งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ASEAN Becomes Single Market

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ASEAN Becomes Single Market"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ASEAN Becomes Single Market
โดย รองปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายราเชนทร์ พจนสุนทร) 6 พฤษภาคม 2554 การประชุมวิชาการระดับชาติ 2011 SPUC National Conference มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

2 Australia & New Zealand
ภูมิศาสตร์การค้าไทยในบริบทการค้าโลก 240,000 215,000 195,300 Thailand Export Value (mil.USD) ที่มา : EIU Russia & CIS EU + EFTA S. Korea NAFTA Japan China BIMST-EC ASEAN GCC India ECOWAS COMESA MECOSUR Australia & New Zealand 2 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

3 หัวข้อการนำเสนอ ภูมิศาสตร์การค้าไทยในบริบทการค้าโลก
ความเป็นมาของอาเซียน กฏบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) การรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ข้อมูลการค้าการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน ผลกระทบและการพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการรวมกลุ่ม AEC ข้อมูลการค้า และ ASEAN’s SWOT Analysis นโยบายกระทรวงพาณิชย์เพื่อรองรับการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

4 1967 (2510) ก่อตั้ง ASEAN 1984 (2527) ขยายสมาชิก บรูไน
ความเป็นมาของASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1967 (2510) ก่อตั้ง ASEAN 1967 (2510) ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ 1984 (2527) ขยายสมาชิก บรูไน 1995 (2538) ขยายสมาชิก เวียดนาม 1997 (2540) ขยายสมาชิก ลาว พม่า 1999 (2542) ขยายสมาชิก กัมพูชา ASEAN 6 CLMV รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศ ประชากร 596 ล้านคน และกำลังก้าวเข้าสู่….. ASEAN Economic Community ในปี 2015 (2558) 4 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

5 ASEAN Economic Community (AEC)
ประชาคมอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Charter ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรม (AScC) 5 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

6 ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียน
ASEAN Economic Community (AEC) (ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) ASEAN Summit ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2545 ณ ประเทศกัมพูชา เห็นชอบการดำเนินงานเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 6 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

7 AEC ASEAN Economic Community (AEC)
เป้าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) AEC Single market and single production base Free of goods , Services , Investment , and skilled labors , and freer flow of capital 7 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

8 ASEAN Economic Community (AEC)
วิวัฒนาการการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) ปี 2536 จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) หรือ อาฟต้า (AFTA) ปี 2546 ผู้นำอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณ์การนำอาเซียนไปสู่ “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) ในปี 2020 (2563) ปี 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามในปฏิญญาเซบูเร่งรัดการเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ให้เร็วขึ้น เป็นปี 2015 (2558) และลงนามแผนแม่บทสำหรับกฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter เมื่อพฤศจิกายน ปี 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามในปฏิญญาว่าด้วยแผนการดำเนินงาน (AEC Blueprint) และตารางเวลาดำเนินงาน (Strategic Schedule) 2551 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เห็นชอบจัดทำแผนงานติดตามประเมินผลการดำเนินงาน (AEC Scorecard) 8 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

9 ASEAN Economic Community (AEC)
โครงสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) 9 พฤษภาคม ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

10 ASEAN Economic Community (AEC)
แนวทางนำร่องสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community (AEC) แนวทางนำร่องสู่การเป็น AEC เร่งรัดการรวมกลุ่ม 12 สาขาสำคัญของอาเซียน กำหนด Country Coordinators ประเทศ สาขา อินโดนีเซีย 1) ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ ) ผลิตภัณฑ์ไม้ มาเลเซีย 3) ผลิตภัณฑ์ไม้ ) สิ่งทอและ เครื่องนุ่งห่ม พม่า 5) ผลิตภัณฑ์เกษตร ) ผลิตภัณฑ์ประมง ฟิลิปปินส์ 7) อิเล็กทรอนิกส์ สิงคโปร์ 8) เทคโนโลยีสารสนเทศ ) สุขภาพ ไทย 10) การท่องเที่ยว ) การบิน เวียดนาม 12) โลจิสติกส์ 10 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

11 แนวโน้มเศรษฐกิจโลก 2010 2015 2008 2009 World GDP Forecast by IMF
Higher share of GDP from ASIA 2010 2015 FDI Inward by UNCTAD Higher share of FDI to ASIA 2008 2009 11

12 การเติบโตของเศรษฐกิจอาเซียนและภาคีคู่ค้า
อาเซียน + 3 และ อาเซียน + 6 … อาเซียน + 6 มีประชากรรวมเกือบครึ่งโลก (48.3%) และอาเซียน มีประชากรกว่า 596 ล้านคน (8.6%) อาเซียน + 6 มี GDP 27% ของ GDP โลก (2010) และมีแนวโน้มจะเติบโตเป็น29.4 % ในปี 2015 อาเซียน + 3 มีการลงทุนโดยตรง FDI 13.4% ของ FDI โลก (2009) อาเซียน + 6 มีการค้ารวมเป็นอันดับสองของโลก (27.3%) รองจาก EU เท่านั้น (34.2%) Population (mid- 2010) (million) GDP 2010 (billion USD) Estimated GDP 2011 FDI 2009 Trade 2010 ( billion USD) World 6,892 (100%) 62, (100%) 68,624.8 (100%) 1,114.2 (100%) 30,614 (100%) USA (4.5%) 14,657.8 (23.3%) 15,227.1 (22.2%) 129.9 (11.7%) 3,225.0 (10.5%) EU 27 501 (7.3%) 16,282.2 (25.9%) 17,452.4 (25.4%) 361.9 (32.5%) 10,484.8 (34.2%) ASEAN 596 (8.6%) 1,852.5 (2.9%) 2,065.6 (3.0%) 36.8 (3.3%) 2,002 (6.5%) ASEAN +3 2,110 (30.6%) 14,196.7 (22.6%) 15,529.9 (22.6%) 149.6 (13.4%) 7,329.0 (23.9%) ASEAN+6 3,325 (48.3%) 17,110.6 (27.2%) 18,835.3 (27.4%) 554.8 (49.8%) 8, (27.3%) Others 2,756(40%) 14,837.2 (23.6%) 17,110 (24.9%) 67.6 (6.1%) 8,560.2 (28.0%) ที่มา : Population by Population Reference Bureau, mid-2010 GDP by IMF, 2010 FDI by UNCTAD, 2009 Trade by WTO 2010 12 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

13 การค้าระหว่างประเทศของไทยกับประเทศกลุ่มอาเซียน และเอเชีย
อาเซียน + 6 เป็นคู่ค้าที่สำคัญที่สุดของไทย การค้าระหว่างไทย กับ อาเซียน+6 คิดเป็น 56.5% ของการค้าไทยกับโลกในปี 2010 Japan S. Korea China India ASEAN+ 3 45% Australia & New Zealand Thailand Trade 2010 with Total Trade (mil.USD) Export Import World 377,718 195,312 182,407 EU (27) 35,702 21,815 13,888 USA 30,876 20,200 10,675 ASEAN 74,661 44,334 30,328 ASEAN + 3 190,312 89,833 100,480 ASEAN + 6 213,534 104,396 109,139 Others 97,606 48,901 48,705 ASEAN+ 6 52% 13 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

14         การค้าชายแดนไทย 14 พฤษภาคม 2554 กระทรวงพาณิชย์
ประเทศไทยมีชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ รวมเป็นระยะทาง 4,800 กม. การค้ากับประเทศทั้ง 4 รวมกัน มีมูลค่า 1.7 ล้านล้านบาท (2553) โดยการค้าชายแดนคิดเป็น 44% ของการค้ารวมทั้งหมด 4 ประเทศ การส่งออกผ่านชายแดน มีมูลค่า 1.02 ล้านล้านบาท การนำเข้าผ่านชายแดน มีมูลค่า 7.5 แสนล้านบาท มาเลเซียเป็นประเทศคู่ค้าชายแดนที่ใหญ่ที่สุด มีมูลค่าการค้าชายแดน 4.9แสนล้านบาท คิดเป็น 66% ของการค้าชายแดนทั้งหมด การค้าชายแดนไทย สัดส่วนการค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน : 2553   หน่วย: ล้านบาท มูลค่าการค้า มูลค่าส่งออก มูลค่านำเข้า มาเลเซีย การค้าชายแดน 497,590 320,404 177,186 การค้ารวม 1,175,427 655,002 520,425 พม่า 137,869 50,854 87,015 293,500 116,485 177,015 ลาว 87,191 64,117 23,074 178,733 131,723 47,010 กัมพูชา 55,411 51,113 4,298 136,540 125,378 11,162  รวม 778,061 486,488 291,573 1,784,200 1,028,588 755,612 สัดส่วนการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน: 2553 14 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

15 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI)
ของกลุ่มประเทศ ASEAN สัดส่วนการลงทุนภายในกลุ่ม ASEAN ปี 2552 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ สัดส่วนการลงทุนนอกกลุ่ม ASEAN ปี 2552 การลงทุนโดยตรงของประเทศในกลุ่ม ASEAN ปี 2552 มีจำนวน 39,600 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยเป็นการลงทุนในกลุ่ม ASEAN จำนวน 4,400 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และลงทุนนอกกลุ่ม ASEAN จำนวน 35,100 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศในกลุ่ม ASEAN ที่มีการลงทุนภายในกลุ่มสูงสุด ในปี 2552 ได้แก่ สิงคโปร์ มีสัดส่วนการลงทุน ร้อยละ 41 ของการลงทุนจากประเทศสมาชิกที่ลงทุนภายในกลุ่ม รองลงมาได้ แก่ อินโดนีเซีย และไทย นอกจากนี้ ประเทศสิงคโปร์ มีสัดส่วนการลงทุนนอกกลุ่มประเทศ ASEAN สูงสุด มีสัดส่วนเงินลงทุน ร้อยละ 40 ของเงินลงทุนทั้งหมดที่สมาชิกลงทุนนอกกลุ่ม รองลงมาได้แก่ เวียดนาม และไทย 15 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

16 พันธกรณีการเปิดเสรีในอาเซียน
AEC Blue Print Year 2010 Year 2015 Year 2018 Goods Tariff Free ASEAN (6) สินค้าทั่วไปลดภาษีเป็น 0% สินค้าอ่อนไหวลดเป็น 0-5% ASEAN (6) ทุกรายการ 0% CLMV สินค้าทั่วไปลดภาษีเป็น 0% CLMV สินค้าอ่อนไหวลดเป็น 0-5% NTBs Free ASEAN(5) Eliminate all NTBs (Extend flexibility for Philippine until 2012) CLMV Eliminate NTBs with flexibility CLMV Eliminate all NTBs Services Increasing ASEAN Shareholder in ASEAN’s Company up to 70% - Air Transport - ICT Services - Healthcare Services - Tourism - Logistics Services Other services Free flow of investment , Free flow of skilled labors, Freer flow of capital 16 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

17 การเปิดเสรีของอาเซียนกับภาคีคู่ค้า ASEAN + 3 และ ASEAN + 6
Year 2009 Year 2010 Beyond 2010 Start : Tariff reduction Ongoing Negotiation in Service & Investment ASEAN-Japan Start : - Tariff Reduction - Services & Investment implementation สินค้าทั่วไป - Korea 0% และ ASEAN-5 (2012) - Thailand (2017) สินค้าอ่อนไหว (Sensitive List :SL) ไทยมีเวลาปรับตัว เช่น หนังดิบ /ฟอก สีย้อม โดยลดเป็น 0-5% (2016) ASEAN-S.Korea Tariff reduction - Services & Inv. concluded สินค้าทั่วไป -Tariff 0% สินค้าอ่อนไหว (SL) เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ของเล่น เหล็ก ยานยนต์ 0-5% (2018) ASEAN-China Sign – Comprehensive Agreement Start : - Tariff Reduction - Services & Inv. implementation ASEAN-Aus+NZ Start : - Services & Inv. Negotiation Start: -Tariff Reduction -สินค้าทั่วไป ลดเป็น 0% - SL มีรายการ เคมีภัณฑ์ สิ่งทอ ยา โลหภัณฑ์ ลดให้ต่ำกว่า 5% (2016) ASEAN-India 17 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

18 ยุทธศาสตร์การค้าการลงทุนไทย
เป้าหมาย STRATEGY 1. การใช้ประโยชน์สูงสุดจาก AEC, FTA, ASEAN+3, ASEAN+6 การส่งเสริมให้เกิดการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงทางการค้าในตลาดโลก ส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs ร่วมทุนกับ ASEAN Partners 2. การเพิ่มศักยภาพด้านโลจิสติกส์และผู้ประกอบการ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์การค้าและการขนส่ง ในกรอบความร่วมมือที่สำคัญ (GMS, IMT-GT , BIMSTEC, เป็นต้น) การสร้างความร่วมมือด้านธุรกิจการค้าของ ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ในอาเซียน ส่งเสริมการค้าใน 5 ประตูการค้าสำคัญ พัฒนาและอำนวยความสะดวกทางการค้าบริเวณชายแดน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการค้าชายแดน  Joint Trade Committee คณะทำงานร่วม ด้านสิ่งแวดล้อม เครือข่าย G2G, G2B, B2B 3. การส่งเสริมการค้าและการลงทุนชายแดน 4. การยกระดับมาตรฐานการประกอบธุรกิจของไทยและผลักดันให้ไปประกอบธุรกิจใน อาเซียน การใช้มาตรการส่งเสริมด้านการค้าการลงทุน เช่น ภาษี การจัดตั้งกองทุน และการลงทุน 5. การส่งเสริม Thailand’s Brand ความร่วมมือด้าน ASEAN Market Networks การส่งเสริมคลัสเตอร์ธุรกิจที่มีศักยภาพด้านการค้าการลงทุน การค้าผ่านช่องทางการตลาดที่มีศักยภาพ 18 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

19 การส่งเสริมการค้าไทยในตลาดอาเซียน
สินค้าเกษตรและสินค้าประมง: อาหาร ฮาลาล สินค้าอุตสาหกรรม: อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ เฟอร์นิเจอร์ แฟชั่นไลฟ์สไตล์ ธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว โลจิสติกส์ สุขภาพ สปา BPO ICT การวิจัย/พัฒนา/ส่งเสริมทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมการตลาด ส่งเสริมการอำนวยความสะดวกทางการค้า การส่งเสริม SMEs การร่วมมือทางการค้า /การขนส่งสินค้าผ่านชายแดน การสนับสนุนพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐาน สิ่งจูงใจด้านภาษีและการเงิน 19 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

20 ASEAN’s SWOT ANALYSIS 20 จุดอ่อน : จุดแข็ง :
1. กฎ ระเบียบ ยังแตกต่างกัน เปลี่ยนบ่อยครั้ง 2. ระบบสาธารณูปโภค/โครงสร้างพื้นฐาน บางประเทศยังขาดประสิทธภาพ เพิ่มต้นทุน Logistics 3. แตกต่างทางวัฒนธรรม สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ระหว่าง ASEAN 6 - CLMV 4. แข่งกันผลิตสินค้า/บริการไปยังตลาดเดียวกัน 5. ขาดวินัยด้านทรัพย์สินทางปัญญา มีการลอกเลียนแบบ ทั้งลิขสิทธ์ และเครื่องหมายการค้า จุดแข็ง : 1. ปี 2015 จะรวมเป็น Single market เป็นตลาดขนาดใหญ่ ประชากร 600 ล้านคน มี GDP รวมกัน 1.85 ล้านล้าน USD 2. พื้นที่สามารถเชื่อมโยงได้ทั้งภูมิภาค (บก– น้ำ-อากาศ) 3. ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี และเปิดกว้าง 4. มีความสมบูรณ์ด้านทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากร ธรรมชาติ 5. สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานภายในภูมิภาคได้ 6. ตลาดอาเซียน เป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย รวมทั้งมี ความสำคัญกับไทยในด้านการค้า การลงทุนและท่องเที่ยว 7. มีแหล่งดึงดูดด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญของโลก 20 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

21 ASEAN’s SWOT ANALYSIS 21 อุปสรรค:
1. ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฏหมาย IP ของ บางประเทศ เกิดการลอกเลียนแบบ และละเมิดลิขสิทธิ์ 2. เกิดการเสียโอกาสทางการธุรกิจเนื่องจากการหลั่งไหลของ FDI ทั้งในอาเซียน และจากภายนอกอาเซียน เช่น จีน 3. การแข่งขันกับสินค้าราคาถูกของจีน ที่เข้ามาในภูมิภาคเป็น จำนวนมาก รวมทั้งการแข่งขันกันเองภายในอาเซียน 4. การลงทุนด้าน R& D ใน branding และ value ของสินค้า เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการแข่งขันทางธุรกิจยังมีน้อย 5. ความได้เปรียบทางภาษาของสิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ 6. NTBs ซึ่งเป็นอุปสรรคทางการค้ายังมีมากในหลายประเทศ 7. ปัญหาชายแดน การลักลอบนำเข้าสินค้าผิดกฎหมาย ยาเสพติด คนเข้าเมืองที่ผิดกฎหมาย และการค้ามนุษย์ โอกาส : 1. ความร่วมมือในภูมิภาค 2. การค้ากับโลก Inter Region และความร่วมมือระหว่างกลุ่มอาเซียน กับประเทศคู่ค้า เช่น ASEAN +3, ASEAN + 6 เป็นต้น 3. เส้นทางคมนาคมระหว่างประเทศใหม่ๆ เช่น East- West Corridor, North – South Corridor เป็นต้น 4. แหล่งทรัพยากรแร่ธาตุ และทรัพยากรธรรมชาติ 5. ฐานการผลิตสินค้าเกษตร 6. เป็นแหล่งผลิตพลังงานทดแทน 7. ประชาชนนิยม / ภาพลักษณ์ สินค้าไทย 8. แรงงานจำนวนมาก 21 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

22 ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง : GMS
R3A : ไทย (จ.เชียงราย) – สปป.ลาว (บ่อแก้ว – หลวงน้ำทา – บ่อเต็น) – จีน (เชียงรุ้ง – คุนหมิง) R3B : ไทย (จ.เชียงราย) – พม่า (ท่าขี้เหล็ก - เชียงตุง – ดาลั๊ว) – จีน (เชียงรุ้ง – คุนหมิง) R1 : ไทย (กรุงเทพฯ) – กัมพูชา (ปอยเปต – พนมเปญ - บาเว็ค) – เวียดนาม (บ็อกใบ – โฮจิมินห์) R2 : ไทย (จ.มุกดาหาร) – สปป.ลาว (แขวงสะหวันนะเขต) – เวียดนาม (ลาวบาว – ท่าเรือดานัง) 22

23 ผลกระทบและโอกาสการค้าการลงทุนไทยในอาเซียน
สินค้าเกษตรและประมง สินค้าเกษตรนำเข้าจากอาเซียน เช่น ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ส่งผลกระทบต่อรายได้เกษตรกรไทย สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าที่ใช้แรงงานราคาถูกจากอาเซียนตีตลาดไทยและแย่งตลาดไทย เช่น เสื้อผ้า เครื่องหนัง รองเท้า เป็นต้น ภาคบริการ LSEs และ SMEs ไทยต้องแข่งขันกับธุรกิจจากอาเซียนมากขึ้น เช่น ธุรกิจโรงแรม สปา ร้านอาหาร การเงิน การธนาคาร แรงงานทักษะจากอาเซียนมาแย่งการทำงานคนไทยมากขึ้น ผลกระทบ ผลกระทบ ผลกระทบ โอกาส โอกาส โอกาส ได้วัตถุดิบคุณภาพดีจากอาเซียน มาเพิ่มมูลค่าสินค้าไทย เลือกใช้ฐานการเพาะปลูกเพื่อลดต้นทุนในอาเซียน อาศัยสิทธิประโยชน์ทางการค้าเพื่อใช้การผลิตสินค้าไทยในประเทศเพื่อนบ้าน ได้วัตถุดิบคุณภาพดีจากอาเซียน มาเพิ่มมูลค่าสินค้าไทย ย้ายฐานการผลิตไปอาเซียน ร่วมลงทุนในอาเซียนเพื่อใช้สิทธิประโยชน์ด้านการค้า ตลาดขยายจาก 68 ล้านคน เป็น 600 ล้านคน สาขาบริการที่มีศักยภาพเช่น โรงแรม สุขภาพ อาหาร การก่อสร้าง สามารถขยายการลงทุนในอาเซียนได้มากขึ้น แรงงงานทักษะ เช่น วิศวกร แพทย์ พยาบาล ย้ายไปทำงานในอาเซียนมากขึ้น 23 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

24 นโยบายกระทรวงพาณิชย์เพื่อรองรับการรวมกลุ่มเศรษฐกิจอาเซียน
วิสัยทัศน์กระทรวงพาณิชย์ : “เศรษฐกิจการค้าของประเทศมีความก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน เพื่อความอยู่ดีกินดีของคนทั้งประเทศ” ยุทธศาสตร์การค้าไทย กระทรวงพาณิชย์ 10 ข้อ 1. ปรับโครงสร้างการผลิตและกระตุ้นให้เกิดการลงทุน 2. พัฒนาการค้าให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม และสร้างประสิทธิภาพกลไกการตลาด เพื่อเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร 3. พัฒนาระบบตลาด และขยายช่องทางการค้า 4. เพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวและการแข่งขันของผู้ประกอบการ ทุกระดับโดยเฉพาะ SMEs 5. สนับสนุนให้องค์ประกอบทางการค้าเอื้อต่อความสามารถในการแข่งขัน 6. เสริมสร้างพาณิชย์ภูมิปัญญา 7. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและค้าชายแดน 8. พัฒนาการค้าระหว่างประเทศของไทยให้ก้าวหน้า 9. สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและ วิกฤตภาวะโลกร้อน 10. รองรับและใช้ประโยชน์การเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 24 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

25 กิจกรรม/แผนงาน/โครงการ
กลยุทธ์/แผนงาน/โครงการกระทรวงพาณิชย์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ AEC ปีงบประมาณ 2555 ยุทธศาสตร์การค้าไทย : รองรับและใช้ประโยชน์การเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหมาย : การขยายสัดส่วนการค้าไทยกับอาเซียนจากร้อยละ 20 ในปัจจุบัน เป็นร้อยละ 30 ของยอดรวมการค้ากับต่างประเทศในปี 2558 ตัวชี้วัด : อัตราการขยายตัวทางการค้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ กลยุทธ์ กิจกรรม/แผนงาน/โครงการ 1. พัฒนาระบบและฐานข้อมูลการลงทุน เพื่อส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้า บริการและการลงทุน จัดทำเว็ปไซต์และ IP Portal ของอาเซียน 2. เตรียมระบบทรัพย์สินทางปัญญาไทยรองรับ AEC 2. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐของไทยและอาเซียนให้แน่นแฟ้น สร้าง/พัฒนาผู้ประกอบการของประเทศเพื่อนบ้าน การสร้างความสัมพันธ์กับประเทศกลุ่มอาเซียน ร่วมกันพัฒนาระบบทรัพย์สินทางปัญญาของอาเซียนให้สอดคล้องกัน 3. ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายพันธมิตรระหว่างธุรกิจไทยและอาเซียน ส่งเสริมผู้ประกอบการไปดำเนินธุรกิจในตลาดอาเซียน 4. ส่งเสริมสินค้าและบริการที่ตรงกับความต้องการของตลาดอาเซียน พัฒนาธุรกิจบริการในตลาดอาเซียน เข้าร่วมงานแสดงสินค้าในตลาดอาเซียน พฤษภาคม 2554 25 ที่มา : สำนักนโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

26 กิจกรรม/แผนงาน/โครงการ
กลยุทธ์/แผนงาน/โครงการกระทรวงพาณิชย์เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ AEC ปีงบประมาณ 2555 กลยุทธ์ กิจกรรม/แผนงาน/โครงการ 4. ส่งเสริมสินค้าและบริการที่ตรงกับความต้องการของตลาดอาเซียน 3. ส่งเสริมการขายร่วมกับห้างสรรพสินค้าในอาเซียน 4. คณะเจรจาการค้าในอาเซียน 5. จัดงานแสดงสินค้าในตลาดอาเซียน 6. พัฒนาตลาดภายในประเทศสู่การเป็น AEC 5. ยกระดับภาพลักษณ์ของสินค้าและบริการไทยและส่งเสริมการสร้างตราสินค้า จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความก้าวหน้าการเตรียมความพร้อมระบบทรัพย์สินทางปัญญาของไทยสำหรับการจัดตั้ง AEC 6. ส่งเสริมการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการไทย สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการไทยเพื่อเพิ่มศักยภาพในการค้ากับประเทศในกลุ่มอาเซียน สนับสนุนผู้ประกอบการไทยเพิ่มศักยภาพในการค้ากับกลุ่มอาเซียน สนับสนุนผู้ประกอบการ/ผู้ส่งออกไทยจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาในอาเซียน 7. การเจรจาภายใต้กรอบ AEC เพื่อขยายการค้าการลงทุนในภูมิภาคอาเซียน การจัดประชุมอาเซียน พฤษภาคม 2554 26 ที่มา : สำนักนโยบายและแผน สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

27 หน่วยงานในสังกัด : สำนักงานในต่างประเทศ
N.AMERICA L.AMERICA E.EUROPE CHINA E.ASIA & OCEANIA S.ASIA ASEAN & PACIFIC AFRICA 1 7 1 3 14 5 8 4 9 1 คณะผู้แทนถาวรไทยประจำองค์การการค้าโลก (1 แห่ง) สำนักงานพาณิชย์ในต่างประเทศ (3 แห่ง) สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (62 แห่ง) 27 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

28 หน่วยงานในสังกัด : สำนักงานในภูมิภาค
75 จังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด สำนักงานการค้าภายในจังหวัด สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัด ศูนย์ส่งเสริมการส่งออก 5 แห่ง สำนักงานการค้าต่างประเทศ 6 แห่ง สำนักงานสาขาชั่งตวงวัด 24 แห่ง ศูนย์ชั่งตวงวัดภาค 3 ศูนย์ 28 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

29 ทุนจดทะเบียน ล้านบาท (%)
จำนวนนิติบุคคลในแต่ละภาค อันดับที่ ภาค จำนวนราย (%) ทุนจดทะเบียน ล้านบาท (%) 1 กรุงเทพมหานคร 223,802 (46%) 6,140,640 (66%) 2 ภาคกลาง (ไม่รวม กทม.) 94,493 (20%) 1,247,608 (14%) 3 ตะวันออก 45,452 (9%) 915,738 (10%) 4 ใต้ 42,654(9%) 289,502 (3%) 5 ตะวันออกเฉียงเหนือ 32,998 (7%) 311,128 (3%) 6 เหนือ 31,036 (6%) 218,931 (2%) 7 ตะวันตก 12,256 (3%) 150,827 (2%) รวม 482,691 (100%) 9,274,374 (100%) ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ข้อมูล ณ มีนาคม 2554 29 พฤษภาคม กระทรวงพาณิชย์

30 Thank You 30


ดาวน์โหลด ppt ASEAN Becomes Single Market

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google