งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเขียนรายงานทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเขียนรายงานทางวิชาการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเขียนรายงานทางวิชาการ
การปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สัจจานันท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา ใจกว้าง

2 รายงานทางวิชาการ (1) การศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
การประมวลความรู้ ทฤษฎี หลักวิชาการ และประสบการณ์ การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ข้อมูล

3 รายงานทางวิชาการ (2) การนำเสนอเนื้อหาอย่างมีระบบ การใช้ภาษาวิชาการ
การอ้างอิงตามแบบแผน

4 ตัวอย่างรายงานทางวิชาการ
รายงานการศึกษา รายงานการวิเคราะห์ รายงานทางเทคนิค รายการวิจัย กรณีศึกษา วิทยานิพนธ์ การศึกษาค้นคว้าอิสระ

5 วัตถุประสงค์ของรายงานทางวิชาการ
เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการให้ กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น พัฒนาทักษะการค้นคว้าและการเขียนรายงาน ทางวิชาการ พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมีระบบ ส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

6 กระบวนการเขียนรายงานทางวิชาการ
การเลือกหัวข้อเรื่อง การกำหนดโครงเรื่อง การสำรวจแหล่งข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การเรียบเรียงเนื้อหา

7 การเลือกหัวข้อเรื่อง

8 การเลือกหัวข้อเรื่องรายงานทางวิชาการ
อาจารย์กำหนด นักศึกษากำหนดเอง

9 การพิจารณาเลือกหัวข้อเรื่อง
ความสำคัญ และความสนใจ ขอบเขตของเรื่อง แหล่งข้อมูล ความเป็นไปได้ และเงื่อนไข

10 ความสำคัญ และความน่าสนใจ
ต่อตนเอง ต่อองค์กร ต่อวงวิชาการหรือวิชาชีพ ต่อสังคม

11 ขอบเขตของเรื่อง ประเด็นหลัก ประเด็นรอง ระยะเวลา สถานที่ กรณีศึกษา

12 แหล่งข้อมูล การเข้าถึงข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล

13 ความเป็นไปได้และเงื่อนไข
ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ข้อมูลและแหล่งข้อมูล ข้อกำหนดในด้านระยะเวลา เช่น กำหนดส่งงาน จำนวนหน้า

14 การกำหนดโครงเรื่อง

15 โครงเรื่อง เค้าโครงเรื่องงานเขียน เปรียบเสมือนพิมพ์เขียว ของการก่อสร้าง แนวคิดหรือหัวข้อสำคัญ แนวทางเก็บรวบรวมข้อมูล

16 ประโยชน์ของโครงเรื่อง (1)
ช่วยให้รายงานมีเอกภาพ สารัตถภาพ และ สัมพันธภาพ ช่วยเน้นย้ำประเด็นสำคัญได้อย่างเหมาะสมและ มีเนื้อหาได้สัดส่วน ไม่ให้”ข้อมูลพาไป”

17 ประโยชน์ของโครงเรื่อง (2)
ช่วยให้เนื้อหาครบถ้วน สมบูรณ์ตามหัวข้อขอบเขต ประเด็นสำคัญที่กำหนด ช่วยให้รายงานมีความน่าอ่าน เข้าใจง่าย เพราะจัดความรู้ ความคิด อย่างเป็นระบบ

18 การจัดลำดับโครงเรื่อง
เรื่องกว้าง ๆ เรื่องใหญ่ หรือเรื่องทั่วไปสู่เรื่องเฉพาะ เรื่องเฉพาะสู้เรื่องกว้าง ๆ หรือเรื่องทั่วไป ตามความสำคัญ ตามเหตุการณ์หรือระยะเวลา ตามเหตุและผล ตามสถานที่หรือทิศทาง

19 รูปแบบของโครงเรื่อง ๐ ระบบตัวเลข ๐ ระบบตัวเลขผสมตัวอักษร ความนำ ความนำ
๐ ระบบตัวเลข ๐ ระบบตัวเลขผสมตัวอักษร ความนำ ความนำ เนื้อเรื่อง เนื้อเรื่อง 1.(หัวข้อสำคัญ) ………………………... 1.1(หัวข้อรอง) ก. ………………………. 1.1.1 (หัวข้อย่อย) )…………………….. 1)………………… (ก)………………….. 2)……………….. (1)………………… 1.1.2 (หัวข้อย่อย) (2)………………… 1)……………… (ข)……………………. 2)……………… )……………………….

20 ตัวอย่าง รูปแบบของโครงเรื่อง
1. ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการจัดการสารสนเทศ 1.1 ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับสังคมดิจิทัล การจัดการสารสนเทศ และความรู้ 1.1.1 สังคมดิจิทัล 1.1.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 1.2 ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการจัดการสารสนเทศและความรู้ ในองค์การ 1.2.1 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและความรู้ในองค์การ 1.2.2 การจัดการสารสนเทศของสถาบันบริการสารสนเทศ

21 การสำรวจแหล่งข้อมูล

22 รูปแบบและที่มาของข้อมูล
รูปแบบของข้อมูล สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บุคคล ที่มาของข้อมูล ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ

23 ลักษณะของข้อมูล ข้อมูลเนื้อหา ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลภาพ: กราฟิก

24 แหล่งบริการเอกสารข้อมูล
ห้องสมุด สถาบันสารสนเทศประเภทต่าง ๆ หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ค้นคว้า วิจัย สมาคมวิชาการ วิชาชีพ สถานปฏิบัติการ อินเทอร์เน็ต

25 การค้นคว้าและเข้าถึงแหล่งข้อมูล
โอแพค (OPAC) -->หนังสือ สื่อการศึกษาของห้องสมุด โปรแกรมค้นหา -->เว็บไซต์ (www) (search engine) บรรณานุกรม -->หนังสือ ดรรชนีวารสาร --> บทความในวารสาร ดรรชนีและสาระสังเขป-->หนังสือ บทความในวารสาร เอกสารรายงานทางวิชาการ นามานุกรม -->ชื่อองค์กร หน่วยงาน สถาบัน

26 การรวบรวมข้อมูล

27 การประเมินแหล่งข้อมูล
ผู้รับผิดชอบเนื้อหา เช่น ผู้เขียน ผู้จัดทำบรรณาธิการ ผู้จัดพิมพ์ ปีที่พิมพ์และครั้งที่พิมพ์ ข้อมูลอื่น ๆ เช่น การได้รับรางวัล ยูอาร์แอล เป็นต้น

28 ลักษณะข้อมูลทางวิชาการที่ดี
ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ทันสมัย เที่ยงตรง

29 การรวบรวมข้อมูล

30 การรวบรวมข้อมูล เอกสารกระดาษ : สมุดโน๊ต บัตรรายการ
เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ : บันทึกรายการบรรณานุกรมจากโอแพ็ก : บันทึกเว็บเพจเป็นไฟล์, Favorites

31 ตัวอย่าง บัตรบรรณานุกรมหนังสือ
LB วัลลภ สวัสดิวัลลภ เทคนิคการค้นคว้าและเรียบเรียง รายงานและผลงานทางวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ ว58ท กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์บรรณกิจ 2538 (มสธ.)

32 ตัวอย่าง บัตรดรรชนีวารสาร
ชุติมา สัจจานันท์ “พัฒนาการการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย” วารสารห้องสมุด 42, 1 (มกราคม-มีนาคม 2541) 9-25 (มสธ.)

33 การบันทึกรายการบรรณานุกรมจากโอแพ็ก
ค้นสารสนเทศที่ต้องการจากโอแพ็ก เช่น โอแพ็กของสำนักบรรณสารสนเทศ เลือกรายการที่ต้องการ โดยใช้ Select to add record to cart คลิก save to cart คลิก cart ที่แถบเมนู เลือก save cart หรือ ก่อนคลิก summit ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลตามต้องการ

34 ตัวอย่างการบันทึกรายการบรรณานุกรมจาก โอแพ็ก
ตัวอย่างการบันทึกรายการบรรณานุกรมจาก โอแพ็ก

35 การจดบันทึก การจดบันทึกแบบคัดลอกจากข้อความ โดยตรง
การจดบันทึกแบบคัดลอกจากข้อความ โดยตรง การจดบันทึกแบบสรุปความ การจดบันทึกแบบถอดความ

36 บัตรบันทึก การประชุม อุทัย หิรัญโต “การจัดการประชุม” หน้า 2-7
อุทัย หิรัญโต “การจัดการประชุม” หน้า 2-7 …………………………………………………………… …………………………………….………………………………... ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………….

37 บันทึกเว็บเพจเป็นไฟล์ (1)
เลือกเว็บไซต์ที่ได้จากการใช้โปรแกรมค้นหา (search engiene) หรือ สารบบเรื่อง หรือ ด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อได้เว็บไซต์ที่ต้องการ คลิก File ที่แถบเมนู เพื่อเลือก save as เลือกบันทึกเว็บไซต์บนไฟล์หรือ folder ที่ต้องการ เมื่อต้องการไปที่เว็บไซต์ที่เก็บไว้ก็สามารถคลิกที่ไฟล์นั้น ได้ทันที

38 บันทึกเว็บเพจเป็นไฟล์ (2)

39 การจัดเก็บรายชื่อเว็บไซต์
Favorites การแสดงรายชื่อและ URL ของเว็บเพจที่เคยค้น และเข้าไปดูแล้ว และสั่งให้บันทึกเก็บไว้ตามหัวข้อ ที่กำหนด

40 การใช้ Favorites (1) บนเวิล์ดไวด์เว็บที่เป็นเว็บไซต์ด้วยโปรแกรมค้นหา (search engine) เช่น ค้นหัวข้อที่ต้องการ เลือกเว็บไซต์ที่ตรงกับหัวข้อที่ต้องการ คลิก Favorites ที่ แถบเมนู (menu bar) เลือกหัวข้อ Organize Favorites

41 การใช้ Favorites (2) เลือกหัวข้อ Create Folder

42 การใช้ Favorites (3)

43 การเรียบเรียงเนื้อหา

44 ข้อควรพิจารณาในการเรียบเรียงเนื้อหา
การประมวล วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ ภาษาวิชาการ ภาพ แผนภูมิ แผนภาพ ตัวเลข สถิติ การอ้างอิง การรับรู้ทางลิขสิทธิ์ ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ

45 ลักษณะรายงานทางวิชาการที่ดี
เนื้อหา ภาษาและการนำเสนอ รูปแบบและส่วนประกอบ

46 เนื้อหา ตอบประเด็นสำคัญหรือคำถามของโจทย์หรือเรื่อง
แสดงถึงความรู้ทางวิชาการ การศึกษาค้นคว้า เสนอแนวคิด ทฤษฎี ทรรศนะทางวิชาการอย่างมีระบบ มีข้อมูล ข้อเท็จจริง หลักฐานอ้างอิง มีเอกภาพ สารัตถภาพ และสัมพันธภาพ

47 ภาษา ภาษาเขียน ถูกต้องตามหลัก การใช้ภาษา ภาษาวิชาการ กะทัดรัด ชัดเจน
ใช้ศัพท์บัญญัติ

48 ส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ
ส่วนนำ ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนท้าย

49 ส่วนนำ ปกนอก ปกใน คำนำ สารบัญ สารบัญตาราง แผนภูมิ แผนภาพ และภาพประกอบ

50 ตัวอย่าง ปกรายงานทางวิชาการ
สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ ชุดวิชา การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ รายงานฉบับที่………… เรื่อง……………………………………… ภาคการศึกษาที่ 1/2548 ชื่อนักศึกษา……………………………………. รหัสประจำตัวนักศึกษา…………………………. สถานที่เข้ารับการสัมมนาเสริม/สัมมนาเข้ม……………………… วันที่……………………………….

51 ส่วนเนื้อเรื่อง บทนำ เนื้อหา สรุป

52 ส่วนท้าย บรรณานุกรม ภาคผนวก (ถ้ามี)

53 การอ้างอิงในรายงานทางวิชาการ
ความรู้ รายงานทางวิชาการ ประสบการณ์ การศึกษา ค้นคว้า การอ้างอิง

54 วัตถุประสงค์ของการอ้างอิง
แสดงการรับรู้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่น เพิ่มพูนความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล และเนื้อหาสาระโดยรวม ช่วยให้ผู้อ่านทราบแหล่งที่มาของข้อความ สามารถตรวจสอบหลักฐานเดิมหรือค้นคว้า หาอ่านเพิ่มเติมได้

55 การเลือกและประเมินค่าแหล่งอ้างอิง
ผู้เขียน/ผู้จัดทำ/บรรณาธิการ ผู้จัดพิมพ์ เผยแพร่ ครั้งที่พิมพ์/ปีที่พิมพ์ ข้อมูลประกอบอื่น ๆ

56 การอ้างอิง อ้างอิงตามความเป็นจริง อ้างอิงตามความจำเป็น อ้างอิงตามสมควร
อ้างอิงให้ครบถ้วน

57 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การเขียนผลงานทางวิชาการ
พระราชบัญญัติการพิมพ์ พุทธศักราช 2484 พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช 2537

58 วิธีการอ้างอิง เชิงอรรถ (footnotes)
การแทรกปนเนื้อหา (ระบบนาม-ปี และ ระบบหมายเลข) ท้ายบท (endnotes) บรรณานุกรม (bibliography) เอกสารอ้างอิง (references)

59 คู่มือการเขียนอ้างอิง
American Psychological Association. (APA) Publication Manual of the American Psychological Association. 5th ed. Washington, D.C.: American Psychological Association, 2001. Li, X. and Crane, N. B. Electronic Style: A Guide to Citing Electronic Information. Westport: Meckler, 1993. Turabian, Kate L. A Manual for Writes. 6 th ed. Chicago: The University of Chicago Press, 1996. University of Chicago Press. The Chicago Manual of Style. 14th ed. Chicago: University of Chicago Press, 1993.

60 วิธีการเขียนอ้างอิงตามแบบ มสธ.
การแทรกปนเนื้อหาระบบนาม-ปี บรรณานุกรม - คู่มือการเขียนอ้างอิง คู่มือการเขียนรายงานวิชาการ คู่มือการพิมพ์วิทยานิพนธ์

61 บรรณานุกรม บรรณานุกรมสมบูรณ์ บรรณานุกรมเลือกสรร บรรณานุกรมอ้างอิง

62 บรรณานุกรมหนังสือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ (ถ้าพิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป) ชื่อชุดหนังสือ และลำดับที่ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ประคอง กรรณสูตร สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2538 Gibaldi, J. MLA Handbook for Writers of Research Paper. New York: The Modern Language Association of America, 1999.

63 บรรณานุกรมหนังสือแปล
เบอร์เนทท์, แฟรนซิล เอช ลอร์ดน้อยฟอนเติ้นรอย แปลจาก Litte Lord Fountleroy โดย เนื่องน้อย ศรัทธา (บุญเนื่อง บุญยเนตร) พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร การพิมพ์สตรีสาร 2530

64 บรรณานุกรมบทความในหนังสือ
ชื่อผู้เขียนบทความ “ชื่อบทความ” ใน ชื่อหนังสือ ชื่อบรรณาธิการ (ถ้ามี) สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ เลขหน้าที่ปรากฏบทความ หน้าใดถึงหน้าใด วิรัตน์ สุทธิภาค “การโทรคมนาคม: มิติใหม่สำหรับวิธีการพัฒนาประเทศ” ใน วันสื่อสารแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร การสื่อสารแห่งประเทศไทย 2532 หน้า

65 บรรณานุกรมบทความในเอกสาร
ชื่อผู้เขียนบทความ “ชื่อบทความ” ชื่อวารสาร ปีที่, เดือน ปี เลขหน้าที่ บทความปรากฏ วิชัย พยัคฆโส “นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย” วารสาร สุโขทัยธรรมาธิราช 10, กันยายน-ธันวาคม 2540 หน้า 5-19

66 บรรณานุกรมบทความในหนังสือพิมพ์
ชื่อผู้เขียนบทความ “ชื่อบทความ” ชื่อหนังสือพิมพ์ วัน เดือน ปี เลขหน้า ที่ปรากฏบทความ น.รินี เรืองหนู “เปิดผลวิจัย ชีวิตคนกวาดถนน-ขนขยะ กทม. อะไรที่เขา ต้องการ” มติชนรายวัน 26 กรกฎาคม หน้า 5

67 บรรณานุกรมบทความในสารานุกรม
ชื่อผู้เขียนบทความ “ชื่อบทความ” ใน ชื่อสารานุกรม ฉบับพิมพ์ (ถ้ามี) หมายเลขเล่มที่ปรากฏบทความ (ปีที่พิมพ์) เลขหน้าของบทความ ก่องแก้ววีระประจักษ์ “ลายสือไทย” ใน สารานุกรมสุโขทัยศึกษา 2 (2539) หน้า

68 บรรณานุกรมบทความในจุลสาร
ก.พ.ม สำนักงาน “ข้อบังคับก.พ. ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2527” กรุงเทพมหานคร สำนักงาน ก.พ (จุลสาร)

69 บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์
ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์ “ชื่อวิทยานิพนธ์” วิทยานิพนธ์ระดับใด ชื่อแผนกวิชา หรือภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ ปิยะนาถ สระสงคราม “บริการวารสารห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2541

70 บรรณานุกรมการสัมภาษณ์
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์ ตำแหน่ง (ถ้ามี) สัมภาษณ์โดย ชื่อผู้สัมภาษณ์ วัน เดือน ปี พรสิทธิ์ พัฒธนานุรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช สัมภาษณ์โดย สมกาญจนาพร จิตรไพศาล 12 ตุลาคม 2544

71 บรรณานุกรมการอ้างเอกสารอันดับรอง รูปแบบที่ 1
สถิติแห่งชาติ สำนักงาน การสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2524 กรุงเทพมหานคร สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2521 อ้างถึงใน ชุติมา สัจจานันท์ และสุนทรี ศุภวงศ์ เยาวชน: บรรณนิทัศน์เพื่อการค้นคว้าและบริการ สารสนเทศ กรุงเทพมหานคร สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ 2528

72 บรรณานุกรมการอ้างเอกสารอันดับรอง รูปแบบที่ 2
ชุติมา สัจจานันท์ และสุนทรี ศุภวงศ์ เยาวชน: บรรณนิทัศน์เพื่อการค้นคว้า และบริการสารสนเทศ กรุงเทพมหานคร สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ 2528 อ้างจาก สำนักงานสถิติแห่งชาติ การสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและ เยาวชน พ.ศ กรุงเทพมหานคร สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2521

73 บรรณานุกรมโสตทัศนวัสดุ
ชื่อผู้จัดทำ หน้าที่ความรับผิดชอบ ชื่อเรื่อง (ลักษณะของโสตทัศนวัสดุ) สถานที่ผลิต หน่วยงานที่ผลิต ปีที่ผลิต รายละเอียดของโสตทัศนวัสดุนั้น ๆ Mitchell, D.H. Mushrooms. (Microform) No, 1, Mycology. Denver: Poisinde, 1974. Africa. (Map) Chicago: Denoyer Geppert, 1972. History of flight. (Chart) Columbus, Ohio: Ross Lagoralories, 1990.

74 บรรณานุกรมเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อผู้เขียน ชื่อเอกสาร (ประเภท) สถานที่ หน่วยงานที่เผยแพร่ ค้นคืน วัน เดือน ปี แหล่งที่เข้าถึง Chun Wei Choo, Detlor, Brian and Turnbull, Don. “Information Seeking on the Web: An Integrated Model of Browsing and Searching.” Retrieved June 6, 2005, from issue5_2/choo/

75 บรรณานุกรมบทความวารสาร/หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อผู้เขียน “ชื่อบทความ” ชื่อวารสาร/นิตยสาร/นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ปีที่ (วันเดือน ปี) ค้นคืนวัน เดือน ปี แหล่งที่เข้าถึง Stone, Jennifer. “Stocking You GIS Data Library.” Issue in Science & Technology Librarianship. 5 (Winter 1999) Retrieved Apirl 2, 2001, from Church, G.L. “The View From Behind Bars.” Time. (Fall 1993): pp (online) Retrieved May 14, 2001, from DIALOG File: Magazine ASAP (647) hem:

76 บรรณานุกรมบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ งานวิจัยจากฐานข้อมูลออนไลน์
ชื่อผู้เขียน “ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์/งานวิจัย” ระดับการศึกษา สาขาวิชา สถาบัน ปีที่เผยแพร่ (ประเภทของสื่อ) ค้นคืนวัน เดือน ปี แหล่งที่มาของบทคัดย่อ พลวีรย์ สยามชัย “การพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดซื้อ” วิทยานิพนธ์ปริญญา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542 (ออนไลน์) สาระสังเขป ค้นคืนวันที่ 20 มีนาคม 2546 จาก

77 บรรณานุกรมบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ งานวิจัยจากฐานข้อมูลซีดีรอม
สุกัญญา ธาราวัชรศาสตร์ “ความต้องการความรู้ทางสารนิเทศศาสตร์ของนักเอกสาร สารสนเทศในห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย” วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ซีดีรอม) สาระสังเขป ค้นคืนวันที่ 12 ตุลาคม จากฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี แผ่นที่ 2

78 บรรณานุกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (1)
ผู้ส่ง (ที่อยู่ในระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์) “เรื่องของจดหมาย” ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ถึงชื่อผู้รับ (ที่อยู่ในระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์) วันที่ เดือน ปีของจดหมาย Chutima Sacchanand. “IFLA Conference.” to Trish Gray October 13, 2001.

79 บรรณานุกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (2)
ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง (ประเภทของสื่อ) ค้นคืนวัน เดือน ป แหล่งที่มาของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ชื่อแฟ้ม Gaylord, H. ISO (Online) Retrieved May 18, 2001, from Message: Get ISO STANDARDS

80 การอ้างอิงตาราง แผนภูมิ
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างปัญญาประดิษฐ์ และปัญญามนุษย์ ปัญญาประดิษฐ์ ปัญญามนุษย์ 1. ……… ………. 2. ………… ………. 3. ………… ………. ที่มา: สำรวย กมลายุตต์ “หน่วยที่ 11 การค้นคืนสารสนเทศในยุคดิจิทัล” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ เล่มที่ 3 นนทบุรี สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545.

81 การอ้างอิงภาพประกอบ ภาพที่ 1 จานรับสัญญานดาวเทียม ที่มา: Tanenbaum, Andrew. Computer Network. 2 nd ed. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall, 1999.

82 รายงานทางวิชาการที่ดี
ครอบคลุมประเด็นคำถามและเป็นไปตามข้อกำหนด มีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลอย่างกว้างขวาง มีการเชื่อมโยงหรือประยุกต์แนวคิด ทฤษฎี ผลการวิจัย หลักวิชาการและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ประเด็นอย่างมีเหตุผล มีการอ้างอิงอย่างเป็นระบบ มีเนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย เสนอแนวคิดใหม่หรือที่เป็นประโยชน์


ดาวน์โหลด ppt การเขียนรายงานทางวิชาการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google