้ หน.ส่วนราชการหรือผู้มีอำนาจแต่งตั้ง กำหนดระยะเวลา ปฏิบัติงานทุกครั้ง/ให้ คกก.ตรวจรับ / ตรวจการจ้าง รายงานผล ภายในกำหนด + ถ้าล่าช้า ให้ขอขยายเวลา นร 1305/ว 5855 ลว. 11 ก.ค สร 1001/ว 35 ลว. 30 ธ.ค. 25 ระยะเวลาตรวจรับพัสดุ ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ วันที่ส่งมอบ ตรวจให้เสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด แต่อย่างช้าไม่เกิน5 วันทำการ (ไม่รวมเวลาที่ใช้ทดลอง) ระยะเวลาตรวจการจ้าง ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ ตารางถัดไป

74 กำหนดระยะเวลาในการตรวจรับ/ตรวจการจ้าง
ราคาค่างาน ทุกราคาค่างาน ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง งวดงาน งวดสุดท้าย 3 วัน 5 วัน งานจ้างก่อสร้างแบบราคาเหมารวม (Lump Sum) วันทำการ ไม่เกิน 30 ล้านบาท ไม่เกิน 60 ล้านบาท ไม่เกิน 100 ล้านบาท เกิน 100 ล้านบาทขึ้นไป ราคาค่างาน งานจ้างก่อสร้างแบบราคาต่อหน่วย (Unit Cost) ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงวด ครั้งสุดท้าย 8 วัน 12 วัน 16 วัน 20 วัน 4 วัน 3 วัน 5 วัน วันทำการ ** ทำไม่เสร็จภายในกำหนด ให้รายงาน หน.ส่วนราชการ + สำเนาแจ้งคู่สัญญาทราบ **

75 วิธีการตรวจรับพัสดุ (ข้อ ๗๑)
กำหนดหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุไว้ดังนี้ ๑. ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน ตามสัญญา /ข้อตกลง ๒. กรณีจำเป็น ไม่อาจตรวจนับเป็นจำนวนหน่วยได้ทั้งหมด ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ ๓. เมื่อตรวจแล้วเห็นว่าถูกต้อง ให้ทำหลักฐานการตรวจรับพัสดุไว้อย่างน้อย2 ฉบับ (ให้ผู้ขาย1ฉบับ, ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ 1ฉบับ เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน ) ให้ถือว่าผู้ขาย,ผู้รับจ้าง ส่งมอบครบถูกต้องตั้งแต่วันที่นำพัสดุมาส่ง มอบของให้เจ้าหน้าที่พัสดุ >> รายงานผลให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ

76 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
ไม่ถูกต้องในรายละเอียด *ให้รายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบเพื่อสั่งการทันที กรณีส่งมอบไม่ถูกต้องตามสัญญา กรณีถูกต้องแต่ไม่ครบจำนวน/ หรือครบแต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด *แจ้งผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง ทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันตรวจพบ หากจะให้รับเฉพาะที่ถูกต้อง รีบรายงาน หส.ราชการพิจารณา แก้ไขสัญญาก่อน แล้วจึงตรวจรับส่วนที่ถูกต้อง > >สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่ส่งไม่ถูกต้อง)

77 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)
กรณีพัสดุเป็นชุด / หน่วย ให้ดูว่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งจะใช้การ ไม่ได้อย่างสมบูรณ์ * ถือว่ายังไม่ได้ส่งมอบ รีบรายงาน หส.ราชการภายใน 3 วันทำการนับแต่ตรวจพบ กรรมการตรวจรับบางคนไม่ยอมรับพัสดุ ให้ทำความเห็นแย้งไว้ > ถ้าหัวหน้าส่วนราชการ สั่งการให้รับพัสดุไว้ * ให้ออกใบตรวจรับให้ผู้ขาย/ผู้รับจ้างและจนท.พัสดุ เป็นหลักฐาน

78 วิธีการตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง แต่ต้องรายงาน หส.ราชการทราบ/สั่งการ
 ระเบียบฯ พัสดุ ข้อ ๗๒ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ตรวจตามรายงานของผู้ควบคุมงาน ดูการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์ รับทราบการสั่งการของผู้ควบคุมงาน กรณีสั่งผู้รับจ้างหยุด/ พักงาน แต่ต้องรายงาน หส.ราชการทราบ/สั่งการ

79 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ) กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่าไม่น่าจะเป็นตามหลักวิชาการ ให้ออกตรวจสถานที่ที่จ้าง ให้มีอำนาจ สั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบ /รายการ / ข้อตกลง ตรวจผลงานที่ส่งมอบ ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันประธานกรรรมการ รับทราบการส่งมอบงาน ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด

80 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ) กรณีตรวจถูกต้อง ทำใบรับรองผลงาน ทั้งหมด / เฉพาะงวด มอบให้ผู้รับจ้าง , จนท.พัสดุ รายงาน หส.ราชการ ผู้ว่าจ้างทราบ กรณีตรวจพบว่าไม่ถูกต้อง ทั้งหมด / เฉพาะงวดใด ให้รายงาน หส.ราชการทราบ ผ่าน จนท.พัสดุเพื่อสั่งการ ถ้า หส.ราชการสั่งให้รับไว้ ให้ทำใบรับรองผลงานได้ หากมติกรรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน ให้ทำความเห็นแย้งไว้

81 ผู้ควบคุมงาน มีหน้าที่ควบคุมงานอย่างไร?ระเบียบฯ ข้อ ๗๓
1 ตรวจให้เป็นไปตามแบบรูป /รายการละเอียด และข้อตกลงในสัญญาทุกวัน 2 มีอำนาจ สั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ตามสมควรและตามหลักวิชาช่าง เพื่อให้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดในสัญญา

82 ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตาม
3 ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตาม ให้สั่งหยุดงานนั้นเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือ / ทั้งหมดไว้ก่อน จนกว่าผู้รับจ้างจะยอม ปฏิบัติให้ถูกต้องตามคำสั่ง และรีบรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทันที กรณีเห็นว่าแบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกำหนดสัญญา มีข้อความขัดกัน หรือคาดหมายได้ว่า แม้ว่างานนั้นจะเป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกำหนดสัญญา แต่เมื่อสำเร็จแล้วก็จะไม่มั่นคง แข็งแรง /ไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือ ไม่ปลอดภัย ให้สามารถ สั่งพักงานไว้ก่อน แล้วรายงาน คกก. ตรวจการจ้างโดยเร็ว 4 82

83 จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างเป็นรายวัน
5 จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างเป็นรายวัน ไว้อย่างน้อย ๒ ฉบับ ดังนี้ สภาพการปฏิบัติงาน / เหตุการณ์แวดล้อม/ ผลการ ปฏิบัติงาน /การหยุดงาน/ สาเหตุที่มีการหยุดงาน เพื่อรายงานให้ คกก. ตรวจการจ้างทราบ ทุกสัปดาห์ ให้เก็บรักษารายงานไว้ เพื่อมอบให้แก่ จนท.พัสดุ เมื่อเสร็จงานแต่ละงวด โดยถือเป็นเอกสารสำคัญ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ ของผู้มีหน้าที่ ทั้งนี้ การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ให้ระบุรายละเอียด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และวัสดุที่ใช้ด้วย

84 การลงบัญชี/ทะเบียน ควบคุมพัสดุ (ข้อ ๑๕๑)
พัสดุไม่ว่าจะได้มาด้วยวิธีใดๆ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุลงบัญชี/ลงทะเบียนควบคุม ตามตัวอย่างกวพ. อะไรเป็นวัสดุ /ครุภัณฑ์ ให้ดูหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตามหนังสือเวียนสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ ลว. ๑๘ ม.ค.๒๕๕๓ วิธีลงทะเบียน(ด่วนที่สุดที่ กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/ว๑๒๙ ลว.๒๐ต.ค๔๙) ๑) วัสดุ- ลงบัญชีวัสดุตามแบบที่ กวพ. กำหนดไว้เดิม ๒) วัสดุ ที่มีอายุการใช้งานเกินกว่า ๑ ปี ซึ่งมีราคาต่อหน่วย หรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท และครุภัณฑ์ ให้ลงทะเบียนควบคุมทรัพย์สินตามแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนดไว้ แต่วัสดุที่มีอายุใช้งานนานที่ไม่ถึง ๕ พันบาท ไม่ต้องคิดค่าเสื่อมราคา ตามนส.ด่วนที่สุด ที่ กค๐๕๒๘.๒/ว ๓๓๕๔๕ ลว.๑๖ พ.ย. ๒๕๔๙

85 “ การตรวจสอบพัสดุประจำปี” (ข้อ ๑๕๕) ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส
“ การตรวจสอบพัสดุประจำปี” (ข้อ ๑๕๕) ก่อนสิ้นเดือนกันยายนของทุกปี ให้หส.ราชการ /หรือ หน.งาน ตามข้อ ๑๕๓ แต่งตั้งผู้ตรวจสอบพัสดุทำหน้าที่ดังนี้ โดยให้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการ/หน่วยงาน นั้น ซึ่งมิไช่เจ้าหน้าที่พัสดุ คนหนึ่ง/หรือหลายคน ผู้ได้รับแต่งตั้งจะทำการตรวจสอบพัสดุ “งวดตั้งแต่ ๑ ตุลาคมปีก่อน ถึง ๓๐ กันยายนปีปัจจุบัน” โดยให้เริ่มตรวจในวันเปิดทำการแรก ของเดือนตุลาคม ว่า:-  มีพัสดุ ชำรุด เสื่อมคุณภาพ สูญไป เพราะเหตุใด หรือไม่จำเป็นต้องใช้งานต่อไป  ให้ตรวจเสร็จสิ้นภายใน ๓๐ วัน นับแต่แต่งตั้ง แล้วให้รายงานผลการตรวจสอบ ต่อผู้แต่งตั้ง ๑ชุด / สตง. ๑ ชุด

86 สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
Case Study ในการปฏิบัติตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง กำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด THE OFFICE OF PUBLIC PROCUREMENT MANAGEMENT

87 Case Study กรณี : การพิจารณาผู้มีสิทธิยื่นเอกสารประกวดราคา
อ้างอิง หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวพอ) /13244 ลว 27 พ.ค. 51 หน่วยงานแห่งหนึ่งได้ดำเนินการประกาศประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง โดยมีผู้มาขอรับเอกสารจำนวน 4 ราย มีผู้มายื่นเอกสาร 3 ราย หน่วยงานได้จัดส่งประกาศฯ พร้อมร่าง TOR ให้บริษัท A ทางไปรษณีย์ตอบรับ โดยไม่ได้แนบบัญชีเอกสารส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 แบบใบยื่นข้อเสนอการประมูลซื้อด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ และหนังสือแสดงเงื่อนไขการซื้อและการจ้าง เอกสารประกวดราคาของหน่วยงาน ได้มีการสงวนสิทธิ์ไม่พิจารณาราคาของผู้เสนอราคา ในกรณีไม่ปรากฏชื่อผู้เสนอราคารายนั้นในบัญชีผู้รับเอกสารประกวดราคาหรือในหลักฐานการรับเอกสารประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน 87

88 ข้อหารือ เนื่องจากหน่วยงานชี้แจงว่า เป็นการจัดส่งเพื่อการประชาสัมพันธ์เท่านั้น ซึ่งหน่วยงานได้นำวิธีการเผยแพร่ประกาศประกวดราคาตามระเบียบ 35 และที่แก้ไขเพิ่มเติมมาใช้โดยอนุโลม ซึ่งมีเจตนาให้ผู้ประสงค์จะเสนอราคาเข้ามาขอรับเอกสารด้วยตนเอง ณ ที่ทำการของหน่วยงานฯ อีกครั้งหนึ่ง ดังนั้น ”ไปรษณีย์ตอบรับ” กรณีนี้จึงถือไม่ได้ว่าเป็นหลักฐานการรับเอกสารประมูลซื้อด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ บริษัท A จึงไม่มีสิทธิยื่นเอกสารประกวดราคาในครั้งนี้ คำว่า “หรือในหลักฐานการรับเอกสารประมูลซื้อด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ไปรษณีย์ตอบรับ หรือไม่” 88

89 Case Study กรณี : การลงวันที่ในประกาศผิด
อ้างอิง หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวพอ) /26995 ลว 6 ต.ค. 51 โรงพยาบาลในจังหวัดแห่งหนึ่งได้ดำเนินการประกาศประกวดราคาซื้ออาหารสำหรับผู้ป่วยในตามประกาศ ลว 26 พ.ค. 2551 ลงประกาศเผยแพร่ใน website โดยลงเดือนที่ประกาศฯ ผิด จากวันที่ 26 พ.ค. 51 เป็น 26 มิ.ย. 51 ซึ่งในขณะลงบันทึกข้อมูลไม่ได้ตรวจสอบสั่งพิมพ์ แต่เก็บเข้าแฟ้มประมูลเลย ได้ดำเนินการจนได้ผู้เสนอราคาต่ำสุดแล้ว และรายงานผลพร้อมขออนุมัติซื้ออาหารจากหัวหน้าส่วนราชการแล้ว ในวันที่ 26 มิ.ย. 51 มีโทรศัพท์มาสอบถามเรื่องลงวันที่ในประกาศผิด (ประกาศลงวันที่ 26 มิ.ย. 51 แต่ให้รับเอกสารประกวดราคาได้ในวันที่ 29 พ.ค มิ.ย. 51) 89

90 หน่วยงานจึงขอหารือว่า
ถูกร้องเรียนว่า หน่วยงานจึงขอหารือว่า ดำเนินการจนได้ตัวผู้ชนะการประกวดราคา แต่ยังไม่ได้ลงนามในสัญญา แล้วจะยกเลิกได้หรือไม่ ? หากมีการยกเลิกจะถูกร้องเรียนหรือไม่ ? การบันทึกประกาศลงใน website กรมบัญชีกลางสามารถ scan ประกาศที่หัวหน้าส่วนราชการลงนามลง website แล้วได้หรือไม่ ? หากตรวจพบความผิดพลาดก่อนดำเนินการในขั้นตอนอื่นได้ จะมีแนวทางแก้ไขอย่างไร ? หน่วยงานดำเนินการประกวดราคาไม่เป็นไปตามระเบียบ เพราะประกวดราคาและแจกแบบประกวดราคาไปก่อนประกาศ จึงขอให้ยกเลิกการประกวดราคาฯ ในครั้งนี้ 90

91 แนววินิจฉัยในการตอบข้อหารือ
ของ กวพ.อ.  เนื่องจากวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์นั้น ประกาศที่ลงในระบบจะปรากฏตามวัน เดือน ปี ที่หน่วยงานได้กรอกข้อมูล กรณีนี้ถือได้ว่าเป็นการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องและทำให้ผู้ประสงค์จะเสนอราคาที่ต้องการจะเข้าเสนอราคาตามประกาศฯ ดังกล่าว ไม่สามารถเข้าขอรับหรือซื้อเอกสารตลอดจนยื่นเสนอราคาได้ เนื่องจากล่วงเลยเวลาการรับเอกสารแล้ว จึงถือว่าไม่เป็นการเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันราคากันอย่างเป็นธรรมในการเสนอราคา ประกอบกับการเสนอราคาครั้งนี้มีผู้มาขอรับเอกสารและเข้าเสนอราคาเพียงสองราย ถึงแม้จะเป็นการแข่งขันแต่ไม่ถือว่ามากราย จังหวัดฯ จึงควรยกเลิกการประกวดราคาในครั้งนี้ 91

92 ต่อ - แต่เนื่องจากกรณีดังกล่าวเป็นการประกวดราคาซื้ออาหารสำหรับผู้ป่วยใน ของโรงพยาบาล และหากยกเลิกการประกวดราคาในครั้งนี้แล้ว อาจทำให้เกิดปัญหาในการเตรียมอาหารสำหรับผู้ป่วย ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น กรณีนี้จึงเห็นสมควรให้จังหวัดฯ ดำเนินการจัดหาโดยวิธีพิเศษไปก่อนได้ (case by case)  เนื่องจากคำสั่งยกเลิกการประกวดราคาเป็นคำสั่งทางปกครองตามนัยกฎกระทรวง ฉบับที่ 12(พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ ลงวันที่ 31 ก.ค ข้อ 1(3) ดังนั้นหากจังหวัดฯ ยกเลิกการประกวดราคาในครั้งนี้ ผู้เสนอราคาย่อมมีสิทธิที่จะอุทธรณ์คำสั่งการยกเลิกประกวดราคาดังกล่าวได้ตามนัยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 92

93 กรณีตามข้อหารือข้อ  และ  กรมบัญชีกลางไม่สามารถ scan ประกาศที่หัวหน้าส่วนราชการลงนามลงใน website ได้ หากมีการลงข้อมูลผิดพลาดและตรวจสอบพบก่อนดำเนินการขั้นตอนอื่น หน่วยงานต้องลบประกาศเดิมที่ลงข้อมูลผิดออกจากระบบทั้งหมดก่อน แล้วจึงกรอกข้อมูลใหม่ลงในประกาศอีกครั้ง 93

94 Case Study กรณี : การยึดหลักประกันซอง
อ้างอิง หนังสือ ที่ กค (กวพอ) / ลว 9 ก.ย. 51 มหาวิทยาลัยในจังหวัดแห่งหนึ่งประกาศประมูลการจ้างปรับปรุงห้องสมุด ตามประกาศ ลว 31 ม.ค. 2551 มีผู้ที่มีสิทธิเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา จำนวน 17 ราย หลังสิ้นสุดเวลารับลงทะเบียนแล้ว ตรวจสอบพบว่ามีผู้ไม่มาทำการลงทะเบียน จำนวน 2 ราย ทั้ง 2 ราย ได้ทำหนังสือเพื่อขอคืนหลักประกันซอง 94

95 มหาวิทยาลัยฯ สามารถยึดหลักประกันซองได้หรือไม่ เพราะเงื่อนไขการยึดหลักประกันซองไม่มีในประกาศฯ ไม่มีในสัญญา 3 ฝ่าย แต่มีในแบบ บก.005 ยึดได้ หรือ ไม่ได้ เพราะเหตุใด ขอทราบแนวปฏิบัติ หลังจากทราบว่า ยึดได้ หรือ ไม่ได้ ว่าควรปฏิบัติอย่างไร ข้อหารือ 95

96 แนววินิจฉัยในการตอบข้อหารือของ กวพ.อ.
กวพ.อ. ได้ซ้อมความเข้าใจและผ่อนผันการปฏิบัติตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ ก.ค /ว 302 ลว. 21 ก.ค ข้อ 2.3 กำหนดว่า การยึดหลักประกันซองของผู้มีสิทธิเสนอราคาให้ดำเนินการในกรณีดังต่อไปนี้ ไม่ส่งผู้แทนมาลงทะเบียนเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา ตาม วัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด มาลงทะเบียนแล้ว ไม่ LOG IN เข้าสู่ระบบ เสนอราคา LOG IN แล้ว แต่ไม่มีการเสนอราคา หรือเสนอราคาผิดเงื่อนไขที่กำหนดโดยการเสนอราคาสูงกว่า หรือเท่ากับราคาเริ่มต้นการประมูล ไม่ลงลายมือชื่อในแบบ บก.008 แบบยืนยันราคาสุดท้ายในการเสนอราคา * ทั้งนี้ ให้กำหนดเงื่อนไขลงในเอกสารประกวดราคาฯ และหนังสือเงื่อนไขสัญญา 3 ฝ่าย ให้ชัดเจน 96

97 แนววินิจฉัยในการตอบข้อหารือของ กวพ.อ.
เนื่องจากมหาวิทยาลัยฯ ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขการยึดหลักประกันซองไว้ในเอกสารประกวดราคาฯ และในสัญญา 3 ฝ่าย ซึ่งการไม่ปฏิบัติตามหนังสือเวียนดังกล่าว ถือว่าไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ พ.ศ.2549 และเมื่อมิได้กำหนดเงื่อนไขการยึดหลักประกันซองไว้ในเอกสารประกวดราคาฯ และสัญญา 3 ฝ่าย เพื่อให้ผู้เสนอราคาทราบและตกลงยอมรับเงื่อนไขในการยึดหลักประกันซอง มหาวิทยาลัยฯ จึงไม่อาจยึดหลักประกันซองผู้เสนอราคาที่มาไม่ทันการลงทะเบียนทั้ง 2 รายได้ 97

98 แนววินิจฉัยในการตอบข้อหารือของ กวพ.อ.
 แม้ตามแบบแจ้งวัน เวลา และสถานที่เสนอราคาเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา (แบบ บก. 005) จะมีหมายเหตุ แจ้งให้ทราบว่าจะต้องมาให้ทันการลงทะเบียนมิฉะนั้นจะถูกยึดหลักประกันซอง แต่การเป็นเหตุให้ยึดหลักประกันซองกรณีผู้เสนอราคาไม่มาลงทะเบียนได้นั้น ส่วนราชการต้องปฏิบัติตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ ก.ค /ว 302 ลงวันที่ 21 ก.ค. 2549 เมื่อมหาวิทยาลัยฯ มิได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวจึงไม่อาจยึดหลักประกันซองได้ มหาวิทยาลัยฯ จึงต้องคืนหลักประกันซองให้แก่ ผู้เสนอราคาทั้ง 2 ราย 98

99 Case Study กรณี : การเรียกผู้เสนอราคารายต่ำถัดไปเข้าทำสัญญา
อ้างอิง การประชุม กวพ.อ. ครั้งที่ 1/2552 วันที่ 25 ส.ค. 52 กรณีผู้เสนอราคารายต่ำสุดขาดคุณสมบัติในการเข้าเสนอราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ อาทิเช่น ผู้เสนอราคาได้ยื่นเอกสารปลอม หรือเสนอรายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุไม่เป็นไปตามที่ทางราชการกำหนด เป็นต้น หากมีกรณีดังกล่าวเกิดขึ้น ควรจะยกเลิกการประกวดราคาในครั้งนั้น หรือสามารถที่จะเรียกผู้เสนอราคารายต่ำถัดไปเข้ามาพิจารณาราคาเพื่อเป็นคู่สัญญาได้

100 แนววินิจฉัยของ กวพ.อ. กรณีผู้เสนอราคารายต่ำสุด เสนอรายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุไม่เป็นไปตามที่ทางราชการกำหนด หากผู้เสนอราคารายที่เสนอราคาผิดเงื่อนไขแต่ยังได้เข้าสู่กระบวนการเสนอราคาอันเนื่องมาจากความบกพร่องของส่วนราชการ ซึ่งเมื่อปรากฎในภายหลังว่าผู้ที่เสนอราคาผิดเงื่อนไขนั้นเป็นผู้เสนอราคารายต่ำสุด ก็ควรจะส่งผลเพียงว่าผู้เสนอราคารายนั้นเป็นผู้ที่ไม่มีสิทธิในการเข้าเสนอราคามาตั้งแต่ต้น กรณีจึงไม่สมควรที่จะส่งผลกระทบถึงผู้เสนอราคารายอื่นซึ่งมีคุณสมบัติถูกต้องครบถ้วน และทำให้กระบวนการที่ได้ดำเนินการมาแล้วทั้งหมดต้องเสียไป เนื่องจากมีการประกวดราคาในแต่ละครั้งมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น หากดำเนินการยกเลิกอาจทำให้ส่วนราชการเสียหายมากกว่า จึงเห็นควรเรียกให้ผู้เสนอราคารายต่ำถัดไปเข้าพิจารณาเพื่อเป็นคู่สัญญาต่อไปได้

101 แนววินิจฉัยของ กวพ.อ. กรณีผู้เสนอราคายื่นเอกสารปลอม
แม้ว่าการยื่นเอกสารอันเป็นเท็จในการเสนอราคา ถือเป็นการเสนอราคาผิดเงื่อนไข และถือได้ว่าผู้เสนอราคามีเจตนาทุจริตที่จะทำการขัดขวางการแข่งขันราคากันอย่างเป็นธรรม อันส่งผลให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบต่อผู้เสนอราคารายอื่น และทำให้ราชการเกิดความเสียหาย แต่อย่างไรก็ดี การกระทำผิดดังกล่าวเป็นเรื่องเฉพาะตัวของผู้เสนอราคาที่นำเอกสารปลอมมายื่น โดยที่ผู้เสนอราคารายอื่นมิได้มีส่วนรู้เห็นในการกระทำดังกล่าว ซึ่งหาก คกก. ยังไม่ได้พิจารณารับราคาของผู้เสนอราคารายต่ำสุดที่ปลอมเอกสาร กรณีนี้ส่วนราชการย่อมเรียกผู้เสนอราคารายต่ำถัดไปและมีคุณสมบัติครบถ้วน เพื่อพิจารณาเข้าทำสัญญาต่อไปได้

102 ความรับผิดละเมิด กรณี : ประมาณการราคากลางงานก่อสร้างสูงเกินความเป็นจริง การให้ถ้อยคำ 2. กรรมการคนที่ 2 ให้ถ้อยคำว่า ไม่มีความรู้เกี่ยวกับการคำนวณฯ จึงมอบหมายให้กรรมการที่เป็นหัวหน้าส่วนโยธา เป็นผู้คำนวณราคา และตนยินยอมที่จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามหลักเกณฑ์ของทางราชการ 3. นาย....หัวหน้าส่วนโยธา ชี้แจงว่า ได้คำนวณฯ ราคากลางตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด และยินยอดที่จะชดใช้ค่าเสียหาย 4. นาง.....ในฐานะหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ไม่มีความรู้เรื่องหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลาง แต่เป็นผู้เสนอราคากลางให้หัวหน้าส่วนฯ ตามที่เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอมา 5. นาง....ในฐานะเจ้าหน้าที่พัสดุ เมื่อได้รับเอกสารการคำนวณราคากลางฯ จากคณะกรรมการกำหนดราคากลางได้เสนอผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เพื่อให้หัวหน้าส่วนราชการรับทราบและอนุมัติให้ประกาศ

103 ความรับผิดละเมิด คำพิพากษา
กรณี : ประมาณการราคากลางงานก่อสร้างสูงเกินความเป็นจริง คำพิพากษา คณะกรรมการกำหนดราคากลาง กระทำการด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต้องรับผิดชดใช้ในอัตราร้อยละ 75 หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ และเจ้าหน้าที่พัสดุ พฤติการณ์ถือได้ว่าเป็นการกระทำด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต้องรับผิดชดใช้ในอัตราร้อยละ 15 หัวหน้าส่วนราชการ ในฐานะผู้บังคับบัญชา มิได้กำกับให้คณะกรรมการฯ คำนวณราคากลางให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ต้องรับผิดชดใช้ในอัตราร้อยละ 10

104 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 1.กรณีการจัดซื้อจัดจ้างราคาแพง 1.1 วิธีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถูกต้อง -กรณีผ่านเจ้าหน้าที่พัสดุ แบ่งสัดส่วนความรับผิด ดังนี้ คณะกรรมการพิจารณาผลฯ ร้อยละ 60 ฝ่ายพัสดุ (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ร้อยละ 20 ผู้บังคับบัญชาชั้นกลาง(ผู้ผ่านงาน) ร้อยละ 10 ผู้อนุมัติ ร้อยละ 10

105 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 1.กรณีการจัดซื้อจัดจ้างราคาแพง 1.2 กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง ก. ใช้ค่า factor f/ราคาวัสดุไม่ถูกต้อง -กรณีผ่านเจ้าหน้าที่พัสดุ แบ่งสัดส่วนความรับผิด ดังนี้ คณะกรรมการกำหนดราคากลาง ร้อยละ 70 ฝ่ายพัสดุ (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ร้อยละ 15 ผู้บังคับบัญชาชั้นกลาง(ผู้ผ่านงาน) ร้อยละ 10 ผู้อนุมัติ ร้อยละ 5

106 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 1.กรณีการจัดซื้อจัดจ้างราคาแพง 1.2 กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง ข. คำนวณปริมาณงานผิดพลาด คณะกรรมการกำหนดราคากลาง ร้อยละ 100

107 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 1.กรณีการจัดซื้อจัดจ้างราคาแพง 1.3 ไม่คัดเลือกผู้เสนอราคาต่ำสุดที่มีคุณสมบัติถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนด สอบราคา คณะกรรมการเปิดซอง ฯ ร้อยละ 60 ฝ่ายพัสดุ (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ร้อยละ 15 ผู้บังคับบัญชาชั้นกลาง(ผู้ผ่านงาน) ร้อยละ 15 ผู้อนุมัติ ร้อยละ 10 ทั้งนี้ หากเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุ/ผู้ผ่านงานทักท้วงแล้ว แต่ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจอนุมัติ ผู้อนุมัติรับผิด ร้อยละ 40 เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุ/ผู้ผ่านงาน ไม่ต้องรับผิด

108 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 1.กรณีการจัดซื้อจัดจ้างราคาแพง 1.3 ไม่คัดเลือกผู้เสนอราคาต่ำสุดที่มีคุณสมบัติถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนด ประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลฯ ร้อยละ 60 ฝ่ายพัสดุ (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ร้อยละ 15 ผู้บังคับบัญชาชั้นกลาง/ต้น(ผู้ผ่านงาน) ร้อยละ 15 ผู้อนุมัติ ร้อยละ 10 ทั้งนี้ หากเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุ/ผู้ผ่านงานทักท้วงแล้ว แต่ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจอนุมัติ ผู้อนุมัติรับผิด ร้อยละ 40 เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุ/ผู้ผ่านงาน ไม่ต้องรับผิด

109 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 2.กรณีตรวจการจ้าง/ตรวจรับไม่ถูกต้อง 2.1 กรณีข้อเท็จจริงปรากฎเป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้งว่าผู้บังคับบัญชาควรจะได้รู้ถึงการตรวจรับฯ แบ่งสัดส่วนความรับผิด ดังนี้ คณะกรรมการตรวจการจ้างฯ ร้อยละ 30 ผู้ควบคุมงาน ร้อยละ 50 ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น/กลาง(ผู้ผ่านงาน) ร้อยละ 10 ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง (ผู้อนุมัติ) ร้อยละ 10

110 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 2.กรณีตรวจการจ้าง/ตรวจรับไม่ถูกต้อง 2.2 กรณีข้อเท็จจริงปรากฏว่าผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ ไม่ต้องรับผิด แบ่งสัดส่วนความรับผิด ดังนี้ คณะกรรมการตรวจการจ้างฯ ร้อยละ 40 ผู้ควบคุมงาน ร้อยละ 60

111 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 2.กรณีตรวจการจ้าง/ตรวจรับไม่ถูกต้อง 2.3 ส่งของไม่ตรงตามสัญญา 1) กรณีข้อเท็จจริงเป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้งว่า เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุ/ผู้บังคับบัญชามีเหตุเชื่อว่า ควรรู้ถึงการส่งของฯไม่ตรงตามสัญญา คณะกรรมการตรวจรับ ร้อยละ 60 ฝ่ายพัสดุ (ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ร้อยละ 20 ผู้บังคับบัญชาชั้นกลาง/ต้น(ผู้ผ่านงาน) ร้อยละ 10 ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง (ผู้อนุมัติ) ร้อยละ 10

112 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 2.กรณีตรวจการจ้าง/ตรวจรับไม่ถูกต้อง 2.3 ส่งของไม่ตรงตามสัญญา 2) กรณีข้อเท็จจริงเป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้งว่า เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัสดุ/ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ จึงไม่ต้องรับผิด คณะกรรมการตรวจรับ ร้อยละ 100

113 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 3. กรณีไม่เรียกค่าปรับกรณีส่งมอบงาน/ของล่าช้า 1) ข้อเท็จจริงปรากฏชัดเป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้งว่า เจ้าหน้าที่พัสดุ/ผู้บังคับบัญชามีเหตุน่าเชื่อว่า ควรจะได้รู้ถึงการส่งมอบงาน/ของล่าช้า สัดส่วนความรับผิด คณะกรรมการตรวจการจ้าง/รับ ร้อยละ 70 ฝ่ายพัสดุ(ตรวจสอบ/เสนอความเห็น) ร้อยละ 10 ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง (ผู้ผ่านงาน) ร้อยละ 10 ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง (ผู้อนุมัติ) ร้อยละ 10

114 แนวทางกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ด้านการพัสดุ 3. กรณีไม่เรียกค่าปรับกรณีส่งมอบงาน/ของล่าช้า 1) เจ้าหน้าที่พัสดุ/ผู้บังคับบัญชาไม่อาจทราบข้อเท็จจริงได้ว่ามีการส่งมอบงาน/ของล่าช้า จึงไม่ต้องรับผิด เช่น คณะกรรมการตรวจการจ้าง/รับ ปกปิดไม่แจ้งให้ทราบ ลงนามตรวจรับ-ย้อนหลัง คณะกรรมการตรวจการจ้าง/รับ ร้อยละ 100

115 สำนักงานคลังจังหวัดเชียงใหม่
ติดต่อสอบถาม กลุ่มงานวิชาการฯ สำนักงานคลังจังหวัดเชียงใหม่ ต่อ 12,16,18,25


ดาวน์โหลด ppt การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google