งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม

2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนด์
ทฤษฎีการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนด์ Povlov Thorndike Watson Skinner

3 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบคลาสสิค
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบคลาสสิค

4 พฤติกรรมเรสปอนเดนส์ (Respondent Behavior)
หมายถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้า พฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งจะสามารถสังเกตได้ และทฤษฎีที่นำมาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้ เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theory)

5 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ (Classical Conditioning Thoery )
การเรียนรู้เกิดจากการนำสิ่งเร้าที่เป็น CS และUCS มาเสนอควบคู่กัน และสิ่งเร้านั้นมีลักษณะ ที่เป็นแรงเสริมตามธรรมชาติ

6

7

8 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคชองวัตสัน ( Watson )
การเรียนรู้เกิดจากความใกล้ชิดของสิ่งเร้ากับ การตอบสนองโดยไม่จำเป็นต้องมีการเสริมแรง การทดลอง หนูขาวกับอัลเบิร์ต

9 การทดลองเริ่มโดยผู้วิจัยเคาะแผ่นเหล็กให้ดังขึ้นให้เสียงดังกล่าวเป็นสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข (UCS) ซึ่งจะก่อให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCR) คือ ความกลัว Watsonได้ใช้ หนูขาวเป็นสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข (CS) มาล่อหนูน้อยอัลเบิร์ต ซึ่งชอบหนูขาวไม่แสดงความกลัว แต่ขณะที่หนูน้อยยื่นมือไปจับเสียงแผ่นเหล็กก็ดังขึ้น ซึ่งทำให้หนูน้อยกลัว ทำคู่กันเช่นนี้เพียงเจ็ดครั้ง ในระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์ ปรากฏว่าตอนหลังหนูน้อยเห็นแต่เพียง หนูขาวก็แสดงความกลัวทันที

10 ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike)
เป็นเจ้าของทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นความสัมพันธ์ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (S) กับการตอบสนอง (R) เรียกทฤษฎีนี้ว่าทฤษฎีพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับ การตอบสนอง (Connectionism Theory) หรือ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง

11 หลักการเรียนรู้ ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นำแมวไปขังไว้ในกรงที่สร้างขึ้น แล้วนำปลา ไปวางล่อไวนอกกรงให้ห่างพอประมาณ โดยให้แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเขี่ยได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะออกไปจากกรง จนกระทั่งเท้า ของมันไปเหยียบถูกคานไม้โดยบังเอิญ ทำให้ประตูเปิดออก หลังจากนั้นแมวก็ใช้เวลา ในการเปิดกรงได้เร็วขึ้น จากการทดลองธอร์นไดค์อธิบายว่า การตอบสนองซึ่งแมว แสดงออกมาเพื่อแก้ปัญหา ท เป็นการตอบสนองแบบลองผิดลองถูก การที่แมวสามารถ เปิดกรงได้เร็วขึ้น ในช่วงหลังแสดงว่าแมวเกิดการเรียนรู้ด้วยการสร้างพันธะหรือ ตัวเชื่อมขึ้นระหว่างคานไม้กับการกดคานไม้

12 กฎการเรียนรู้ จากการทดลองสรุปเป็นกฎการเรียนรู้ได้ดังนี้
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law o f Exercise) 3. กฎแห่งความพอใจ (Law of Effect)

13 ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทำของสกินเนอร์
Burrhus Skinner เป็นผู้คิดทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ พฤติกรรมส่วนใหญ่ แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง ไม่ใช่เกิดจากการจับคู่ ระหว่างสิ่งเร้าใหม่กับสิ่งเร้า

14 Skinner Box กล่องนี่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมมีคานหรือลิ้นบังคับ
หลักการเรียนรู้ การศึกษาในเรื่องนี้ Skinner ได้สร้างกล่องขึ้นมา มีชื่อเรียนกว่า Skinner Box กล่องนี่เป็นกล่องสี่เหลี่ยมมีคานหรือลิ้นบังคับ ให้อาหารตกลงมาในจาน เหนือคานจะมีหลอดไฟติดอยู่ เมื่อกดคานไฟ จะสว่างและอาหารจะหล่นลงมา Skinner Box นำนกไปใส่ไว้ ในกล่อง และโดยบังเอิญนกเคลื่อนไหวไปถูกคานอาหารก็หล่นลงมา อาหารที่นกได้นำไปสู่การกดคานซ้ำและการกดคานแล้วได้อาหาร

15 สิ่งเร้าใดที่ทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้น
การเสริมแรง สิ่งเร้าใดที่ทำให้พฤติกรรมการเรียนรู้เกิดขึ้น แล้วมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอีก มีความคงทนถาวร ตัวเสริมแรงทางบวก ตัวเสริมแรงทางลบ

16 สมาชิกในกลุ่ม นางสาวนงลักษณ์ เยาวลักษณ์ 493050045 – 3
นางสาวนงลักษณ์ เยาวลักษณ์ – 3 นางสาวเสาวรักษ์ สุตะภักดี – 4 นางสาวธีราภรณ์ สุ่มมาตย์ – 5


ดาวน์โหลด ppt ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google