งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA) โดย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ITA

2 1 ความเป็นมา การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

3 ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA
ปี 2552 สำนักงาน ป.ป.ช. ศึกษากรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้าง เครื่องมือวัดระดับการทุจริตและเพื่อพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใส ลงนามบันทึกข้อตกลงกับคณะกรรมการต่อต้านการทุจริตและสิทธิพลเมือง สาธารณรัฐเกาหลี เพื่อพัฒนาโครงการต่อต้านการทุจริตร่วมกัน (Anti Corruption and Civil Rights Commission: ACRC) ITA

4 ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA (ต่อ)
ปี 2553 เริ่มนำร่องทดลองใช้เครื่องมือดัชนีวัดความโปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (Transparency Index) 8 หน่วยงาน (ราชการส่วนกลาง) ผลการทดลองใช้เครื่องมือดังกล่าว นำมาสู่การพัฒนากรอบแนวคิดใน การประเมินความโปร่งใส ITA

5 ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA (ต่อ)
ปี 2554 14 กรกฎาคม 2554 คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติเห็นชอบให้สำนัก/สถาบัน/ ศูนย์ฯ ศึกษาและเตรียมความพร้อมในการประเมินผลหน่วยงานภาครัฐตามดัชนี วัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ และดำเนินการพัฒนาดัชนี วัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐควบคู่กัน คณะกรรมการ ป.ป.ช. เล็งเห็นจุดแข็งที่มีความใกล้เคียงกันระหว่าง ดัชนีวัดความ โปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ (Transparency Index) และ การประเมินคุณธรรมการ ในการดำเนินงาน (Integrity Assessment) จึงมีมติให้บูรณาการเครื่องมือการ ประเมินที่ใช้ในการต่อต้านการทุจริตทั้ง 2 เครื่องมือเข้าด้วยกัน ใช้ชื่อว่า “ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)” ITA

6 ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA (ต่อ)
ปี 2555 นำเครื่องมือ “การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)” มาทดลอง ใช้ครั้งแรก โดยมีหน่วยงานภาครัฐนำร่อง 4 ประเภท คือ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งสิ้น 8 หน่วยงาน ITA

7 ความเป็นมาและพัฒนาการของ ITA (ต่อ)
ปี 2556 ในการประชุมครั้งที่ /2556 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้มีมติเห็นชอบในหลักการให้นำระบบการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ไปปฏิบัติในปี พ.ศ ITA

8 2 บทบาทของผู้บริหารในการเสริมสร้างคุณธรรมและยกระดับความโปร่งใสในหน่วยงาน

9 2.แถลงนโยบายและแสดงเจตจำนงสุจริตให้สาธารณชนได้รับทราบ
การเสริมสร้างคุณธรรมและยกระดับความโปร่งใส 1.กำหนดและ กำกับติดตาม นโยบายหรือ มาตรการในการ ป้องกันการทุจริต และผลประโยชน์ ทับซ้อน 2.แถลงนโยบายและแสดงเจตจำนงสุจริตให้สาธารณชนได้รับทราบ 8. การส่งเสริมให้คนในองค์กรมีส่วนร่วมกับการประเมินผล ITA และนำข้อเสนอแนะจากการประเมินมาพัฒนาและสั่งการในเชิงนโยบาย 3. ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง และเป็นผู้นำวัฒนธรรมองค์กรที่สุจริตให้กับคนในองค์กร บทบาทผู้บริหาร 4. พัฒนารูปแบบการสื่อสารองค์กรอย่างสร้างสรรค์และทันสมัย เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในองค์กร 7. ร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ ) 6. กำชับและกวดขันการปฏิบัติตามระเบียบ จรรยาบรรณ ข้อกฎหมาย และมาตรฐานการปฏิบัติงาน 5. กำหนดให้มีแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และการวิเคราะห์กระบวนงานเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาการทุจริต

10 3 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่ผ่านมา 3

11 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ดำเนินการโครงการประเมินฯ เป็นการนำร่องใน ลักษณะขอความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐให้เข้าร่วม ประกอบด้วย องค์กร ตามรัฐธรรมนูญ องค์กรศาล (เฉพาะหน่วยงานธุรการศาล) หน่วยงานใน สังกัดรัฐสภา รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวนทั้งสิ้น 259 หน่วยงาน ITA

12 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ปี 2557 คะแนนเฉลี่ยภาพรวม 72.79 - ความโปร่งใส (Transparency) 65.84 - ความพร้อมรับผิด (Accountability) 74.95 - ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน (Corruption-Free Index) 87.89 - วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) 61.69 - คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) 72.05 ITA

13 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ดำเนินการโครงการประเมินฯ การประเมินหน่วยงาน ภาครัฐ องค์กรศาล (เฉพาะหน่วยงานธุรการศาล) องค์กรอิสระ องค์กรอื่น ตามรัฐธรรมนูญ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร รัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน จำนวน 115 หน่วยงาน ITA

14 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ITA

15 คะแนน ITA ระหว่างปี พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2558
ผลการเปรียบเทียบ คะแนน ITA ระหว่างปี พ.ศ และ พ.ศ. 2558 (ต่อ) คะแนน ITA 57 หน่วยงานเข้าประเมิน 265 หน่วย จำนวนตัวอย่างไม่ถึงเกณฑ์ 6 ประกาศผลได้ 259 คะแนนเฉลี่ย 72.84 คะแนน เปรียบเทียบกับคะแนน ITA 58 (เฉพาะหน่วยงานที่ประกาศผลได้ในโครงการ ITA 57) มีคะแนนเพิ่มขึ้น 203 มีคะแนนลดลง 55 ไม่เข้าร่วม 1 77.67 มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 6.63 %

16 4 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 4

17 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ดำเนินการโครงการประเมินฯ การประเมินหน่วยงาน ภาครัฐ องค์กรศาล (เฉพาะหน่วยงานธุรการศาล) องค์กรอิสระ องค์กรอื่น ตามรัฐธรรมนูญ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร รัฐวิสาหกิจ สถาบันอุดมศึกษา จำนวน 150 หน่วยงาน โดย หน่วยงานภาครัฐสถาบันอุดมศึกษา ได้เข้าร่วมการประเมินฯ เป็นปีแรก ITA

18 ITA สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
รับผิดชอบประเมิน 150 หน่วยงาน ได้แก่ องค์กรอิสระ องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รัฐวิสาหกิจ และสถาบันอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ รับผิดชอบประเมิน 276 หน่วยงาน ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง หน่วยงานภาครัฐส่วนภูมิภาค และองค์การมหาชน ITA กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น รับผิดชอบประเมิน 7,853 หน่วย ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐส่วนท้องถิ่น

19 5 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2560

20 วิสัยทัศน์ : ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand)
พันธกิจ : สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์: ประเทศไทยได้รับการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริต(Corruption Perceptions Index: CPI)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 เกิดความอาย ต่อการทุจริต เกิดการเปลี่ยนฐานความคิด ของกลุ่มเป้าหมาย เกิดการมีส่วนร่วม ในการต่อต้านการทุจริต การบริหารงานภาครัฐ มีความโปร่งใส คดีทุจริต ลดลง ระดับ CPI เพิ่มขึ้น ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ วัตถุประสงค์ที่ 1 สังคมมีพฤติกรรม ร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง วัตถุประสงค์ที่ 2 เกิดวัฒนธรรม ทางการเมือง (Political Culture) มุ่งต้านการทุจริตในทุกภาคส่วน วัตถุประสงค์ที่ 3 การทุจริตถูกยับยั้ง อย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรม กลไกป้องกัน การทุจริต และระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ที่ 4 การปราบปรามการทุจริตและการบังคับใช้กฎหมาย มีความรวดเร็ว เป็นธรรม และได้รับความร่วมมือจากประชาชน วัตถุประสงค์ที่ 5 ดัชนีการรับรู้เการทุจริต ของประเทศไทย (Corruption Perceptions Index: CPI) มีค่าคะแนนในระดับที่สูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจำนงทางการเมือง ในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 สกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปฏิรูปกลไกและกระบวนการ การปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้ การทุจริตของประเทศไทย

21 พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 4 1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต 2. สร้างกลไกการป้องกันเพื่อยับยั้งการทุจริต 8. การพัฒนาระบบและส่งเสริมการดำเนินการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ (United Nations Convention Against Corruption C.C – UNCAC 2003) 3. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดปัญหาการทุจริต พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก 4. พัฒนารูปแบบการสื่อสารสาธารณะเชิงสร้างสรรค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในสังคม 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรด้านการป้องกันการทุจริต 5. การพัฒนา วิเคราะห์และบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงกับแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้เรื่อง การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย 6. สนับสนุนให้ภาคเอกชนดำเนินการตามหลักบรรษัทภิบาล

22 ITA สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
รับผิดชอบประเมิน องค์กรอิสระ องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ องค์การมหาชน ภาพรวมของระบบการประเมิน ITA ปี 2560 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ รับผิดชอบประเมิน หน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง หน่วยงานภาครัฐส่วนภูมิภาค สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ รับผิดชอบประเมิน รัฐวิสาหกิจ ITA สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รับผิดชอบประเมิน สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น รับผิดชอบประเมิน หน่วยงานภาครัฐส่วนท้องถิ่น

23 6 แนวคิดและหลักการ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

24 CPI 1 8 2 7 3 6 4 5 PERC GI BF (BTI) IMD ICRG EIU WEF WJP แหล่งข้อมูล
ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index) โดย องค์กรเพื่อความโปร่งใสสากล (Transparency International) 1 BF (BTI) PERC Bertelsmann Foundation Transformation Index 8 Political and Economic Risk Consultancy 2 IMD GI CPI ดัชนีการรับรู้การทุจริต International Institute 0f Management Development 7 Global Insight Country Risk Ratings ICRG 3 EIU 6 Political Risk Services International Country Risk Guide แหล่งข้อมูล Economist Intelligence Unit Country Risk Ratings 4 WEF 5 WJP World Economic Forum Executive Opinion Survey World Justice Project Rule of Law Index

25 สถานการณ์การทุจริตของประเทศไทย จำนวนรับเรื่องกล่าวหา
ค่าคะแนน CPI ของประเทศไทย ปี 2558 76 3 38 ของโลก ของอาเซียน คะแนน ปี งบประมาณ จำนวนรับเรื่องกล่าวหา ผลการดำเนินงาน คงเหลือ ยกมา รับใหม่ รวม ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. ช. 2554 7,896 3,092 10,988 1,270 222 66 - 93 171 1,822 9,166 2555 2,430 11,596 1,085 211 70 115 2 2,063 97 3,643 7,953 2556 2,625 10,578 1,163 174 45 226 1 294 2,000 8,578 2557 3,117 11,695 1,535 130 31 157 4 224 101 2,182 9,513 2558 3,050 12,563 1,054 86 12 181 7 133 145 1,618 10,945 14,314 22,210 6,107 823 679 14 2,807 611 11,265 สถิติในการดำเนินคดี ตั้งแต่ปี พ.ศ – 2558

26 ITA มีกรอบการประเมินด้านเนื้อหา แบ่งออกเป็น 5 ดัชนี
1. ดัชนีความโปร่งใส (Transparency Index) 2. ดัชนีความพร้อมรับผิด (Accountability Index) 3. ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน (Corruption – Free Index) 4. ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture Index) 5. ดัชนีคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity Index)

27 ภาพรวมของระบบการประเมิน ITA
1. ดัชนีความโปร่งใส (Transparency) 5. ดัชนีคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity) 2. ดัชนีความพร้อมรับผิด (Accountability) ITA 3. ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน (Corruption-Free) 4. ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) Evidence - Based ประเมินจากหลักฐานที่แสดงถึงระบบของหน่วยงาน Internal Perception ประเมินจากการรับรู้ของบุคลากรภายในหน่วยงาน External Perception ประเมินจากการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน

28 + การประเมิน ITA คุณลักษณะที่เด่นชัดของ ITA Transparency Index
เป็นเครื่องมือที่บูรณาการดัชนี 2 รูปแบบ เข้าด้วยกัน Transparency Index + Integrity Assessment เป็นการประเมินหลักฐาน เชิงประจักษ์ (Evidence - based) เป็นการประเมินการรับรู้ (Perception - based) Thailand Integrity & Transparency Assessment

29 หน่วยงานของรัฐทุกแห่งต้องได้รับการประเมิน ITA
ขอบเขตการประเมิน หน่วยงานของรัฐทุกแห่งต้องได้รับการประเมิน ITA คณะรัฐมนตรีลงมติเห็นชอบ (5 มกราคม 2559) ให้หน่วยงานภาครัฐ ทุกหน่วยงานเข้าร่วมรับการประเมิน ITA พ.ศ – 2560 เป็นตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม ระดับจังหวัด และสถาบันอุดมศึกษา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2559) โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. หน่วยงานราชการระดับกรม 148 กรม (ภายใต้ 17 กระทรวง) 2. หน่วยงานราชการระดับจังหวัด 76 จังหวัด 3. สถาบันอุดมศึกษา 63 แห่ง หน่วยงานภาครัฐทั้งหมดที่เข้ารับการประเมิน จะต้องมีคะแนนเฉลี่ยการประเมิน ITA ในปี 2560 – 2564 ที่ระดับคะแนน 85 คะแนน ขึ้นไป

30 6.1 ดัชนีความโปร่งใส (Transparency)

31 ดัชนีความโปร่งใส การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง การให้ เปิดเผย และเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การจัดการเรื่องร้องเรียน การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การให้ เปิดเผย และเข้าถึงข้อมูล

32 ดัชนีความโปร่งใส ประเมินเกี่ยวกับความสามารถในการให้และเปิดเผยข้อมูลต่างๆ รวมถึงข้อมูลการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงานที่ ดำเนินการอย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบัง หรือบิดเบือนข้อมูล โดยเฉพาะกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งเป็นภารกิจที่มีความ เสี่ยงในการทุจริตมากกว่าภารกิจอื่นๆ หน่วยงานจะต้องดำเนินการและส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใสใน ทุกขั้นตอนตามที่กฎหมายกำหนด รวมไปถึงการเปิดโอกาสให้ บุคคลภายนอกหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการ ดำเนินงานของหน่วยงาน ทั้งการมีส่วนร่วมในกระบวนงาน ต่างๆ ตั้งแต่การร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมวางแผน/จัดทำ แผนงาน ร่วมดำเนินการ จนถึงร่วมติดตามตรวจสอบการ ดำเนินงานของหน่วยงาน การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและร้องเรียนเกี่ยวกับการ ดำเนินงานของหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่ขาดคุณธรรมและความ โปร่งใส

33 6.2 ดัชนีความพร้อมรับผิด(Accountability)

34 ดัชนีความพร้อมรับผิด
เจตจำนงสุจริตในการบริหารงาน ความพร้อมรับผิดในการปฏิบัติงาน ความพร้อมรับผิดในการบริหารงาน เจตจำนงสุจริต ความพร้อมรับผิด

35 ดัชนีความพร้อมรับผิด
ประเมินเกี่ยวกับพฤติกรรมและทัศนคติของผู้บริหารและ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่แสดงถึงการปฏิบัติงานตาม หน้าที่อย่างเต็มใจและเต็มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานทุกขั้นตอนมีความถูกต้องตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับต่างๆ อย่างครบถ้วนและเคร่งครัด กล้าหาญที่จะรับผิดชอบในผลการปฏิบัติงานของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารของหน่วยงาน ซึ่งเป็นผู้ กำหนดทิศทางของหน่วยงานในระดับนโยบายนั้น จะต้องมีเจตจำนงในการบริหารงานอย่างซื่อสัตย์สุจริต พร้อมรับผิดเมื่อเกิดความผิดพลาด เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นแก่สังคมว่าการขับเคลื่อนหน่วยงานจะเป็นไป อย่างมีคุณธรรมและธรรมาภิบาล

36 6.3 ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน (Corruption-Free)

37 ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน
ความปลอดจากการทุจริตเชิงนโยบาย เรื่องชี้มูลความผิด การถูกชี้มูลความผิด การทุจริตต่อหน้าที่ การรับสินบน การใช้ตำแหน่งหน้าที่ในการเอื้อประโยชน์

38 ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน
ประเมินเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ใน หน่วยงานที่เป็นพฤติกรรมที่เข้าข่ายการทุจริตต่อหน้าที่ หรือผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารที่เป็นพฤติกรรมที่ เข้าข่ายการทุจริตในเชิงนโยบาย ซึ่งพฤติกรรม เหล่านั้นจะสะท้อนทั้งจากการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย และจากประสบการณ์ตรงของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ เข้ามามีส่วนร่วมในภารกิจใดภารกิจหนึ่งของหน่วยงาน นอกจากนี้ พฤติกรรมข้างต้นยังสะท้อนจากผลการชี้ มูลความผิดจากสำนักงาน ป.ป.ช. และสำนักงาน ป.ป.ท. ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงอันน่าเชื่อถืออีกด้วย

39 6.4 ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture)

40 ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร
การสร้างวัฒนธรรม สุจริตในหน่วยงาน การสืบทอดวัฒนธรรมสุจริต การไม่ทนต่อการทุจริต การอายและเกรงกลัวที่จะทุจริต การดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ ทับซ้อนในหน่วยงาน แผนปฏิบัติการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต การตรวจสอบถ่วงดุลภายใน หน่วยงาน ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร ฐานความคิดแยกแยะผลประโยชน์ ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม การป้องกันและปราบปราม การทุจริตในหน่วยงาน

41 ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร
ประเมินเกี่ยวกับพฤติกรรมและทัศนคติในการปฏิบัติงานที่มีการ ปลูกฝัง สั่งสอน หรือถ่ายทอดแก่กันของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน จนกลายเป็นแนวทางปฏิบัติประจำหรือวัฒนธรรมของหน่วยงาน ซึ่ง วัฒนธรรมเหล่านั้นควรจะเป็นการปฏิบัติตนหรือทัศนคติที่ดี เป็นการกล่อมเกลาทางสังคม (Socialization) ให้ไม่ยอมรับ พฤติกรรมการทุจริตต่างๆ ในหน่วยงาน จนกระทั่งไม่ทนต่อการ ทุจริต และก่อให้เกิดการลงโทษทางสังคม (Social Sanction) ส่งผลทำให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเกิดความอายหรือความกลัวที่จะ กระทำการทุจริต กระบวนการปลูกฝังและสร้างให้เกิดวัฒนธรรมทางความคิดแยกแยะ ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมให้ได้ ซึ่งถือเป็นการ ป้องกันการทุจริตตั้งแต่รากฐานของพฤติกรรมการทุจริต และ กระบวนการของหน่วยงานที่มีการกำหนดแผนการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตในหน่วยงาน รวมไปถึงการมีกระบวนการ ตรวจสอบถ่วงดุลภายในที่เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำให้ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานเห็นความสำคัญและเกิดความตระหนักถึงผล ของการทุจริต จนก่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมในการร่วมต่อต้านการ ทุจริตได้

42 มาตรา 100 มาตรา 103 เจ้าหน้าที่ของรัฐ
ห้ามดำเนินการที่ขัดแย้งกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม มาตรา 100 ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด เว้นแต่โดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กำหนด (ไม่เกิน 3,000 บาท) มาตรา 103

43 6.5 ดัชนีคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity)

44 ดัชนีคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน
การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ คุณธรรมในการมอบหมายงาน การบริหารสภาพแวดล้อมในการทำงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน ความเป็นธรรมในการปฏิบัติงาน คุณธรรมในการบริหารงาน มาตรฐานและคุณธรรมในการปฏิบัติงาน

45 ดัชนีคุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน
ประเมินเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานของหน่วยงานและ พฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่แสดงถึงการให้ ความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่จะต้องกำหนดให้มีคู่มือ หรือมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและมีการปฏิบัติงานตาม คู่มือหรือมาตรฐานนั้นอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ ให้ความสำคัญกับการปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม กัน ซึ่งถือเป็นลักษณะคุณธรรมที่หน่วยงานจะต้องพึงปฏิบัติ ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน หน่วยงานจะต้องมีคุณธรรมในการบริหารงานภายใน หน่วยงานทั้งกิจกรรมต่างๆ ของการบริหารงานบุคคล พฤติกรรมการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงาน พฤติกรรมของหัวหน้างานในการมอบหมายงาน และการให้ ความสำคัญกับสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการปฏิบัติงาน

46 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google