งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประวัติศาสตร์โลกยุคใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประวัติศาสตร์โลกยุคใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประวัติศาสตร์โลกยุคใหม่
ศ. 16 : ศ. 17 : ศ. 18 : ศ. 19 : ศ. 20 : ปฏิรูปศาสนา + การสำรวจดินแดน นักคิด + นักวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม + โรงงาน จักรวรรดินิยม (ล่าอาณานิคม) ยุคแห่งสงครามและความตรึงเครียด

2 ยุคแห่งความขัดแย้งและตรึงเครียด
ศตวรรษที่ 20 ยุคแห่งความขัดแย้งและตรึงเครียด

3 ต้นศตวรรษที่ 20 ยุคแห่งสงครามโลก

4 ปลายศตวรรษที่ 20 ยุคแห่งสงครามเย็น

5 ยุคแห่งสงครามโลก C.E.

6 Century 20 Timeline

7 Imperialism and the Balance of Power

8 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1  Central Powers / Triple Alliance ฝ่ายไตรพันธมิตร / ฝ่ายมหาอำนาจกลาง 4,386,000 Allied (Entente) Powers / Triple Entente) ฝ่ายพันธมิตร 5,525,000

9

10

11 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1   - เศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ทั่วโลก - ต้องทำสัญญาสันติภาพ - ผู้แพ้ต้องเสียค่าปฏิกรรมสงคราม - เสียดินแดนทั้งในยุโรปและอาณานิคม (เสียดินแดนที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ) - ต้องลดกำลังทหาร อาวุธ และต้องถูกพันธมิตรเข้ายึดครอง ดินแดนจนกว่าจะปฏิบัติตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเรียบร้อย (ถูกจำกัดกำลังทหารและห้ามสะสมอาวุธ ) - มีการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติ

12 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1   สัญญาสันติภาพ สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (Versailles Treaty) ทำกับเยอรมัน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1919 สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมง ทำกับออสเตรีย สนธิสัญญาเนยยี ทำกับบัลแกเรีย สนธิสัญญาตริอานอง ทำกับฮังการี สนธิสัญญาแซฟส์ ทำกับตุรกี ภายหลังตุรกีขอแก้ไขสัญญาใหม่เป็นสนธิสัญญาโลซานน์

13 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1   แผนที่ยุโรปเปลี่ยนไป ประเทศยุโรปหลายแห่งต่างเป็นลูกหนี้ของสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาเริ่มก้าวสู่ความเป็นประเทศมหาอำนาจเต็มตัว รัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) เลนินทำการปฏิวัติยึดอำนาจในปี ค.ศ ขยายอำนาจไปผนวกแคว้นต่างๆมากขึ้นเช่น ยูเครน เบลารุส ฯลฯ จัดตั้งสหภาพโซเวียต (USSR) ในปี ค.ศ รัสเซีย > สหภาพโซเวียต

14 สงครามโลกครั้งที่ 2 World War II ค.ศ. 1939-1945

15 WW II

16 มหาอำนาจในโลก (Great Power) ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
U.K. France Russia Austria-Hungary Germany Italy Ottoman Turk USA Japan China

17 มหาอำนาจในโลก (Great Power) สงครามโลกครั้งที่ 2
U.K. France U.S.S.R (Soviet) USA China Germany Italy Japan

18

19 ประเทศหลังยุคอาณานิคม

20 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2   เกิดมหาอำนาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นประเทศมหาอำนาจเต็มตัวคู่กับสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ( USSR ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) สหรัฐอเมริกา ( USA ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกเสรี(โลกเสรีประชาธิปไตย) ทำให้เกิดสงครามเย็น(Cold War)

21

22 โลกยุคปลายศตวรรษที่ 20 ยุคแห่งความตรึงเครียด ยุคสงครามเย็น Cold War

23 สงครามเย็น THE COLD WAR

24

25 มหาอำนาจในโลก (Great Power) ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
U.K. France U.S.S.R (Soviet) Austria-Hungary Germany Italy Ottoman Turk USA Japan China

26 COLD WAR   เกิดมหาอำนาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นประเทศมหาอำนาจเต็มตัวคู่กับสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ( USSR ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) สหรัฐอเมริกา ( USA ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกเสรี(โลกเสรีประชาธิปไตย) ทำให้เกิดสงครามเย็น (Cold War)

27 มหาอำนาจในโลก (Great Power) ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
United States of America U.S.A. (US) Union of Soviet Socialist Republics U.S.S.R (Soviet)

28 ผู้นำค่ายโลกเสรีประชาธิปไตย

29 ผู้นำโลกคอมมิวนิสต์

30

31 วิธีการที่ใช้ในช่วงสงครามเย็น
วิธีการที่ใช้ในช่วงสงครามเย็น   1. การใช้แนวคิดหรืออุดมการณ์ โฆษณาชวนเชื่อ 2. เครื่องมือทางทหาร 3. การให้ความช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจ 4. การสร้างอิทธิพลทางการเมือง 5. เครื่องมือทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี

32 นายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิล ของอังกฤษ กล่าวคำปราศรัยที่เมืองฟุลตัน มีการสร้างคำว่า "ม่านเหล็ก" มาใช้เป็นครั้งแรก สหรัฐอเมริกา เขาเริ่มวางแผนสร้าง "แผนมาร์แชล" หรือโครงการฟื้นฟูบูรณะยุโรปขึ้นจุดเริ่มต้นของ "สงครามเย็น" - ผลการประชุมกลุ่มกติกาสัญญาวอร์ซอ ลงมติให้จัดตั้ง "โคมินฟอร์ม(COMINFORM)“

33 รัฐสภาอเมริกัน-ผ่านพระราชบัญญัติแผนมาร์แชล มูลค่า 17,000 ล้านดอลล่าร์เพื่อการช่วยเหลือชาติยุโรปให้ฟื้นตัวจากภัยและความเสียหายอันเกิดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 - สหภาพโซเวียตประกาศปิด(หรือห้ามใช้) เส้นทางคมนาคมทั้งทางรถยนต์และทางรถไฟที่สัญจรไปมาระหว่างเบอร์ลินตะวันตกกับกลุ่มประเทศตะวันตก นี้คือจุดเริ่มต้นของนโยบายการปิดล้อมเบอร์ลิน

34 Marshhall plan

35 Marshhall plan

36

37 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   1. การดำเนินนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต 2. สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ 3. ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ ) 4. สงครามเกาหลี (ค.ศ – 1953) 5. สงครามอินโดจีน (ค.ศ ) เวียดนาม, ลาว, กัมพูชา 6. วิกฤตการณ์คิวบา (Cuban Missile Crisis, 1962)

38 การดำเนินนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต

39 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   การดำเนินนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียตดำเนินนโยบายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าไปในยุโรปตะวันออก เหตุการณ์ที่ถือว่าเป็นการเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต คือ เมื่อสหภาพโซเวียตขยายนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าไปในประเทศตรุกี และกรีซ ซึ่งเป็นเขตอิทธิพลของ อังกฤษ

40

41

42

43

44

45 สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้น ลัทธิคอมมิวนิสต์

46 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ การประกาศใช้นโยบาย “วาทะทรูแมน” ของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการเริ่มต้นของสงครามเย็นของทั้ง 2 ประเทศ นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกายังประกาศแผนการมาร์แชล (Marshall Plan) เพื่อช่วยเหลือประเทศในแถบยุโรปในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและการเมืองให้กลับมาแข็งแกร่งอีกครั้ง

47

48

49 ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ.1949 - 1990)
ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ )

50 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ ) หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง เยอรมนีถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน เยอรมนีเขตที่ปกครองโดยอังกฤษ, ฝรั่งเศส, สหรัฐอเมริกา จึงรวมเข้าด้วยกัน ตั้งเป็น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน (เยอรมันตะวันตก) ฝ่ายที่ปกครองโดยสหภาพโซเวียตก็กลายเป็น ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมันตะวันออก) ในปี ค.ศ.1949

51 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ ) เมืองหลวง คือ กรุงเบอร์ลินออกเป็น 2 ส่วนด้วยเช่นกัน โดยสร้างกำแพงขึ้นกั้นระหว่างเบอร์ลินตะวันตก และ เบอร์ลินตะวันออก กำแพงเบอร์ลินนี้ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็น หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1990 กำแพงเบอร์ลินได้ถูกทำลายลง เยอรมันทั้งสองประเทศก็ผนวกเข้าเป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งถือว่าเป็นการสิ้นสุดของสงครามเย็น

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61

62 คอมมิวนิสต์ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
เยอรมนีตะวันออก(East Germany) ชื่ออย่างเป็นทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (German Democratic Republic : GDR) เยอรมนีตะวันตก (West Germany) ชื่ออย่างเป็นทางการ : สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany : FRG) เมืองหลวง : บอนน์(Bonn) พื้นที่ : 248,577 ตร.กม. ประชากร : 63 ล้าน เมืองหลวง : เบอร์ลิน(ตะวันออก) พื้นที่ : 108,333 ตร.กม. ประชากร : 16 ล้านคน ในช่วงปี ค.ศ ประชาธิปไตย - ค.ศ ทำลายกำแพงเบอร์ลิน - ค.ศ รวมประเทศเยอรมันนีเป็นหนึ่งเดียว เยอรมนี (Germany) ชื่ออย่างเป็นทางการ : สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany) พื้นที่ : 357,050 ตร.กม. ประชากร 80 ล้านคน เมืองหลวง : เบอร์ลิน(Berlin) ปี ค.ศ ถึง ปัจจุบัน

63 ประชาธิปไตย คอมมิวนิสต์ ประชาธิปไตย
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้จบลง นาซีเยอรมันได้พ่ายแพ้และล่มสลาย ประเทศเยอรมนีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยเยอรมนีตะวันตกและเบอร์ลินตะวันตกถูกปกครองโดย ฝรั่งเศส อังกฤษ และ สหรัฐอเมริกา ส่วนเยอรมนีตะวันออกและเบอร์ลินตะวันออก ถูกครองโดย สหภาพโซเวียต ได้เป็นจุดเริ่มต้นของ สงครามเย็น เพราะสหภาพโซเวียตได้ให้ส่วนตะวันออกเป็นการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ ทำให้เกิดการแยกประเทศ และก่อตั้งกำแพงเบอร์ลินเพื่อไม่ให้ประชาชนชาวเยอรมันตะวันออกหลบหนีไปยังฝั่งตะวันตก 9 พฤศจิกายน ค.ศ ในวันดังกล่าวชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนมากได้มารวมตัวกัน ณ กำแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยังเบอร์ลินตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน -  15 มกราคม ค.ศ ชาวเยอรมันจำนวน 1.5 แสน ได้เดินขบวนที่เมืองไลพ์ซิก(Leipzig)เพื่อเรียกร้องให้มีการรวมเยอรมนีทั้ง 2 ฝ่ายเข้าด้วยกัน จากนั้นเยอรมนีตะวันออกก็มีการเลือกตั้งเสรีเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปี เมื่อได้นายกรัฐมนตรีใหม่แล้ว รัฐบาลเยอรมันทั้ง 2 ฝ่าย ก็ได้กำหนดตารางเวลาสำหรับการรวมประเทศด้านการเงิน เศรษฐกิจและสังคม หลังจากนั้นรัฐสภาของเยอรมนีตะวันออกได้ลงคะแนนเสียงสนับสนุนการรวมประเทศ - 31 สิงหาคม ค.ศ ผู้แทนของรัฐบาลทั้ง 2 ฝ่ายได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาการรวมประเทศโดยเยอรมนีตะวันออกยอมให้เยอรมนีตะวันตกเป็นผู้บริหารทั้งประเทศ ทำให้ประเทศเยอรมนีกลับมาเป็นประเทศอธิปไตยหนึ่งเดียวอีกครั้ง - 3 พ.ค รวมประเทศอย่างเป็นทางการ ประชาธิปไตย

64 The Berlin Wall

65 The Berlin Wall

66 Berlin Wall

67 Berlin Wall

68 เครื่องบินสัมพันธมิตรขนส่งอาหารให้กับประชาชนในเบอร์ลินตะวันตก

69 กำแพงเบอร์ลินสร้างในปี ค. ศ
กำแพงเบอร์ลินสร้างในปี ค.ศ แบ่งเบอร์ลินตะวันตกและตะวันออก ออกจากกัน

70 Berlin Wall

71 Berlin Wall

72 สงครามเกาหลี (ค.ศ – 1953)

73 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   สงครามเกาหลี ( ค.ศ.1950 – 1953 ) เกาหลีเหนือ (คอมมิวนิสต์) VS เกาหลีใต้ (ประชาธิปไตย) ผลของสงคราม 1. เกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนที่เส้นขนานที่ 38 คือ เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้ 2. สหรัฐอเมริกาประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนคอมมิวนิสต์ และหันไปสนับสนุนจีนที่ไต้หวันแทน

74 สงครามอินโดจีน (ค.ศ )

75 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   สงครามอินโดจีน (ค.ศ ) ภูมิภาคอินโดจีนในที่นี้ หมายถึง ประเทศเวียดนาม, กัมพูชา, ลาว หลังได้เอกราชจากฝรั่งเศส ก็กลายเป็นสมรภูมิแห่งสงครามตัวแทนของความขัดแย้งขึ้นในภูมิภาคนี้

76

77 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   เวียดนาม (ค.ศ ) การสู้รบระหว่างฝรั่งเศสและขบวนการเวียดมินห์ ที่นำโดยโฮจิมินห์ ชัยชนะของเวียดมินห์ทำอิทธิพลของฝรั่งเศสหมดลง หลังจากนั้นดินแดนทางเวียดนามเหนือที่นำโดโฮจิมินห์ต้องการปกครองประเทศตามระบอบคอมมิวนิสต์ และมีสหภาพโซเวียตและจีนคอมมิวนิสต์ให้ความช่วยเหลือ ส่วนเวียดนามใต้ต้องการการปกครองแบบประชาธิปไตย และมีสหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเหลือ จนนำไปสู่สงครามเวียดนามในเวลาต่อมา โดยการต้องการรวมประเทศของเวียดนามเหนือ และ ต่างฝ่ายต่างได้รับการสนับสนุน จนในที่สุดเวียดนามเหนือก็รวมประเทศได้สำเร็จ และเป็นความพ่ายแพ้ที่สหรัฐอเมริกามีต่อฝ่ายคอมมิวนิวต์เป็นครั้งแรก

78 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น   เวียดนาม (ค.ศ ) กรณีของเวียดนามแสดงให้เห็นถึงการที่สหรัฐอเมริกาเริ่มเข้ามามีบทบาทในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการที่จะสกัดกั้นการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

79 สรุปภาพรวมช่วงสงครามเย็น
สรุปภาพรวมช่วงสงครามเย็น   การสร้างกำแพงเบอร์ลิน ค.ศ. 1961 สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเป็นสองอภิมหาอำนาจ ทวีปยุโรปถูกแบ่งแยกเป็น 2 ฝ่าย ประเทศเยอรมนีถูกแบ่งแยกเป็น 2 ประเทศ สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรหวั่นเกรงว่าสหภาพโซเวียตจะยึดครองยุโรปและเอเชีย สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ การปฏิวัติของคอมมิวนิสต์จีนผืนแผ่นดินใหญ่ ปี ค.ศ จีนแสดงบทบาทเป็นผู้นำกลุ่มประเทศโลกที่ 3 หลังจากขัดแย้งกับ โซเวียต

80 ค.ศ

81 ค.ศ

82

83 วิกฤตการณ์คิวบา (Cuban Missile Crisis, 1962)

84

85

86

87

88

89 การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
- มิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นเป็นผู้นำของสหภาพโซเวียตคนสุดท้าย ในปี ค.ศ. 1985  - การนำนโยบายกลาสนอสต์ (การเปิดกว้างทางการเมือง) และเปเรสเตรอยกา (การวางโครงสร้างเศรษฐกิจใหม่) มาใช้ในโซเวียต - กลุ่มรัฐบาลทะเลบอลติก อันได้แก่ เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย แยกตัวออกไปเป็นเอกราชจากโซเวียต และต่อมาสาธารณะรัฐทยอยแยกตัวออกจากโซเวียต (กลายเป็น 15 สาธารณรัฐ) - ค.ศ. 1991 กอร์บาชอฟโอนอำนาจการบริหารทั้งหมดให้กับประธานาธิบดี แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย และธงชาติสหภาพโซเวียตได้ถูกเชิญลงจากยอดเสาที่พระราชวังเครมลิน อันเป็นการสิ้นสุดสหภาพโซเวียตอย่างสมบูรณ์ (สหภาพโซเวียตล่มสลายลงอย่างเป็นทางการ) - สหภาพโซเวียต ล่มสลายในปี 1991 ทำให้สาธารณะรัฐต่างๆ แบ่งแยกตั้งเป็นประเทศทั้งหมด 15 ประเทศ (รัสเซีย + 14 สาธารณรัฐ)

90

91 Before 1991

92

93

94 ช่วงสงครามเย็น   เหมาเจ๋อตุงนำการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในจีนมาเป็นคอมมิวนิสต์ การขยายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ของฝ่ายโซเวียต การดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหรัฐอเมริกา ใช้สงครามตัวแทน(Poxy war)ช่วงชิงความได้เปรียบระหว่างกันในกลุ่มประเทศโลกที่สาม การเผชิญหน้าในวิกฤตการร์คิวบา (ค.ศ. 1962) สหรัฐอเมริกาเพลี่ยงพล้ำในสงครามเวียดนามและต้องถอนตัวออกจากสงคราม (ค.ศ. 1975) สหภาพโซเวียตบุกอัฟกานิสถานและต้องถอนตัวออกจจากอัฟกานิสถาน(ค.ศ ) สหรัฐอเมริกาเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางทหารและวิทยาศาสตร์ ประชาธิปไตยเบ่งบานและคอมมิวนิสต์เหี่ยวเฉาช่วงปลายสงครามเย็น สหภาพโซเวียตล่มสลาย เป็นจุดสิ้นสุดช่วงสงครามเย็น


ดาวน์โหลด ppt ประวัติศาสตร์โลกยุคใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google