งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

2 Mount Kosciuszko

3 ยอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) มีความสูง 2,228 เมตร ถือเป็นยอดเขาที่สุดสุดของเทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) และเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย ตั้งอยู่ในเขตรัฐนิวเซาท์เวลส์

4 ยอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) มีความสูง 2,228 เมตร ถือเป็นยอดเขาที่สุดสุดของเทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) และเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย ตั้งอยู่ในเขตรัฐนิวเซาท์เวลส์

5 เกรตแบริเออร์รีริฟ Great Barrier Reef

6 แนวปะการัง “เกรตแบริเออร์ รีริฟ” (Great Barrier Reef) เป็นแนวปะการังที่ยาวที่สุดในโลก โดยวางตัวขนานกับชายฝั่งตะวันออกทางของ รัฐควีนส์แลนด์

7 ทางชายฝั่งตะวันออกของรัฐควีนส์แลนด์มีแนวปะการังที่ยาวที่สุดในโลก วางตัวขนานกับชายฝั่งเรียกว่า เกรตแบริเออร์ รีริฟ (Great Barrier Reef) โดยวางตัวขนานและห่างจากชายฝั่งประมาณ    กิโลเมตร และยาวประมาณ  2,000  กิโลเมตร UNESCO ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งหนึ่งของออสเตรเลีย

8 ทางชายฝั่งตะวันออกของรัฐควีนส์แลนด์มีแนวปะการังที่ยาวที่สุดในโลก ที่วางตัวขนานกับชายฝั่ง โดยแนวปะการังนี้มีชื่อ เรียกว่า เกรตแบริเออร์ รีริฟ (Great Barrier Reef) แนวปะการังนี้วางตัวขนานและห่างจากชายฝั่งประมาณ    กิโลเมตร และยาวประมาณ  2,000  กิโลเมตร โดยองค์การ UNESCO ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งหนึ่งของออสเตรเลีย

9 แนวปะการังเกรตแบริเออร์ รีริฟ (Great Barrier Reef) เป็นแนวปะการังที่ยาวที่สุดในโลก โดยวางตัวขนานและห่างจากชายฝั่งชายฝั่งตะวันออกของรัฐควีนส์แลนด์ ประมาณ    ก.ม. และยาวประมาณ  2,000  ก.ม. โดยองค์การ UNESCO ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ

10 แนวปะการังเกรตแบริเออร์ รีริฟ (Great Barrier Reef) เป็นแนวปะการังที่ยาวที่สุดในโลก โดยวางตัวขนานและห่างจากชายฝั่งชายฝั่งตะวันออกของ รัฐควีนส์แลนด์ ประมาณ    ก.ม. และยาวประมาณ  2,000  ก.ม. โดยองค์การ UNESCO ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ

11 Lake Eyre

12 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre) เป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและใหญ่ที่สุดในทวีปออสเตรเลีย พื้นที่โดยรอบทะเลสาบส่วนใหญ่เป็นพื้นที่แห้งแล้ง

13 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre) เป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและใหญ่ที่สุดในทวีปออสเตรเลีย ตั้งอยู่ในรัฐออสเตรเลียใต้ (South Australia) พื้นที่โดยรอบทะเลสาบส่วนใหญ่เป็นพื้นที่แห้งแล้ง

14 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre) เป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและใหญ่ที่สุดในทวีปออสเตรเลีย พื้นที่โดยรอบทะเลสาบส่วนใหญ่เป็นพื้นที่แห้งแล้ง

15 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre) เป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและใหญ่ที่สุดในทวีปออสเตรเลีย พื้นที่โดยรอบทะเลสาบส่วนใหญ่เป็นพื้นที่แห้งแล้ง

16 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre) เป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและใหญ่ที่สุดในทวีปออสเตรเลีย พื้นที่โดยรอบทะเลสาบส่วนใหญ่เป็นพื้นที่แห้งแล้ง

17 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre) เป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและใหญ่ที่สุดในทวีปออสเตรเลีย พื้นที่โดยรอบทะเลสาบส่วนใหญ่เป็นพื้นที่แห้งแล้ง

18 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock)

19 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) หินก้อนเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเปลี่ยนสีไปตามช่วงเวลาของแต่ละวัน ถือเป็นหินศักดิ์สิทธิ์ของชาวอะบอริจินส์ ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลียใกล้เมืองอลิซสปริงส์ ( Alice Spring )

20 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) หินก้อนเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเปลี่ยนสีไปตามช่วงเวลาของแต่ละวัน ถือเป็นหินศักดิ์สิทธิ์ของชาวอะบอริจินส์ ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลียใกล้เมืองอลิซสปริงส์ ( Alice Spring )

21 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) หินก้อนเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเปลี่ยนสีไปตามช่วงเวลาของแต่ละวัน ถือเป็นหินศักดิ์สิทธิ์ของชาวอะบอริจินส์ ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลียใกล้เมืองอลิซสปริงส์ ( Alice Spring )

22 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) หินก้อนเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก

23 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) หินก้อนเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลียใกล้เมืองอลิซสปริงส์ (Alice spring)

24 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) จะเปลี่ยนสีไปตามช่วงเวลาของแต่ละวัน

25 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) เป็นหินศักดิ์สิทธิ์ของชาวอะบอริจินส์ ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลียใกล้เมืองอลิซสปริงส์ (Alice Spring)

26 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock)
ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลีย ใกล้เมืองอลิซสปริงส์ (Alice Spring)

27 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) หินก้อนเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเปลี่ยนสีไปตามช่วงเวลาของแต่ละวัน ถือเป็นหินศักดิ์สิทธิ์ของชาวอะบอริจิน ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลียใกล้เมืองอลิซสปริงส์ (Alice spring)

28 หินอุลูรู (Uluru) หรือ หินเอเยอร์ส (Ayers Rock) เป็นหินศักดิ์สิทธิ์ของชาวอะบอริจิน ตั้งอยู่กลางประเทศออสเตรเลียใกล้เมืองอลิซสปริงส์ (Alice spring)

29 Outback

30 Out Back

31 เอาท์แบ็ก (Outback) เป็นชื่อที่ชาวออสเตรเลียเรียกดินแดนที่แห้งแล้งและทุรกันดารตอนกลางของประเทศออสเตรเลีย

32 เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน Great Artesian Basin

33 เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) คือ แอ่งน้ำใต้ดินขนาดใหญ่ของออสเตรเลียโดยอ่างเก็บน้ำใต้ดินขนาดใหญ่นี้เรียกกันว่า เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) ถือเป็นแหล่งน้ำบาดาลที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยที่ใต้เปลือกชั้นหินที่แข็งของทวีปออสเตรเลียมีแอ่งน้ำบาดาลใหญ่ ๆ หลายแอ่ง โดยแอ่งที่ใหญ่ที่สุด คือ เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน ซึ่งมีขนาดถึงหนึ่งในห้าของเนื้อที่ประเทศออสเตรเลีย  โดยแอ่งน้ำบาดาลนี้มีพื้นที่ 1.7 ล้าน ตร.กม. โดยมีอาณาบริเวณตั้งแต่ตั้งแต่คาบสมุทรเคปยอร์ก(Cape York)ทางเหนือยาวจนถึงทะเลสาบแอร์(Lake Eyre)ซึ่งอยู่ในรัฐออสเตรเลียใต้

34 เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) คือ แอ่งน้ำใต้ดินขนาดใหญ่ของออสเตรเลียโดยอ่างเก็บน้ำใต้ดินขนาดใหญ่นี้เรียกกันว่า เกรตอาร์ทีเชียนเบซิน (Great Artesian Basin) ถือเป็นแหล่งน้ำบาดาลที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยที่ใต้เปลือกชั้นหินที่แข็งของทวีปออสเตรเลียมีแอ่งน้ำบาดาลใหญ่ ๆ หลายแอ่ง โดยแอ่งที่ใหญ่ที่สุด คือ เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน ซึ่งมีขนาดถึงหนึ่งในห้าของเนื้อที่ประเทศออสเตรเลีย  แอ่งน้ำบาดาลนี้มีพื้นที่ 1.7 ล้าน ตร.กม. โดยมีอาณาบริเวณตั้งแต่ตั้งแต่คาบสมุทรเคปยอร์ก(Cape York)ทางเหนือยาวจนถึงทะเลสาบแอร์(Lake Eyre)ซึ่งอยู่ในรัฐออสเตรเลียใต้

35 น้ำฝนที่ตกทางตะวันออกได้ไหลเข้าไปในแอ่งโดยซึมผ่านดินและทำให้ชั้นหินทรายอิ่มน้ำ โดย เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) เสมือนกับฟองน้ำ แต่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่งชั้นหินทรายที่เป็นเหมือนฟองน้ำ ความหนาของชั้นหินนี้มีความหนาตั้งแต่ 100 เมตรไปจนถึงเกือบ 3 กิโลเมตร อยู่ระหว่างชั้นหินใต้น้ำ ชั้นหินโค้งเหล่านี้ลาดลงไปจากตะวันออกไปทางตะวันตกซึ่งต่ำกว่า โดยขอบทางด้านตะวันออกจะอยู่ตามแนวเทือกเขาเกรตดิไวดิง ส่วนด้านตะวันตกลาดเอียงไปยังทะเลสบแอร์ น้ำฝนที่ซึมเข้าไปตามแนวขอบนี้จะค่อย ๆ ไหลไปทางตะวันตกอย่างช้า ๆ ไปทางด้านทะเลสาบแอร์(Lake Eyre)

36 น้ำฝนที่ตกทางตะวันออกได้ไหลเข้าไปในแอ่งโดยซึมผ่านดินและทำให้ชั้นหินทรายอิ่มน้ำ โดย เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) เสมือนกับฟองน้ำ แต่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่งชั้นหินทรายที่เป็นเหมือนฟองน้ำ ความหนาของชั้นหินนี้มีความหนาตั้งแต่ 100 เมตรไปจนถึงเกือบ 3 กิโลเมตร อยู่ระหว่างชั้นหินใต้น้ำ ชั้นหินโค้งเหล่านี้ลาดลงไปจากตะวันออกไปทางตะวันตกซึ่งต่ำกว่า โดยขอบทางด้านตะวันออกจะอยู่ตามแนวเทือกเขาเกรตดิไวดิง ส่วนด้านตะวันตกลาดเอียงไปยังทะเลสบแอร์ น้ำฝนที่ซึมเข้าไปตามแนวขอบนี้จะค่อย ๆ ไหลไปทางตะวันตกอย่างช้า ๆ ไปทางด้านทะเลสาบแอร์(Lake Eyre)

37 น้ำฝนที่ตกทางตะวันออกได้ไหลเข้าไปในแอ่งโดยซึมผ่านดินและทำให้ชั้นหินทรายอิ่มน้ำ โดย เกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) เสมือนกับฟองน้ำ แต่มีขนาดใหญ่มาก ซึ่งชั้นหินทรายที่เป็นเหมือนฟองน้ำ ความหนาของชั้นหินนี้มีความหนาตั้งแต่ 100 เมตรไปจนถึงเกือบ 3 กิโลเมตร อยู่ระหว่างชั้นหินใต้น้ำ ชั้นหินโค้งเหล่านี้ลาดลงไปจากตะวันออกไปทางตะวันตกซึ่งต่ำกว่า โดยขอบทางด้านตะวันออกจะอยู่ตามแนวเทือกเขาเกรตดิไวดิง ส่วนด้านตะวันตกลาดเอียงไปยังทะเลสบแอร์(Lake Eyre) น้ำฝนที่ซึมเข้าไปตามแนวขอบนี้จะค่อย ๆ ไหลไปทางตะวันตกอย่างช้า ๆ ไปทางด้านทะเลสาบแอร์

38 ในบริเวณเกรตอาร์ทีเชียนเบซิน (Great Artesian Basin) มีการเจาะบ่อบาดาลบริเวณพื้นที่ที่ลาดต่ำลงมาจากเทือกเขาโดยเจาะผ่านหินต้านน้ำชั้นบนลงไปถึงชั้นหินทราย แรงโน้มถ่วงก็จะดันน้ำที่ถูกปิดกั้นไว้ให้พลุ่งขึ้นสู่ผิวดิน เนื่องจากน้ำจะทะลักขึ้นเมื่อถูกแรงกด บ่อนี้จึงถูกเรียกว่า อาร์ทีเชียน บอร์(Artesian Basin Bore) (บ่อน้ำบาดาล) ซึ่งเป็นคำที่ได้มาจากแคว้นอาร์ตัวของฝรั่งเศสในสมัยก่อน ที่ซึ่งมีการเจาะบ่อลักษณะนี้เป็นครั้งแรก เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา

39 ในบริเวณเกรตอาร์ทีเชียนเบซิน (Great Artesian Basin) มีการเจาะบ่อบาดาลบริเวณพื้นที่ที่ลาดต่ำลงมาจากเทือกเขาโดยเจาะผ่านหินต้านน้ำชั้นบนลงไปถึงชั้นหินทราย แรงโน้มถ่วงก็จะดันน้ำที่ถูกปิดกั้นไว้ให้พลุ่งขึ้นสู่ผิวดิน เนื่องจากน้ำจะทะลักขึ้นเมื่อถูกแรงกด บ่อนี้จึงถูกเรียกว่า อาร์ทีเชียน บอร์(Artesian Basin Bore) (บ่อน้ำบาดาล) ซึ่งเป็นคำที่ได้มาจากแคว้นอาร์ตัวของฝรั่งเศสในสมัยก่อน ที่ซึ่งมีการเจาะบ่อลักษณะนี้เป็นครั้งแรก เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา

40 ในบริเวณเกรตอาร์ทีเชียนเบซิน (Great Artesian Basin) มีการเจาะบ่อบาดาลบริเวณพื้นที่ที่ลาดต่ำลงมาจากเทือกเขาโดยเจาะผ่านหินต้านน้ำชั้นบนลงไปถึงชั้นหินทราย แรงโน้มถ่วงก็จะดันน้ำที่ถูกปิดกั้นไว้ให้พลุ่งขึ้นสู่ผิวดิน เนื่องจากน้ำจะทะลักขึ้นเมื่อถูกแรงกด บ่อนี้จึงถูกเรียกว่า อาร์ทีเชียน บอร์(Artesian Basin Bore) (บ่อน้ำบาดาล) ซึ่งเป็นคำที่ได้มาจากแคว้นอาร์ตัวของฝรั่งเศสในสมัยก่อน ที่ซึ่งมีการเจาะบ่อลักษณะนี้เป็นครั้งแรก เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา

41 ในบริเวณเกรตอาร์ทีเชียนเบซิน (Great Artesian Basin) มีการเจาะบ่อบาดาลบริเวณพื้นที่ที่ลาดต่ำลงมาจากเทือกเขาโดยเจาะผ่านหินต้านน้ำชั้นบนลงไปถึงชั้นหินทราย แรงโน้มถ่วงก็จะดันน้ำที่ถูกปิดกั้นไว้ให้พลุ่งขึ้นสู่ผิวดิน เนื่องจากน้ำจะทะลักขึ้นเมื่อถูกแรงกด บ่อนี้จึงถูกเรียกว่า อาร์ทีเชียน บอร์(Artesian Basin Bore) (บ่อน้ำบาดาล) เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา ซึ่งในพื้นที่ตอนกลางของออสเตรเลียที่แห้งแล้งมีการนำน้ำบาดาลแบบนี้มาใช้อย่างแพร่หลาย

42 ในบริเวณเกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา ซึ่งในพื้นที่ตอนกลางของออสเตรเลียที่แห้งแล้งมีการนำน้ำบาดาลแบบนี้มาใช้อย่างแพร่หลาย เราสามารถเห็นการใช้กังหันลมสูบน้ำในแถบตอนกลางของออสเตรเลียได้โดยทั่วไป

43 ในบริเวณเกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา ซึ่งในพื้นที่ตอนกลางของออสเตรเลียที่แห้งแล้งมีการนำน้ำบาดาลแบบนี้มาใช้อย่างแพร่หลาย เราสามารถเห็นการใช้กังหันลมสูบน้ำในแถบตอนกลางของออสเตรเลียได้โดยทั่วไป

44 ในบริเวณเกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา ซึ่งในพื้นที่ตอนกลางของออสเตรเลียที่แห้งแล้งมีการนำน้ำบาดาลแบบนี้มาใช้อย่างแพร่หลาย เราสามารถเห็นการใช้กังหันลมสูบน้ำในแถบตอนกลางของออสเตรเลียได้โดยทั่วไป

45 ในบริเวณเกรต อาร์ทีเชียน เบซิน (Great Artesian Basin) เมื่อน้ำบาดาลอันมีค่าถูกค้นพบในดินแดนที่แห้งแล้งของออสเตรเลีย ก็มีการเจาะบ่อบาดาลหลายพันบ่อในพื้นที่แถบนี้อย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา ซึ่งในพื้นที่ตอนกลางของออสเตรเลียที่แห้งแล้งมีการนำน้ำบาดาลแบบนี้มาใช้อย่างแพร่หลาย เราสามารถเห็นการใช้กังหันลมสูบน้ำในแถบตอนกลางของออสเตรเลียได้โดยทั่วไป


ดาวน์โหลด ppt AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google