งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
สหกรณ์เป็นองค์การของสมาชิก ซึ่งเป็นทั้งเจ้าของ(ผู้ลงทุน)และ ผู้ใช้บริการ (ลูกค้า) ในเวลาเดียวกัน ผลตอบแทนที่ให้แก่ทุนเรือนหุ้นมีอัตราจำกัด ลักษณะของสหกรณ์ที่เป็นวิสาหกิจบริการตนเอง สมาชิกจึงมีหน้าที่โดยตรงในการให้เงินทุนแก่สหกรณ์ สหกรณ์เป็นวิสาหกิจเฉพาะ ผลประโยชน์ทั้งหมดเป็นของสมาชิก สหกรณ์ต้องเป็นองค์การที่มีความเป็นอิสระ 9/17/2018

2 จุดประสงค์ของการบริหารการเงิน
สหกรณ์แตกต่างจากสถาบันการเงินอื่น ตรงที่เจ้าของกิจการ และ ผู้ใช้บริการ คือสมาชิก ซึ่งเป็นบุคคลกลุ่มเดียวกัน จุดมุ่งหมายของการบริหารการเงินของสหกรณ์จึงไม่ใช่ผลกำไร สูงสุดของสหกรณ์ แต่เพื่อประโยชน์สูงสุดของมวลสมาชิกร่วมกัน การที่สหกรณ์ดำเนินงานโดยใช้นโยบาย “ราคาตลาด” ผลกำไร จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะการใช้ “ราคาตลาด” สหกรณ์ จึงจำเป็นต้องมีกำไรเช่นเดียวกับธุรกิจอื่น ๆ (แต่สหกรณ์มีวิธีการคืนกำไรไปสู่สมาชิกผู้ใช้บริการ) 9/17/2018

3 กำไรของสหกรณ์ “ผลกำไร” จึงเป็นเครื่องวัดความสามารถในการจัดการ สหกรณ์ได้ในเชิงธุรกิจ ในขณะเดียวกันสหกรณ์ต้องดำเนินนโยบาย ทางการเงิน ที่จะเอื้อประโยชน์ทั้งแก่สมาชิกในฐานะผู้ออม ทั้งในรูปเงินฝากและการถือหุ้น (ซึ่งต้องการผลตอบแทนสูงในระดับที่พอใจ) และสมาชิกในฐานะผู้กู้หรือผู้ใช้บริการ (ซึ่งต้องการจ่ายดอกเบี้ยต่ำ หรือ ระดับราคาสินค้าและบริการ ที่อยู่ในระดับ ที่พอใจเช่นกัน) ความขัดแย้งของผลประโยชน์ จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในมวลสมาชิก และ สหกรณ์ต้องดำเนินบทบาท ที่จะประสานประโยชน์เพื่อลดความขัดแย้งนี้ลงให้เหลือน้อยที่สุด 9/17/2018

4 งบการเงิน งบการเงิน ที่สำคัญ ๆ คือ
งบกำไรขาดทุน ซึ่งแสดงถึงผลการ ดำเนินงานของกิจการ ซึ่งจะแสดงรายได้และค่าใช้จ่าย และผลต่างคือกำไรหรือขาดทุน งบดุล ซึ่งแสดงฐานะของกิจการ จะแสดงรายการสินทรัพย์ หนี้สิน และของส่วนผู้เป็นเจ้าของของกิจการ งบกระแสเงินสด ซึ่งแสดงการได้มา การใช้ไปของเงินสดของกิจการ งบกำไรสะสม หรือ งบแสดงส่วนของทุน เป็นงบแสดงส่วนของเจ้าของกิจการ 9/17/2018

5 การวิเคราะห์งบการเงิน
การวิเคราะห์งบการเงินพื้นฐาน โดยใช้อัตราส่วนและเทคนิคต่าง ๆ การวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบ 9/17/2018

6 การวิเคราะห์งบการเงินพื้นฐาน
การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน การวิเคราะห์ผลประกอบการ (กำไร) โดยใช้การย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์ผลประกอบการ (กำไร) จากอัตราการเติบโต การวิเคราะห์การใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ การวิเคราะห์การใช้ประโยชน์จากแหล่งเงินทุน การวิเคราะห์อัตราการเติบโตที่ยั่งยืน อัตราส่วนของภาพรวมทั้งระบบ (ตลาด) อัตราส่วนที่เกี่ยวกับผลตอบแทนและความเสี่ยง 9/17/2018

7 การวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบ
เทียบกับข้อมูลในอดีต (ของตัวเอง) เทียบกับกิจการอื่น (บางกิจการ คู่แข่ง หรือ กิจการตัวอย่าง) เทียบกับกิจการอื่นในอุตสาหกรรม(ภาพรวม) 9/17/2018

8 1.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน
1.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน Profitability Analysis using Ratios 9/17/2018

9 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อรายได้(ขาย)
Return on Sales: ROS = Net Income / Sales ชื่ออื่น ๆ Net Profit Margin : NPM 9/17/2018

10 อัตราส่วนผลตอบแทนขั้นต้นต่อรายได้(ขาย)
Gross Margin = Gross Profit / Total Revenue กำไรขั้นต้น ชื่ออื่น ๆ Gross Profit Margin : GPM 9/17/2018

11 อัตราส่วนผลตอบแทนจากการดำเนินงานต่อรายได้(ขาย)
กำไรจากการดำเนินงาน Operating Profit on Sales = Operating Profit / Net Sales ชื่ออื่น ๆ Operating Profit Margin : OPM 9/17/2018

12 อัตราส่วนผลตอบแทน(อื่น ๆ) ต่อรายได้(ขาย)
กำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่ายและภาษี EBIT on Sales = EBIT / Net Sales กำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมราคา D และส่วนตัดจ่าย A EBITDA on Sales = EBIT / Net Sales 9/17/2018

13 2.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้การย่อส่วนตามแนวดิ่ง
2.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้การย่อส่วนตามแนวดิ่ง Profitability Analysis using Common size Statements 9/17/2018

14 3.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราการเติบโต
3.การวิเคราะห์ผลประกอบการ(กำไร) โดยใช้อัตราการเติบโต Profitability Analysis Using Growth Rates 9/17/2018

15 อัตราการเติบโต อัตราการเติบโตจากปีก่อน Growth Rate t = (Value t – Value t-1 ) x 100 Value t-1 อัตราการเติบโตต่อปี ระหว่างช่วงเวลาหลาย ๆ ปี คำนวณจาก ข้อมูลปีสุดท้าย = ข้อมูลปีแรกสุด (1 + g) t เมื่อ g คืออัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อช่วงเวลา และ t คือ ช่วงเวลา 9/17/2018

16 4. อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหาร (ใช้ประโยชน์)สินทรัพย์
4. อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหาร (ใช้ประโยชน์)สินทรัพย์ (Asset Utilization Ratios) 9/17/2018

17 อัตราส่วนการหมุนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover Ratio : TATO)
อัตราส่วนนี้ใช้วัดความสามารถในการใช้สินทรัพย์รวมของกิจการ โดยจะพิจารณาว่าสินทรัพย์ 1 หน่วย สามารถก่อให้เกิดรายได้แก่กิจการมากน้อยเพียงใดในรอบระยะเวลาหนึ่ง (รอบปีทางบัญชีหนึ่ง) หรือสินทรัพย์ดังกล่าวมีการหมุนกี่รอบในช่วงเวลานั้น คำนวณจาก อัตราการหมุนของสินทรัพย์=รายได้(หรือยอดขายสุทธิ)/สินทรัพย์รวม Total Assets Turnover = Net Sales / Total Assets 9/17/2018

18 อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (Return on Assets : ROA)
Return on Assets(ROA)=Net Income / Total Assets Return on Assets(ROA)=Net Income Net Sales Net Sales Total Assets ROS x TATO X 9/17/2018

19 Return on Assets Return on Assets=(Net Income+Interest Expenses)(1- t)/Total Assets เมื่อ Return on Assets คือ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ Net Income คือ กำไรสุทธิ Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ย (1-t) คือ ( 1 – อัตราภาษี ) Total Assets คือ สินทรัพย์รวม 9/17/2018

20 อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน
อัตราส่วนการหมุนของสินค้า (กี่รอบในช่วงเวลาหนึ่งปี) Inventory Turnover = Cost of Sales / Average Inventory 9/17/2018

21 Days Inventory (Held) = 365/ Inventory Turnover
อายุเฉลี่ยของสินค้าคงคลัง (ต้องเก็บไว้กี่วันจึงขายได้) Days Inventory (Held) = 365/ Inventory Turnover เมื่อ Inventory Turnover = Cost of Sales / Average Inventory 9/17/2018

22 อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน
อัตราส่วนการหมุนของลูกหนี้การค้า (เมื่อมีการขายเชื่อ) Accounts Receivable Turnover = Credit Sales / Average Accounts Receivable Accounts Receivable to Sales = Average Accounts Receivable(100)/Net Sales 9/17/2018

23 อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน (ต่อ)
โดยเฉลี่ย....กี่วันจึงจะเก็บเงินจากการขายได้ Days Sales Outstanding =365/ Receivable Turnover เมื่อ Accounts Receivable Turnover = Sales/ Average Accounts Receivable 9/17/2018

24 Cost of Sales / (Average) Accounts Payable
อัตราส่วนการหมุนของเจ้าหนี้การค้า (เมื่อซื้อเชื่อ หรือ ได้เครดิต) Accounts Payable Turnover = Cost of Sales / (Average) Accounts Payable Accounts Payable to Cost of Sales = Average Accounts Payable(100)/Cost of Sales 9/17/2018

25 อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน (ต่อ)
โดยเฉลี่ย....กี่วันจึงจะชำระหนี้ Payable Payment Period =365/ Payable Turnover เมื่อ Payable Turnover = Cost of Sales/ Average Accounts Payable 9/17/2018

26 อัตราส่วนการหมุนของเงินทุนดำเนินงาน (ต่อ)
Required Financing Period =Days Receivable Outstanding + Days Inventory Held–Days Accounts Payable Outstanding เมื่อ Required Financing Period คือ จำนวนวันที่ต้องการในการจัดหาเงินทุน Days Receivable Outstanding คือ จำนวนวันลูกหนี้การค้า (ก่อนที่จะเก็บเงินได้) Days Inventory Held คือ จำนวนวันที่ถือสินค้าคงคลัง Days Accounts Payable Outstanding คือ จำนวนวันเจ้าหนี้การค้า (ก่อนที่จะจ่ายเงิน) 9/17/2018

27 (Debt Management Ratios) Capitalization Ratios Leverage Ratios
5. อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถ ในการบริหารหนี้สิน (ใช้ประโยชน์จากการสร้างหนี้) (Debt Management Ratios) Capitalization Ratios Leverage Ratios 9/17/2018

28 Financial Leverage = Assets / Shareholders’ Equity
อัตราส่วนสินทรัพย์ ต่อส่วนของผู้เป็นเจ้าของ Assets to Equity Ratio of Financial Leverage = Assets / Shareholders’ Equity 9/17/2018

29 อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ (ROE : Return on Equity)
ROE = ROS x TATO x Financial Leverage เมื่อ ROE คือ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ ROS คือ กำไร / ขายสุทธิ TATO คือ ขายสุทธิ / สินทรัพย์รวม Financial Leverage คือ สินทรัพย์รวม / ส่วนของเจ้าของ 9/17/2018

30 อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ (ROE : Return on Equity)
ROE = Net Income / Shareholders’ Equity 9/17/2018

31 อัตราส่วนหนี้สินรูปอื่น ๆ
Long Term Debt to Equity Ratio = Long Term Debt / Owners Equity Long Term Debt to Assets Ratio = Long Term Debt / Total Assets Long Term Debt to Capital Ratio = Long Term Debt / (LT Debt+ Owners Equity)* * LT Debt+ Owners Equity = Total Capital ทุนระยะยาว Total Liabilities to Assets = Total Liabilities / Total Assets 9/17/2018

32 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน (Current ratio)
อัตราส่วนทุนหมุนเวียน เป็นอัตราส่วนระหว่าง สินทรัพย์หมุนเวียน (เงินสด สินค้าคงคลัง ลูกหนี้การค้า) กับ หนี้สินหมุนเวียน (หนี้สินระยะสั้นที่ถึงกำหนดชำระภายในรอบบัญชีต่อไป) Current Ratio = Current Assets / Current Liabilities เมื่อ Current Ratio คือ อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Assets คือ สินทรัพย์หมุนเวียน Current Liabilities คือ หนี้สินหมุนเวียน หรือ หนี้สินระยะสั้น 9/17/2018

33 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio หรือ Acid Test)
Quick Ratio = (Cash)/ Current Liabilities เมื่อ Quick Ratio คือ อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว Cash คือ เงินสด และสินทรัพย์เงินสด Current Liabilities คือ หนี้สินหมุนเวียน 9/17/2018

34 อัตราส่วนครอบคลุมค่าดอกเบี้ย EBIT Coverage (Interest Coverage Ratio )
EBIT Coverage = EBIT / Interest Expenses เมื่อ Interest Coverage Ratio คือ อัตราส่วนครอบคลุมค่าดอกเบี้ย EBIT คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี Earning Before Interest and Tax Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ยจ่าย 9/17/2018

35 อัตราส่วนตัวเงินที่ครอบคลุมค่าดอกเบี้ยจ่าย Cash flow Coverage
Cash flow Coverage = EBIT+ Depreciation / Interest Expenses เมื่อ Cash flow Coverage คือ อัตราส่วนตัวเงินที่ครอบคลุมค่าดอกเบี้ย EBIT คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี Depreciation คือ ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ (ไม่เป็นตัวเงิน) Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ยจ่าย 9/17/2018

36 อัตราส่วนตัวเงินที่ครอบคลุมการชำระหนี้คืน Debt-service Coverage
Debt-service Coverage = EBIT/Interest Expenses+[Principal Payment(1-tax rate)] เมื่อ EBIT คือ กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี Principal Payment คือ ต้นเงินที่ถึงกำหนดชำระคืน Interest Expenses คือ ค่าดอกเบี้ยจ่าย 9/17/2018

37 6. อัตราการเติบโตอย่างยั่งยืน
6. อัตราการเติบโตอย่างยั่งยืน Sustainable Growth Rate 9/17/2018

38 อัตราการสะสมของผลกำไร
อัตราเงินปันผลจ่าย Dividend Payout Ratio = Dividend Paid / Net Income อัตราการสะสมของผลกำไร Earning Retention=Net Income-Dividends/Net Income Earning Retention = 1 - Dividend Payout Ratio* * ย่อว่า DPO 9/17/2018

39 Sustainable Growth Rate : SGR
SGR = ROS x TATO x Financial Leverage x Retention Ratio = Earning Retained / Owners’ Equity กำไรที่เหลือเก็บสะสม / ส่วนของผู้เป็นเจ้าของ SGR = ROE x (1– Dividend Payout Ratio) 9/17/2018

40 7 . อัตราส่วนของตลาด Market Ratios 9/17/2018

41 Earning per Share = Net Income / # shares outstd.
กำไรต่อหุ้น EPS Earning per Share = Net Income / # shares outstd. ราคาหุ้นต่อกำไร P/E Ratio Price/Earnings = Market price per share / EPS & Price compare to many items…. 9/17/2018

42 เมื่อ DPS = Dividend per Share
Dividend Yield= DPS/Market Price per Share เมื่อ DPS = Dividend per Share 9/17/2018

43 8 . อัตราส่วนผลตอบแทนและความเสี่ยง
8 . อัตราส่วนผลตอบแทนและความเสี่ยง Return Versus Risk Performance Ratios 9/17/2018

44 Spread = Return on Equity – Required ROE
Spread & EVA Spread = Return on Equity – Required ROE EVA = Economic Value Added EVA = Invested Capital x (ROIC x WACC) เมื่อ ROIC = Return on Invested Capital WACC = Weighted Average Cost of Capital 9/17/2018

45 อัตราส่วนอื่น ๆ Other Ratios 9/17/2018

46 อัตราส่วนอื่น ๆ (other ratios)
ปริมาณเงินฝาก ต่อสมาชิก 1 ราย (อาจคำนวณจากสมาชิกทั้งหมดหรือสมาชิกที่มีเงินฝากเท่านั้นก็ได้) ปริมาณเงินกู้ ต่อสมาชิก 1 ราย (อาจคำนวณจากสมาชิกทั้งหมด หรือสมาชิกที่มีเงินกู้เท่านั้น ก็ได้) ปริมาณการถือหุ้น ต่อสมาชิก 1 ราย ฯลฯ 9/17/2018

47 ข้อพึงระวังในการวิเคราะห์งบการเงิน
มีหลายประการ เช่น งบการเงินเป็นข้อมูลในอดีตที่เกิดขึ้นไปแล้ว งบการเงินสร้างขึ้นจากวิธีการปฏิบัติที่อาจไม่เหมือนกัน หากใช้เปรียบเทียบกัน จะต้องเข้าใจข้อสมมติและวิธีปฏิบัติที่ใช้ด้วย เป็นข้อมูลทางการเงินเท่านั้น จึงไม่ครอบคลุมข้อมูลเชิงคุณภาพอื่น เช่น คุณภาพของบุคลากร ความทันสมัยของระบบงาน ฯลฯ การวิเคราะห์งบการเงินจึงไม่ใช่ผลทั้งหมด รายการที่เกิดขึ้นและเสร็จสิ้นไประหว่างงวด อาจไม่มีปรากฏในงบการเงิน (เช่น การกู้เงินและชำระคืนเสร็จสิ้นไปแล้ว) 9/17/2018

48 การประยุกต์ใช้อัตราส่วนทางการเงิน
การใช้อัตราส่วนทางการเงินกับงบการเงินล่วงหน้า (pro-forma financial statements) การใช้อัตราส่วนทางการเงิน เพื่อการเฝ้าระวัง โดยการใช้ข้อมูลจากบัญชีแยกประเภท (หรืองบทดลอง) 9/17/2018

49 การวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบ Comparative Ratio Analysis
เทียบกับข้อมูลในอดีต (ของตัวเอง) เทียบกับกิจการอื่น (บางกิจการ คู่แข่ง หรือ กิจการตัวอย่าง) เทียบกับกิจการอื่นในอุตสาหกรรม(ภาพรวม) 9/17/2018

50 บางเรื่องที่น่ารู้ เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่ และเรียกชื่อ
9/17/2018

51 อัตราส่วนการเงิน (Financial Ratios)
1) อัตราส่วนที่ใช้วัดสภาพคล่อง(liquidity ratios) 2) อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ (asset management ratios) 3) อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการบริหารหนี้สิน (debt management ratios) 4) อัตราส่วนที่ใช้วัดความสามารถในการหาผลตอบแทน (profitability ratios) 5) อัตราส่วนอื่น ๆ (other ratios) 9/17/2018

52 การวิเคราะห์งบการเงินด้วยเทคนิคอื่น
การวิเคราะห์งบกำไรขาดทุน โดยวิธีการย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์งบดุล โดยวิธีการย่อส่วนตามแนวดิ่ง Common size การวิเคราะห์ตามแนวนอน : อัตราการเติบโต(Growth Rate) การวิเคราะห์โดยเทคนิคของดูปอง (Dupont technique) การวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค CAMEL และ PEARLS 9/17/2018


ดาวน์โหลด ppt ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google