งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4
HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4.0 การปฏิบัติการโซ่แห่งอุปทานการผลิต เอกสารประกอบการบรรยาย LOGISTICS EXHIBITION & SEMINAR โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการกลุ่มบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2561

2 MEAN : SUPPLY CHAIN 4.0 SUPPLY CHAIN 4.0 เกี่ยวข้องกับการจัดการ การเคลื่อนย้ายข้อมูล-ฐานข้อมูล สินค้าและบริการของกิจกรรมต่างๆ ภายใต้แพลตฟอร์มของสมาร์ทเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับข้อมูลดิจิทัล, เอไอ, ระบบอัตโนมัติอัจฉริยะ, ไอโอที, บล็อกเชน, บิ๊กดาต้า ฯลฯ เพื่อเชื่อมโยงตั้งแต่วัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูป, สินค้าขั้นสุดท้าย, แรงงาน, ปัจจัยการผลิตและทรัพยากรต่างๆเพื่อให้การส่งมอบสนองตอบต่อธุรกรรมธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล NEW SUPPLY CHAIN อีกนัยเกี่ยวข้องกับกิจกรรมความสัมพันธ์ทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ต่างๆ ทั้งภายในองค์กรและระหว่างองค์กรให้สามารถขับเคลื่อนสนองอุปสงค์ของกิจกรรมพื้นฐาน กิจกรรมสนับสนุนและธุรกรรมต่างๆเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทั้งด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรขององค์กรซึ่งสามารถวัดเป็นมูลค่าตัวเงินที่ชัดเจน ส่งผลต่อต้นทุน ผลิตภาพการผลิตและผลตอบแทนของธุรกิจตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง ตลอดจนถึงผู้บริโภคหรือลูกค้าโดยเน้นผลลัพธ์เพื่อให้เกิดมูลค่าร่วมกันในโซ่อุปทานการผลิตของศตวรรษที่ 21

3 LOGISTICS & SUPPLY CHAIN 4.0 DESIGN AND APPLICATION
1. SUPPLY CHAIN 4.0 CONTEXT : ปรับโครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งขับเคลื่อนด้วยสมาร์ทเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลอัจฉริยะ 2. NEW BUSINESS DESIGN : ออกแบบธุรกรรมธุรกิจให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีเกาะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและอุปสงค์ของลูกค้า 3. E-DATA CONNECT : ยกระดับกิจกรรมในเครือข่ายโซ่อุปทานให้สามารถเชื่อมโยงเข้าถึงข้อมูล-ฐานข้อมูล (ORIGIN TO ORIGIN) เพื่อการวางแผนกระบวนการเคลื่อนย้าย จัดเก็บ-กระจายสินค้าและบริการ ตลอดโซ่อุปทานการผลิตเพื่อให้เกิดการส่งมอบที่เป็น “JUST ON DEMAND” 4. DIGITAL PLATFORM DRIVEN : ขับเคลื่อนด้านเทคโนโลยีเพื่อขจัดระบบการสื่อสารที่เป็นคอขวดทั้งที่เกิดจากการจัดเก็บข้อมูลอนาล็อกหรือการสั่งการที่ไม่ทันต่อเหตุการณ์ซึ่งอาศัยคนและเทคโนโลยีพื้นฐานและหรือระบบการจัดการซึ่งไม่สามารถสนองตอบต่ออุตสาหกรรมยุคที่ 4.0 ภายใต้ระบบโลจิสติกส์ที่แตกต่างกันในโซ่อุปทานการผลิตที่ซับซ้อน

4 SUPPLY CHAIN CONNECTIVITY SCENARIO
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องสนับสนุนงานโลจิสติกส์และซัพพลายเชนยุคใหม่ DIGITAL PLATFORM ON SUPPLY CHAIN 4.0 11. SMART SHELVES DEMAND 2 . MACHINE LEARNING 1. DIGITAL LEAN AUTONOMOUS 10. SMART DELIVERY REAL TIME CAPABILITIES 3. I-ROBOTS COBOTS SUPPLY CHAIN CONNECTIVITY SCENARIO 9. SMART TRANSPORTATION 4. BIG DATA ANALYTICS 8. I- WAREHOUSING & DISTRIBUTION 5. EVOLUTION OF IoT & CLOUD COMPUTING 6. CYBER BLOCK CHAIN 7. INTELLIGENT APPLICATION ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์

5 DEMAND 4.0 TRANSFORMATION การก้าวผ่านอุปสงค์ดิจิทัล
1 DIGITAL SOCIETY สังคมดิจิทัลขับเคลื่อนด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตอบสนองทั้งทางลบและบวก แนวโน้มการเข้ามาของสังคมดิจิทัลซึ่งคนส่วนใหญ่สื่อสาร-รับรู้ผ่านสื่อโซเซียลมีเดียโดยมีสมาร์ทโฟนอัจฉริยะเป็นสื่อนำ 2 OFFLINE / ONLINE OVERLAPPING การบริหารจัดการช่วงคาบเกี่ยวรอยต่อเกี่ยวด้านธุรกรรมการค้าและอุปสงค์ที่หลากหลายของคนต่างยุคต่างสมัยซึ่งมีศักยภาพการเข้าถึงข้อมูลที่ต่างกัน CONSUMER 4.0 PLATFORM จะเป็นผู้กำหนดกติกาของรูปแบบการค้า ภายใต้สังคมดิจิทัลการรับรู้เกี่ยวกับสินค้า และภาพลักษณ์ของธุรกิจผ่านระบบโซเชียลมีเดียเป็นทั้งปัจจัยบวกและลบ 3 IMAGE & ACCESS ภาพลักษณ์ของสินค้าทั้งด้านคุณภาพ-สังคม-สิ่งแวดล้อม เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของผู้บริโภค 4 NEW DEMAND TRANFORMATION ก้าวผ่านสนองอุปสงค์ 4.0 แนวโน้มสังคมดิจิทัลจึงจะมีอิทธิพลสูงต่อการปฏิรูปองค์กรต่างๆในโซ่อุปทานซึ่งมีความแตกต่างกันโดยเทคโนโลยีออนไลน์จะกลายเป็นผู้กำหนดกติกาในสนามการแข่งขันภายใต้การกดดันของการเปลี่ยนแปลง 5 6 SMART & BEST PRACTICE LOGISTICS ระบบปฏิบัติการโลจิสติกส์เป็นเลิศเชื่อมโยงกับนวตกรรมเพื่อตอบโจทย์ของอุตสาหกรรม 4.0

6 NEW INDUSTRIES ELEMENT องค์ประกอบของอุตสาหกรรมแห่งอนาคต
1 อุปสงค์ที่เปลี่ยนแปลงและคาดการณ์ไม่ได้ (UNPREDICT FROM DEMAND PUSH ) สินค้าล้ำยุค มาเร็ว-ไปเร็ว การจัดส่งสินค้าจะเป็นแบบเรียลไทม์ช่องทางจำหน่ายผ่านทางสมาร์ทโฟน ผู้บริโภคให้ความสำคัญภาพลักษณ์สินค้าพอกับคุณภาพ 2 อุตสาหกรรมจะต้องตอบสนองสังคมดิจิทัล (DIGITAL SOCIETY RESPONSIVE) การสนองตอบต่อโลกใหม่ภายใต้เทคโนโลยี IoT & SMARTPHONE จะทำให้รูปแบบการบริโภค-ช่องทางการจัดจำหน่าย และโลจิสติกส์จะเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง 3 คนต้องเชื่อมโยงกับเครื่องจักรอัจฉริยะ (INTELLIGENT & AUTONOMOUS CONNECTIVITY) บุคลากรในโซ่อุปทาน 4.0 จะต้องสามารถเชื่อมโยงกับระบบการผลิตที่ไม่ใช้แรงงานมนุษย์ในการควบคุมเครื่องจักร (MECHATROICS & ROBOTIC MANUFACTURING) 4 โรงงานอัจฉริยะ (SMART FACTORY) อุตสาหกรรมในอนาคตจะขับเคลื่อนจากความต้องการแบบเฉพาะเจาะจง (UNIQUE) ทำให้การจัดส่งและโลจิสติกส์มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สมาร์ทโลจิสติกส์ ในสายการผลิตภายใต้อุปสงค์แบบยูนิคและการขาดแคลนแรงงาน 5 PROCESS & PRODUCT DISRUPTION เทคโนโลยีใหม่อาจเป็นภัยคุกคามต่อการจ้างงานในอนาคตและสินค้าจำนวนมากอาจกลายเป็นของตกยุค-ตกสมัย

7 NEW SUPPLY CHAIN STARTUP
1. LEAN AUTOMATION MANUFACTURING : อุตสาหกรรมโอโตเมชั่น 4.0 ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง การผลิตเป็นแบบ “STOCKLESS” การส่งมอบเป็นแบบ REAL TIME USE 2. DIGITAL SEAMLESS ACCESSMENT : การเชื่อมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในเครือข่ายโซ่อุปทานการผลิตของธุรกรรม 4.0 แบบไร้รอยต่อ 24 HOURS 3. SMART LOGISTICS : การจัดส่งและโลจิสติกส์มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สมาร์ทโลจิสติกส์เพื่อเชื่อมโยงกับสายการผลิตอัตโนมัติซึ่งขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีภายใต้อุปสงค์ที่ผันแปรและไม่แน่นอน เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ด้านคลังสินค้า-การกระจายสินค้า การขนส่งและจัดส่งสินค้า 4. SUPPLY CHAIN 4.0 TRANSFORMATION : การก้าวผ่านสู่ซัพพลายเชนซึ่งขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีให้สนองตอบต่อธุรกรรมใหม่เกี่ยวข้องกับ - วิสัยทัศน์เห็นโอกาสหรือภัยคุกคาม ปรับเปลี่ยน PROCESS & PRODUCT คนต่างยุคต่างวัย - กลยุทธ์ที่สอดคล้องกับยุค ความพร้อมธุรกิจ (ทักษะ-ทุน-เทคโนโลยี)

8 IoT SUPPLY CHAIN BIG DATA ANALYTIC BLOCK CHAIN
Supply Chain 4.0 Case Study โซ่คุณค่าปลาซาดีน บรรจุกระป๋อง - อุตสาหกรรมทำกระป๋องทินเพลท - อุตสาหกรรมทำกล่องกระดาษ - อุตสาหกรรมทำซอสมะเขือเทศ - อุตสาหกรรมประมง-แพปลา RAW MATERIAL วัตถุดิบ CONSUMER 4.0 ลูกค้า อุตสาหกรรมการผลิต OFFLINE ONLINE RETAIL ค้าส่ง-ค้าปลีก BIG DATA ANALYTIC BLOCK CHAIN SUPPLY CHAIN IoT DEMAND 4.0 ORIGIN MEET ORIGIN

9 การทบทวนบริบทใหม่ของโซ่อุปทานการผลิต SUPPLY CHAIN NEW CONTEXT
1. SMART MANUFACTURING ระบบการผลิตอัจฉริยะ เชื่อมโยงอุตสาหกรรม 4.0 ทั้งด้านข้อมูลดิจิทัลเชื่อมโยงกับเครื่องจักร, การสื่อสารไร้มนุษย์ ภายใต้โซ่แห่งคุณค่าใหม่ระบบการผลิตให้ความสำคัญกับการผลิตที่ไม่มีส่วนเกิน (SURPLUSLESS) ในทุกกระบวนการผลิต โดยมีกระบวนการนำกลับมาใช้ใหม่ทั้ง REUSE , RECYCLE , RE-PROCESS 2. ZERO DEFECT การผิดพลาดเป็นศูนย์และขจัดกิจกรรมส่วนเกินซึ่งไม่มีคุณค่าในทุกกระบวนการซึ่งทำให้เกิดความ สูญเปล่าและสินค้าตกคุณภาพ 3. STOCKLESS COLLABORATION การร่วมมือในโซ่อุปทานการผลิตด้วยการลดขั้นตอนการส่งมอบและเวลาขนส่งซึ่งทำให้เกิดสต๊อกส่วนเกินโดยการมีระบบประกันเวลาทำให้การส่งมอบเป็น REAL TIME DELIVERY 4. FLEXIBLE & BOTTLE NECK ELIMINATED การทำงานซึ่งยืดหยุ่นตอบสนองอุปสงค์ที่หลากหลายแปรปรวนเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยต้องขจัดคอขวดในโซ่อุปทานเพื่อเพิ่มผลิตภาพการทำงาน 5. CYBER LEAN ASSESSMENT การเข้าถึงการส่งมอบของอุตสาหกรรม “LEAN AUTOMATION” เกี่ยวข้องกับการสื่อสารระหว่างคนกับเครื่องจักร (P2M) และเครื่องจักรกับเครื่องจักร (M2M) 6. RISK & BUSINESS CONTINUITY MANAGEMENT การจัดการความเสี่ยงและความต่อเนื่องการทำงานในโซ่อุปทานภายใต้สถานการณ์ต่างๆ

10 โซ่อุปทานที่เป็นเลิศ BEST PRATICE IN SUPPLY CHAIN 4.0
Smart Supply Chain Connectivity การเชื่อมโยงโซ่อุปทานการผลิตอัจฉริยะ Human and Smart Machines Connectivity การเชื่อมโยงคนและเครื่องจักรอัจฉริยะ Cyber Lean Manufacturing Value Chain การยกระดับลีนจากโซ่อุปทานการผลิต ไปสู่โซ่แห่งคุณค่า B2B Link Across Supply Chain การจัดส่งแบบอัตโนมัติเชื่อมโยงข้าม ระหว่างองค์กรในโซ่อุปทาน Automation & Smart Process การบริหาร จัดการเทคโนโลยีใหม่ เพื่อการรับ-ส่ง สินค้าผ่านข้อมูลดิจิทัล และ Smart Application ตลอดโซ่แห่งคุณค่า การกระจายสินค้าสู่ผู้บริโภคแห่งอนาคต Cargoes Distribution Value Chain Social Issue & Global Standard Conforming การสอดคล้องระบบ มาตรฐานโลจิสติกส์ในระดับสากล และประเด็นสังคมเป็นเงื่อนไขของ Logistics 4.0 E-Autonomous Fulfilled การรับออเดอร์และการเติมเต็มสินค้า ผ่านการเชื่อมโยงอิเล็กทรอนิกส์ IoT Digital Delivery การกระจายสินค้ารองรับ การค้าอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะเป็นมากกว่าร้อย ละ 30 ของปริมาณการค้าปลีก Origin to Origin Delivery สังคมดิจิทัลการส่งมอบสินค้าจากโรงงาน ถึงผู้บริโภคจะมีความซับซ้อน (B2B) โซ่อุปทานที่เป็นเลิศ BEST PRATICE IN SUPPLY CHAIN 4.0 Intelligent Transport System ระบบการขนส่งแบบชาญฉลาด Network Multimodal Transport Platform เครือข่ายเชื่อมโยงการ ขนส่งหลายรูปแบบ Design & Innovation Fit For Customize การออกแบบและ นวัตกรรมให้เหมาะสมแต่ละลูกค้า Cyber Link Transport การขนส่งอิเล็กทรอนิกส์ เชื่อมโยงเทคโนโลยีสารสนเทศ ผ่าน IoT RISK MANAGEMENT การบริหารความเสี่ยง

11 ปัจจัยซึ่งมีอิธิพลต่อการออกแบบโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ FACTORS IN SUPPLY CHAIN BEST PRACTICE
- Innovation & Smart Technology Aging -Digital Mobility Economy Market & Demand Big Change New Business Paradigm Human & Machine In Joint Value Chain Networks Complicated In Supply Chain New Context Industry 4.0 อุตสาหกรรมภายใต้บริบทใหม่ Internal factors area External factors area New Fresh & Stronger Competitors Unadaptive With New Demand Products & Services Out Of Date Internal Factor Not Support Strength Point Disappear Threat From Industries 4.0 External factors area Smart & cyber lean production การผลิตแบบอัจฉริยะ Global Agenda Issue ประเด็นวาระโลกมาก่อนคุณภาพ SUPPLY CHAIN BEST PRACTICE Supply Chain Collaboration ปฏิบัติการเป็นเลิศ ด้านโซ่อุปทาน Logistics Flexibility & Adaptive NTMs & Governance Compliance ซับพลายเชนจะเผชิญการเพิ่มขึ้น มาตรการซึ่งไม่ใช่ภาษีและกฎหมาย Value Chain Connectivity การเชื่อมโยงตลอดโซ่คุณค่า New Consumers Agenda วาระใหม่ผู้บริโภค Competitors 4.0 ภัยคุกคามจากคู่แข่งใหม่ Internal factors area Internal factors area Green Product & Services Bionic & Organic Required Climate & Environment Friendly Human Right & Trafficking Public Traceability (Transparency) Demographic Changes (การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนอายุผู้บริโภค) Political Sanction External factors area โดย : ดร.ธนิต โสรัตน์

12 NEW SUPPLY CHAIN CHALLENGE โจทย์ความท้าทายการปรับเปลี่ยนโซ่อุทาน 4
GLOBAL VALUE CHAIN LINK โลกการค้าอนาคตจะอยู่ภายใต้เขตการค้าและการลงทุนเสรี การเชื่อโยงโซ่อุปทานระดับโลกจากการเป็นฐานการผลิตช่วยกันทำให้โซ่แห่งคุณค่าจะมีการซับซ้อน WORLD TRADE WAR มาตรการที่ไม่ใช่ภาษีและกฎเกณฑ์ระดับนานาชาติ(NTMs) จะมีความหลากหลายทำให้เกิดช่องว่างในโซ่แห่งคุณค่า MIGRANT MANUFACTURING TREND แนวโน้มการย้ายฐานการผลิตทำให้โซ่แห่งคุณค่ามีการขยายขอบข่ายเกี่ยวข้องกับการจัดการระยะทางและต้นทุน (Distance & Cost) ASSEMBLY MANUFACTURING การผลิตแบบแยกชิ้นส่วนเพื่อนำมาประกอบเป็นสินค้าสำเร็จรูปเพื่อลดต้นทุนการผลิตในแต่ละแหล่งเงินทุนทำให้โซ่แห่งคุณค่าเกี่ยวข้องกับมิติต่างๆ เช่น Distance-Condition-JIT Delivery - JIT - Cost COST CONSCIOUSLY VALUE CHAIN โซ่แห่งคุณค่าด้วยการประหยัดต้นทุนร่วมกัน ทั้งต้นทุนการผลิต, ต้นทุนด้านผลิตภาพการผลิตและส่วนสูญเสีย (Yield Waste), ต้นทุนสินค้าคงคลัง และต้นทุนโลจิสติกส์ รวมทั้งความสะดวกในการเขาถึงตลาด OFFLINE/ONLINE OVERLAP การเข้าถึงช่องทางการจำหน่ายค้าปลีก-ค้าส่งภายใต้ระบบอุตสาหกรรม 4.0 โดยระบบซัพพลายเชนจะต้องสามารถสอดคล้องต่อการ เปลี่ยนแปลง

13 NEW SUPPLY CHAIN CHALLENGE โจทย์ความท้าทายการปรับเปลี่ยนโซ่อุทาน 4
7. VARY DEMAND & UNPREDICT ความปรวนแปรความต้องการของผู้บริโภคภายใต้อุปสงค์แห่งอนาคตซึ่งคาดเดาไม่ได้ โซ่อุปทานต้องมีความยืดหยุ่นและสนองตอบที่รวดเร็ว 8. MORAL & TRANSPARENCY BASE การให้ความสำคัญการค้าและอุตสาหกรรมที่มีศีลธรรมและโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ 9. VALUE FIRST เกี่ยวข้องกับคุณค่าที่เป็นมูลค่าซึ่งจะส่งต่อไปในซัพพลายเชนและตัวสินค้าในรูปของภาพลักษณ์ “Image Value” 10. COMPLICATE IN SUPPLY CHAIN โซ่อุปทานการผลิตจะมีแนวโน้มที่ซับซ้อนต้องอาศัยโลจิสติกส์ที่เป็นเลิศ ทั้งอุตสาหกรรมสนับสนุนและผู้ให้บริการในโซ่อุปทานการผลิตจะต้องสามารถสอดคล้อง ธุรกิจที่ไม่สามารถเข้าถึงก็จะต้องออกไปจากโซ่แห่งคุณค่า

14 กุญแจแห่งความสำเร็จของโซ่อุปทาน 4.0 (New Supply Chain Key Achievement)
1. HUMAN CAPITAL : การยกระดับคนไปสู่ทุนมนุษย์ 2. UNITY & DIRECTION : เอกภาพของนโยบายและทิศทางธุรกิจต้องไปทางเดียวกัน 3. STANDARDIZE & HARMONIZE : มาตรฐานและการเป็นหนึ่งเดียวกันในโซ่แห่งคุณค่า 4. INNOVATION & TECHNOLOGY ACCESSMENT : ความสามารถในการเชื่อมโยงนวตกรรมและเทคโนโลยี 4.0 5. DATA APPROACH : การเข้าถึงข้อมูลและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 6. COLLABORATION & CONNECTIVITY : ความร่วมมือและการเชื่อมโยงในโซ่อุปทานการผลิต 7. NETWORK PLATFORM : การสนับสนุนให้มีระบบเครือข่ายโซ่แห่งคุณค่า 8. SUPPLY CHAIN BEST PRACTICE DESIGN : การออกแบบโซ่อุปทานที่เป็นเลิศให้สอดคล้องกับความต้องการ 9. BENEFICIALLY FOR ALL : โซ่แห่งคุณค่าเพื่อผลประโยชน์สำหรับทุกธุรกิจที่เกี่ยวข้อง

15 คนคือกุญแจแห่งความสำเร็จ การพัฒนาทักษะต้องสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
MENTOR & COACH SKILL กลุ่มคนที่สามารถพัฒนาเป็นแกนหลักการพัฒนาทักษะขององค์กร RE-SKILL กลุ่มคนที่ต้องทบทวนทักษะ 1. UP SKILL กลุ่มคนซึ่งสามารถต่อยอดทักษะใหม่ 2. 3. FALL OF THE EDGE กลุ่มคนหลุดขอบการพัฒนาไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง 4.

16 Value Chain 4.0……

17 อุตสาหกรรม 4.0 เหรียญสองด้าน
เป็นทั้งโอกาสและความท้าท้าย ขึ้นอยู่กับว่าการปรับตัวหรือรอโชคชะตา

18


ดาวน์โหลด ppt HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google