งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู การจัดการเรียนรู้ “เพศศึกษารอบด้าน” ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรม วันที่ ๑๒ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.

2 เพศวิถี Sexuality เยาวชน กระบวนการเรียนรู้
กรอบแนวคิดในการเตรียมความพร้อมผู้จัดการเรียนรู้ เพศศึกษา บริบททางสังคมวัฒนธรรม แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) เพศวิถี Sexuality กระบวนการเรียนรู้ เยาวชน + สาธิตสอน แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓ และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

3 กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do มี/ผ่านประสบการณ์ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ Apply วางแผนประยุกต์ใช้ เติมข้อมูล เติมข้อมูล Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เน้นกระบวนการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

4 การเตรียมผู้เข้าอบรมสู่การเรียนรู้
วันแรก การเตรียมผู้เข้าอบรมสู่การเรียนรู้ หลักคิดสำคัญสำในการจัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านสำหรับเยาวชน

5 กิจกรรมที่ ๑ : รู้จักฉัน รู้จักเธอ
ชื่อ – นามสกุล ชื่อเล่น วิทยาลัย.. จังหวัด.. ความเป็นวัยรุ่นที่มีอยู่ในตัวเอง

6 ความเป็นวัยรุ่นที่มีอยู่ในตัวเอง
ชอบเที่ยวเทค ชอบมอเตอร์ไซค์ สะสมของเก่า เที่ยวชนบท ชอบอ่านหนังสือ ใจร้อน ชอบทะเล ชอบไหว้พระวันหยุด เล่น Net ดูกีฬา คิดบวก อยู่กับแฟน หัวโต ก้นลีบ/ตัวเล็ก ชอบเท่ห์ ชอบสังเกต ชอบดูการแต่งตัว ชอบนอน ชอบเที่ยว ชอบฟังเพลง ชอบสนุก ชอบตกปลา ชอบท้าทาย/ตื่นเต้น อ่านนิยาย

7 ความคาดหวัง กลับแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนได้ ความรู้เรื่องเพศ
เทคนิควิธีการสอน / ถ่ายทอด ได้เพื่อนใหม่ ทำให้เด็กเห็นคุณค่าในตนเอง รู้วิธีการป้องกันการท้องไม่พร้อม

8 วัน เช้า (๐๘.๓๐-๑๒๐๐) บ่าย (๑๓.๐๐-๑๗.๐๐) (๑๙.๐๐-๒๐.๓๐) ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์ รู้จักกัน & ความคาดหวัง ความไว้วางใจ/ข้อตกลง วิเคราะห์สถานการณ์ของวัยรุ่นในเรื่องเพศและการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา (สถานีรู้เขารู้เรา) เพศวิถีและเพศศึกษารอบด้าน (เส้นชีวิต) กระบวนการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (รู้ว่าเสี่ยงแต่) (ศึกษาแผนการสอน “เพศศึกษา”) ดูหนัง ธรรมชาติวัยรุ่น/เข้าใจความเป็นวัยรุ่น (ดูหนัง “ทางเลือก) ทัศนคติและวัฒนธรรมในเรื่องเพศของสังคมไทย (เลือกข้าง / ดูหนัง “ทางเลือก”) ศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของเยาวชน (ดูหนัง “ทางเลือก”) ประเมินโอกาสเสี่ยงในการรับเชื้อเอดส์ในวิถีชีวิตทางเพศ (แลกน้ำ) การให้ข้อมูลในเชิงวิเคราะห์ (ระดับความเสี่ยง QQR) ดูหนัง “หนึ่งวันชีวิตบวก” ข้อมูล ทัศนคติและความเชื่อเรื่องเพศและผลกระทบต่อสุขภาวะเรื่องเพศ (ใครเอ่ย) เพศสภาพและบทบาททางเพศ (เส้นสมมุติ) การตัดสินคุณค่าและผลกระทบ (อนุมาน/ปรับ บทบาทที่ปรึกษา (ที่ปรึกษาของฉัน /คนกับต้นไม้) ทักษะที่สำคัญในการให้การปรึกษา(การฟัง /การตั้งคำถาม) ชี้แจงการหนุนเสริม/ติดตามโครงการ เดินทางกลับ (๑๕.๐๐ น.)

9 ตุ๊กตาล้มลุก

10 ความรู้สึกในการเป็นผู้เล่น
ตุ๊กตาล้มลุก ความรู้สึกในการเป็นตุ๊กตา เสียว เกร็ง / กลัวเพื่อนไม่รับ กลัวล้ม เกร็ง สนุก ความรู้สึกในการเป็นผู้เล่น หนัก กลัวเพื่อนล้ม หายง่วง

11 ๑. ตุ๊กตาล้มลุก เล่นไม่ได้ สิ่งที่ทำให้เล่นได้ กลัว ไม่มั่นใจ ไม่ไว้ใจ
ไม่มีอารมณ์ สิ่งที่ทำให้เล่นได้ เชื่อใจ / ไว้ใจเพื่อน ท่าทางเพื่อนอบอุ่น มีคนมาช่วย เพื่อนสาธิตให้ดู พูดคุยกัน / ปรึกษา มั่นใจเพื่อน

12 เปรียบเทียบ: ตุ๊กตาล้มลุก - การพูดคุยเรื่องเพศ
ต้องมีความไว้วางใจ เพื่อเปิดให้เกิดการพูดคุย เรื่องเพศ มีแต่คนสนุก แต่ไม่มีใครใส่ใจความรู้สึกเรา ระยะห่าง – ความสนิทสนม จะช่วยให้เปิดเผยได้มากขึ้น มีประสบการณ์ด้วยตนเอง

13 ข้อตกลงในการพูดคุย “เรื่องเพศ” เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน
๑. ให้ทุกคนลดอายุลง ๒. เปิดใจกัน ๓. ไม่ล้อเลียนกัน ๔. ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ๕. ไม่ตัดสินกัน ๖. มองเรื่องเพศเป็นเรื่องธรรมดา ๗. ช่วยกันรักษาความลับ ๘. ช่วยกันแก้ไขปัญหาร่วมกัน

14 กิจกรรม : สถานี “รู้เขารู้เรา”

15 ๒. สถานี “รู้เขารู้เรา” คำถาม:
๒. สถานี “รู้เขารู้เรา” คำถาม: ๑. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือ... เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้แก่... เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใคร หรือที่ใด? ๔. สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยาง คือ... ๕. เป้าหมายของการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาในสถานศึกษา คือ... ๖. ความท้าทายในการผลักดันให้โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษา คือ..

16 สรุปประเด็นสำคัญและตั้งข้อสังเกต
แบ่งกลุ่มย่อย สรุปประเด็นสำคัญและตั้งข้อสังเกต

17 (รับเรื่องเพศไม่ได้) ความท้าทายของการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา
สังคม (รับเรื่องเพศไม่ได้) ปัจจัยเสี่ยง: ถุงยาง =ไว้ใจแฟน,ไม่ได้ตั้งใจ, ไม่มัน, อาย, เข้าไม่ถึงอุปกรณ์ เข้าถึงเรื่องเพศด้วยตัวเอง เมา วิถีชีวิตวัยรุ่น ความเชื่อ / การเลี้ยงดูของครอบครัว แตกต่างไปจากรุ่นเรา มีเพศสัมพันธ์แล้ว > ๑ คน ขาดความรู้ เชื่อเพื่อน สิ่งแวดล้อมเอื้อ เข้าถึงเทคโนโลยี/สื่อ ง่าย ท้อง / ติดโรค ปัจจัยเสริม: วัยรุ่นจะมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย/รับผิดชอบ ถ้า... - รู้จักวิธีป้องกัน คิดเป็น ผู้ใหญ่/รร.เปิดโอกาสเปิดพื้นที่ มีทักษะ / แนวคิดในการใช้ชีวิต ความท้าทายของการจัดการเรียนรู้เพศศึกษา ความสำคัญของทักษะชีวิต กับ ทักษะอาชีพ วิธีการถ่ายทอด/ที่น่าสนใจ /ทั่วถึง เจาะใจ/เข้าถึงเด็ก ครอบครัว / ชุมชน

18 Sexy and Safe สื่อ/สื่อกระตุ้นอารมณ์ เซ็กส์ซี่แต่ไม่ปลอดภัย
สื่อสุขศึกษา/รณรงค์ ปลอดภัยแต่ไม่เซ็กส์ซี่ Sexy and Safe

19 เพศศึกษา รู้จักอารมณ์ตนเอง + การจัดการ ความเสี่ยง ท้อง
ทักษะการประเมินสถานการณ์/การสื่อสาร ความสัมพันธ์และการแสดงออก ความรู้สึกหญิงชาย ความรับผิดชอบ ความเสี่ยง ท้อง เอดส์ ถุงยาง เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย

20 ทิศทางเพศศึกษาในสถานศึกษา คำตอบอยู่ที่ ... ?
เราทุกคน..ลงมือทำ Act now!

21 รู้ว่าเสี่ยง แต่...

22 บ่อยครั้ง ๘๐% ทุกครั้ง ๑๐๐% บางครั้ง ๕๐% น้อยครั้ง/ ไม่เคยเลย

23 คุณทำพฤติกรรมเหล่านี้ได้แค่ไหน ?
บ่อยครั้ง ๘๐% ทุกครั้ง ๑๐๐% คุณทำพฤติกรรมเหล่านี้ได้แค่ไหน ? บางครั้ง ๕๐% น้อยครั้ง/ ไม่เคยเลย

24 ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์
ฉันไม่ดื่มเหล้าเบียร์ / เครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด

25 คาดเข็มขัด/ สวมหมวกฯ ไปใกล้ ๆ ขี้เกียจ ตำรวจเพื่อนกัน อึดอัด เสื้อยับ
ผมเสียทรง เช้ามืดรถน้อย ตำรวจจับ กฎหมายบังคับ เป็นคนโดยสาร มีคนคอยเตือน รถเตือน ปลอดภัย เคารพกฎหมาย เคยชิน เป็นแบบอย่างให้ลูก มีประสบการณ์ เสียทรัพย์

26 ไม่ดื่มเหล้าฯ สังสรรค์ / เข้าสังคม
เกรงใจคนเลี้ยง แฟนไม่อยู่ ดื่มเป็นเพื่อนสามี สนุก / มีความสุข /หลับสบาย อร่อย / ชื่นใจ เป็นงาน เป็นหน้าที่ เป็นผู้นำ เป็นอุปกรณ์การคุย เคยเห็นพ่อกับแม่ทะเลาะกันเพราะพ่อดื่ม ถูกสอน ไม่อร่อย เสียสุขภาพ เมาแล้วเสียภาพลักษณ์ แพ้ แฟนห้าม

27 ๒. การดื่มเหล้า เบียร์ และ แอลกอฮอร์ทุกชนิด เสี่ยงต่อ ...
การไม่คาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่นั่งรถ หรือไม่ใส่หมวกกันน็อคทุกครั้งที่ขับขี่มอเตอร์ไซด์ เสี่ยงต่อ... “อุบัติเหตุ เสียเงิน เสียชีวิต บาดเจ็บ พิการ เสียเวลา” ๒. การดื่มเหล้า เบียร์ และ แอลกอฮอร์ทุกชนิด เสี่ยงต่อ ... “เสียสุขภาพ เสียทรัพย์ เสียภาพลักษณ์ เสียเพื่อน เสียสติ”

28 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนพฤติกรรม คือ...
ทัศนคติ เจอประสบการณ์จริงกับตัวเอง จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้ออำนวย ใช้เวลา เห็นผลกระทบและอยากปรับเปลี่ยน

29 ทำได้น้อย/ ห้ามไม่ได้เลย
“การห้ามวัยรุ่น ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน” มีผลต่อวัยรุ่นอย่างไร... ส่วนใหญ่ทำได้ ๘๐% เชื่อ/ทำตาม๑๐๐% ครึ่ง-ครึ่ง๕๐% ทำได้น้อย/ ห้ามไม่ได้เลย

30 การปรับพฤติกรรมที่ผ่านมา
แจกถุงยาง อบรมครู, ทัศนะศึกษา, ให้ความรู้กับ อกท., จัดบอร์ดให้ความรู้ สอดแทรกในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้คำปรึกษา

31 ประเด็นแลกเปลี่ยน/แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
ในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ให้เด็กผู้หญิงกินยาคุมตลอด?? แจกถุงยางฯ... การให้ความรู้ ทำให้เด็กมีการชะลอการมีเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย ปล่อยให้คนมีเพศสัมพันธ์อย่างเสรี แต่มีอัตราการตั้งครรภ์น้อยมาก?? ถ้าได้รู้ปัญหาของเด็กอย่างแท้จริง ก็จะสามารถแก้ปัญหาได้??

32 จะทำอย่างไรให้เด็กใช้ถุงยางเมื่อมีเพศสัมพันธ์
รณรงค์ในสื่อกระแสหลัก เช่น ยืดอกพกถุง การทำงานกับพ่อแม่ ผู้ปกครองและสังคม ? เรื่องทัศนคติทางเพศที่เอื้อต่อการให้ลูกกล้ามาปรึกษา ครูชี้ให้เด็กนักเรียนเห็นผลดี ประโยชน์และผลเสียที่ตามมาจากการมีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน จะเตรียมครูในโรงเรียนเรื่องปัญหาและแนวทางในการจัดการปัญหาเรื่องเพศของเยาวชน ทำให้เป็นวาระแห่งชาติ หรือกำหนดนโยบายผลักดันเพศศึกษาในหลักสูตรสถานศึกษา การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ส่งผลต่อพฤติกรรมของคนในสังคม ชุมชน

33 กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สังคม บุคคล การทำพฤติกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง การลองทำพฤติกรรมใหม่ เกิดแรงจูงใจที่จะทำ เกิดความรู้/ความตระหนัก ปรับความคิด/มีทักษะ ไม่ตระหนัก

34 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ความรู้ และข้อมูลเป็นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้เปลี่ยนพฤติกรรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความพยายามต่อเนื่อง การให้ข้อมูลที่ทำให้เกิดความกลัวมีข้อจำกัดในการกระตุ้นให้เปลี่ยน พฤติกรรม พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม พฤติกรรมบุคคลเป็นผลจากค่านิยมและการให้คุณค่าในสังคม บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึ้น ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทำได้ การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบัติของชุมชนและสภาพแวดล้อมด้วย

35 คนที่อยู่ในบทบาททำงานเปลี่ยนพฤติกรรม มักคิดว่า “พฤติกรรม” เปลี่ยนง่าย
รู้ว่าเสี่ยง...แต่ โจทย์: คนที่อยู่ในบทบาททำงานเปลี่ยนพฤติกรรม มักคิดว่า “พฤติกรรม” เปลี่ยนง่าย คนมักเลือกใช้วิธีการให้ความรู้เป็นหลัก แล้วหวังว่า คนจะเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คนคิดว่า “คนอื่น” จะให้ความสำคัญในเรื่องต่างๆ (ความเสี่ยงในชีวิต) เหมือนตัวเอง เหตุผลของ “คนนอก” และ “คนใน” ต่างกัน “ข้ออ้าง/ข้อแก้ตัว” “เหตุผล”

36 มองและเข้าใจตัวเอง เพื่อเข้าใจคนอื่น
“...ไม่ว่าจะชอบ หรือไม่ชอบการกระทำใดก็ตาม ความจำเป็นประการแรกในอันที่จะควบคุมพฤติกรรมใด ต้องเริ่มต้นที่เข้าใจพฤติกรรมนั้นในทุกแง่มุมเสียก่อน...” ศ.นิธิ เอียวศรีวงศ์ มองและเข้าใจตัวเอง เพื่อเข้าใจคนอื่น

37 รู้ว่าเสี่ยง แต่... (ก็ยังทำ)

38 กิจกรรม : เส้นชีวิต

39 เมื่อพูดถึง “เพศ” คุณนึกถึง...
เมื่อพูดถึง “เพศ” คุณนึกถึง...

40 เรื่องเพศ... จิตเพศ ความรุนแรง อสุจิ ประจำเดือน ฝันเปียก สีฟ้า สีชมพู
สีฟ้า สีชมพู สรีระ ขนาดอวัยวะเพศ ท่าทางการร่วมเพศ การร่วมเพศ เสียง อากัปกิริยา เพศตรงข้าม อวัยวะเพศ ความเป็นชาย / หญิง ความสัมพันธ์ทางเพศ แม่ การคุมกำเนิด เกย์ กระเทย ทอม ดี้ ความรู้สึก การดูแลตนเอง ผิดเพศ โรคเอดส์ สื่อ ถุงยาง จู๋จิ๋ม ลูกชาย ลูกสาว

41 เรื่องเพศเกี่ยวข้องกับ...
เรื่องเพศมีทั้งภาพบวกภาพลบ / มีหลายมุมมอง เรื่องเพศเกี่ยวข้องกับ ความรู้สึกทางเพศ สรีระ

42 เรื่องเพศ เพศสัมพันธ์
เรื่องเพศ เพศสัมพันธ์ >

43 คุยกันว่า “บัตรคำเรื่องเพศที่ได้รับเกิดขึ้นในช่วงวัยใด”
รับบัตรคำจากผู้ดำเนินการ แล้วจับคู่ คุยกันว่า “บัตรคำเรื่องเพศที่ได้รับเกิดขึ้นในช่วงวัยใด” หาข้อตกลงร่วมกัน แล้วนำไปติดที่ช่วงวัยนั้น ๆ

44 บัตรคำที่ได้รับเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงวัยใด
เส้นชีวิต กลุ่ม ๑ วัยเด็ก ๐-๙ ปี กลุ่ม ๒ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี กลุ่ม ๓ วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ ปี กลุ่ม ๔ วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี กลุ่ม ๕ วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี กลุ่ม ๖ วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป บัตรคำที่ได้รับเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงวัยใด

45 แบ่งกลุ่ม ช่วยกัน “พิจารณาบัตรคำเรื่องเพศที่เกี่ยวข้องกับช่วงวัยนั้นๆ” และ ถ้า “ไม่ใช่ หรือไม่แน่ใจ” ให้ติดบัตรคำนั้น “แยก” ออกมาจากกลุ่ม พร้อมเหตุผล “เขียนเพิ่มเติมเรื่องเพศ” ที่เกิดกับคนในช่วงวัยนั้นๆ ในกระดาษสีขาว ก่อนนำไปติดไว้ที่กลุ่ม

46 วัยเด็ก ๐-๙ ปี วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี
คุยเรื่องเพศ ติดเชื้อ มีประจำเดือน อยากใกล้ชิด เข้าใจบทบาทหญิงชาย มีคู่นอนคนอื่น -รักครั้งแรก ช่วยตัวเอง - ผลิตอสุจิ ติดเพื่อน - มีอคติทางเพศ มีเซ็กส์โดยไม่ป้องกัน ใช้ถุงยาง ดูหนังโป๊ - อยากลอง เลียนแบบ เปิดเผยว่ารักเพศเดียวกัน รักนวลสงวนตัว ความรัก อกหัก มีกิ๊ก ท้อง แท้ง ติเชื้อ มีเป้าหมายในชีวิต มีลูก ใฝ่รู้ รับผิดชอบ ตรวจเลือดหาเชื้อ มีงานทำ แต่งงาน เริ่มใช้อุปกรณ์ป้องกัน ติดเชื้อ ฆ่าตัวตาย ไม่มีเพศสัมพันธ์ สำรวจ/สัมผัสอวัยวะเพศ ครั้งแรก ตั้งคำถาม เด็กเกิดมาจากไหน เสริมความรู้เรื่องเพศ เลียนแบบ เริ่มทำความสะอาดอวัยวะเพศ วัยเด็ก ๐-๙ ปี วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี หมดความสนใจเรื่องเพศ มองเพศตรงข้ามป็นเพื่อน แต่งงานได้ รับผิดชอบ บทบาททางสังคม วัยทอง รับบริการตรวจสุขภาพเป็นครั้งแรก มะเร็งปากมดลูก ใช้ถุงยาง มีลูก บ้าน มรดก สร้างฐานะครอบครัว มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ หมดประจำเดือน วัยทอง เริ่มชีวิตคู่ใหม่ ชายยังมีความต้องการทางเพศ(มีกิ๊ก) หญิงหมดความต้องการทางเพศ ล่วงละเมิดทางเพศ ต้องการเพื่อน

47 เรื่องเพศ ? ผู้หญิงกับผู้ชายมีความแตกต่างกันเรื่องการแสดงออกทางเพศ เช่น หญิงรักชอบใครไม่กล้าบอก ขี้หึง สังคม ค่านิยมไทย บอกสอนว่าผู้หญิงดีไม่ควรแสดงออก ทั้งๆ ที่เพศหญิงก็มีความต้องการทางเพศเช่นกัน ซึ่งจะส่งผลให้ผู้หญิงเก็บกด สังคมจะไม่ยอมรับ ถ้าผู้หญิง หรือคนในวัยต่างๆ ที่มีการแสดงออกต่างจากที่สังคมคาดหวัง สังคม วัฒนธรรมสมัยนี้เริ่มเปลี่ยนแปลง พบว่าผู้หญิงแสดงออกทางเพศมากขึ้น เราละเลยกลุ่มผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ รักร่วมเพศ / รักเพศเดียวกัน คนพิการหรือเด็กพิเศษประเภทต่างๆ

48 Sexuality เพศวิถี ค่านิยม บรรทัดฐานและระบบวิธีคิด วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับคู่รัก คู่ชีวิตในอุดมคติ ซึ่งมิใช่พฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่เป็นการสร้างความหมายทางสังคม เพศวิถีจึงสัมพันธ์กับมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่กำหนดและสร้างความหมายให้แก่เรื่องเพศในทุกแง่มุม เพศวิถีจึงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และมีความเชื่อมโยงกับ “ภาวะความเป็นหญิง หรือชายของผู้คนตามที่สังคมคาดหวัง” หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า “เพศสภาวะ” (Gender)

49 แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) ๒. สัมพันธภาพ (Relationship) ๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) ๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) ๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา”, กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓ และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

50 เกณฑ์ในการแบ่งแยก... พัฒนาการร่างกาย ประสบการณ์จากตัวเอง
การอบรมสั่งสอน ตำราบอก คนส่วนใหญ่ สภาพแวดล้อมเปลี่ยน สังคม วัฒนธรรม ทัศนคติ

51 ทำไมจึงเป็นวัยรุ่นส่วนใหญ่...
เป็นช่วงแห่งความเปลี่ยนแปลง วัยรุ่นแสดงได้ออกเต็มที่ เป็นเรื่องพัฒนาการ การดูแลตัวเอง มีความรับผิดชอบ

52 เรื่องเพศเกี่ยวข้องกับ...
เรื่องเพศมีทั้งภาพบวกภาพลบ / มีหลายมุมมอง เรื่องเพศเกี่ยวข้องกับ ความรู้สึกทางเพศ พัฒนาการ มีมากกว่า ๒ เพศ เรื่องเพศเกี่ยวข้องต่อเนื่องกันเป็นลูกโซ่ เรื่องเพศเกี่ยวข้องกับทุกเรื่อง เรื่องเพศเป็นเรื่องธรรมชาติของมนุษย์/ และเป็นพัฒนาการ / พฤติกรรมและอารมณ์ เพศเกี่ยวข้องกับทุกช่วงวัย เรื่องเพศเกี่ยวข้องกับคุณธรรม / วัฒนธรรม

53 ข้อสังเกตในการวางบัตร
พัฒนาการของช่วงวัยก็ยังขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม / การเลี้ยงดู การตีความของแต่ละคนขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของแต่ละคน ยุคสมัยเปลี่ยน ค่านิยมก็เปลี่ยน

54 สิ่งที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้...
ต้องได้แน่แน่ เรื่องทักษะการใช้ชีวิต การบริโภคสื่อ การอยู่ร่วมกับสังคม พัฒนาการตามวัย ประเพณี วัฒนธรรม ความต้องการ (ร่างกาย และ จิตใจ) กฎหมายที่เกี่ยวกับล่วงละเมิดทางเพศ การศึกษา การดูแลรักษาตัวเอง การคุมกำเนิด อย่างถูกต้องและเหมาะสม อย่างรอบด้าน พัฒนาการของร่างกาย การเรียนอย่างคิด วิเคราะห์ แยกแยะเป็น โดยอาศัยประสบการณ์ ความรู้

55 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม “เส้นชีวิต”
เรื่องเพศเกี่ยวข้อง เรียนรู้ และเป็นไปตามพัฒนาการของแต่ละช่วงวัย เกิด – ตาย ความต้องการทางเพศเป็นไปตามพัฒนาการ พฤติกรรมทางเพศของแต่ละวัยแตกต่างกัน เพศวิถีไม่ใช่แค่เรื่องเพศสัมพันธ์

56 เรื่องเพศคือส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตตั้งแต่เกิดจนตายและมีพัฒนาการของแต่ละช่วงวัย (ธรรมชาติ)
“เรื่องเพศ” มีความหมายมากกว่า “เพศสัมพันธ์” แต่เพศสัมพันธ์ เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเพศ สังคม/วัฒนธรรมมีส่วนในการกำหนดบทบาท ความคาดหวัง ในเรื่องเพศของ คนในแต่ละช่วงวัย และแต่ละเพศ เป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องจัดการเรียนรู้เรื่องเพศ ซึ่งเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต

57 สะท้อนกระบวนการเรียนรู้ท้ายวัน
นึกย้อนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งวัน รู้สึกอย่างไรกับการอบรมวันนี้ ข้อเสนอแนะต่อทีมงาน


ดาวน์โหลด ppt ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google