งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง
การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สถ-อปท) (Local Performance Assessment : LPA) ประจำปี 2560 ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง

2 หลักฐานที่ต้องเตรียม
หมวดที่ 1 ด้านการจัดเก็บรายได้ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาข้อบัญญัติที่ อบจ.ออก ทั้ง 3 ประเภท 2. สำเนาใบเสร็จรับเงินที่ได้มีการจัดเก็บในปีงบประมาณ 2559 3. ออกครบทั้ง 3 ประเภทแต่เก็บไม่ครบโดยเก็บ 2 หรือ 1 ประเภท ได้คะแนนเป็น 0 4. มีแต่ไม่ได้จัดเก็บ คือ ออกข้อบัญญัติโดยกำหนดอัตราภาษีเป็นร้อยละ 0 หรือมีการชะลอการจัดเก็บคะแนน เป็น 0 มีการออกข้อบัญญัติ อบจ. จัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ. จากการค้าน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักในโรงแรม เกณฑ์การให้คะแนน : มีและได้เก็บครบทั้ง 3 ประเภท มีแต่ไม่ได้จัดเก็บ 5

3 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาข้อบัญญัติออกทุกประเภท 2. สำเนาใบเสร็จรับเงินที่ได้มีการจัดเก็บในปีงบประมาณ 2559 มีการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นและได้จัดเก็บตาม พ.ร.บ. การสาธารสุข พ.ศ ดังนี้ ( ) การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ( ) การกำจัดขยะมูลฝอย ( ) การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ ( ) ตลาด ( ) สถานที่จำหน่ายหรือสถานที่สะสมอาหาร ( ) การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ( ) การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ เกณฑ์การให้คะแนน : มีและได้จัดเก็บ 5 ประเภทขึ้นไป มีและได้จัดเก็บ 4 ประเภท มีและได้จัดเก็บ 3 ประเภท มีและได้จัดเก็บ 2 ประเภท มีและได้จัดเก็บ 1 ประเภท ไม่มี หรือมีแต่ไม่ได้จัดเก็บ 5 4 3 2 1

4 ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5
ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5 หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รายงานการจัดส่งข้อมูลสถิติการคลังจากระบบ INFO (วัน/เดือน/ปี) ที่รายงาน 2. กรณีไม่ได้รายงานในระบบหรือรายงานแต่ไม่ได้จัดเก็บข้อมูลไว้ไม่รับการประเมินจากเอกสารอื่น 1.1.2/ การรายงานสถิติการคลังท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ ภายในระยะเวลาที่กำหนดสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การให้คะแนน : เร็วกว่าวันที่ 31 ต.ค. 2559 ภายในวันที่ 31 ต.ค ภายในวันที่ พ.ย ส่งหลังจากวันที่ 20 พ.ย 5 3 1

5 ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5
ประเมิน อบจ. แบบประเมิน หน้า 3, เทศบาลและ อบต. หน้า 5 หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. หลักฐานการประชาสัมพันธ์ 2. รูปแบบสื่อ ได้แก่ - สื่อสังคมออนไลน์ (Facebook, Line) - เว็บไซต์ - จดหมายข่าว - ป้ายประชาสัมพันธ์ - สื่อสิ่งพิมพ์ (วารสาร,แผ่นพับ) - หอกระจ่ายข่าว/เสียงตามสาย - หน่วยเคลื่อนที่ - จดหมายแจ้งผู้เสียภาษีโดยตรง ฯลฯ 1.1.3/ การประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเก็บภาษี เกณฑ์การให้คะแนน : โดยสื่อประชาสัมพันธ์ 8 รูปแบบขึ้นไป โดยสื่อประชาสัมพันธ์ รูปแบบ โดยสื่อประชาสัมพันธ์ รูปแบบ โดยสื่อประชาสัมพันธ์น้อยกว่า 3 รูปแบบ 5 3 1

6 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. โครงการแผนที่ภาษีของ อปท. 2. ทำมือหรือทำด้วยระบบคอมฯ ก็ได้ 3. จะทำตามโปรแกรม LTAX GIS หรือโปรแกรมของหน่วยงานอื่น ก็ต้องมีครบทั้ง 6 ขั้นตอน 4. กรณีทำในขั้นตอนที่ 2 แล้วให้ถือว่าได้ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 เสร็จแล้ว 5. กรณี อปท.ใด มีเอกสารที่ดินเป็น สปก หากได้รับข้อมูลจาก สปก.จังหวัดเป็นไฟล์ Auto cat ให้ถือว่าดำเนินการ ขั้นตอนที่ 1 และ 2 แล้ว 6. กรณีพื้นที่ อปท.ใดไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ (ไม่มีระวางที่ดิน) ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) การจัดทำแผนที่แม่บท มีขั้นตอนดังนี้ (1) ถ่ายระวางที่ดิน (พิมพ์ขาว) (2) สแกนระวางที่ดิน (เป็นไฟล์ภาพ) (3) จัดทำแนวเขตการปกครองในระวางที่ดิน (4) แบ่งเขต (Zone) ในระวางที่ดิน (5) แบ่งเขตย่อย (Block) (6) จัดทำรูปแปลงที่ดิน เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการแล้วถึงขั้นตอนที่ (6) ดำเนินการแล้วถึงขั้นตอนที่ (4) – (5) ดำเนินการแล้วถึงขั้นตอนที่ (3) ดำเนินการในขั้นตอนที่ (1) หรือ (2) ไม่มีการดำเนินการขั้นตอนใดๆ 5 4 3 1

7 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. การคัดลอกข้อมูลที่ดิน อปท.จะต้องขอถ่ายเอกสารสารบบที่ดิน (ทด.1 ทด.9 นส.5) หรือพิมพ์จากระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (LIS) ของ สนง.ที่ดิน แล้วคัดลอกข้อมูลที่ดินลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ทุกแปลงและกำหนดรหัสแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บท 2. จำนวนแปลงที่ดินที่คัดลอก ผ.ท.1X 100 จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ 3. ถ้าไม่ได้จัดทำแผนที่แม่บทจะไม่ได้คะแนนข้อนี้ 4. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) ผลการคัดลอกข้อมูลที่ดิน เกณฑ์การให้คะแนน : คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. คัดลอกข้อมูลลงในแบบสำรวจข้อมูลที่ดิน (ผ.ท.1) ได้ไม่เกินร้อยละ 35 ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯ ของแต่ละ อปท. ยังไม่ได้ดำเนินการ 5 4 3 1

8 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. อปท.จะต้องออกสำรวจรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่ โดยจะบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับที่ดินลงในแบบ ผ.ท. 1 ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างลงในแบบ ผ.ท. 2 ข้อมูลป้ายและการประกอบการค้าลงในแบบ ผ.ท. 3 2. จำนวนแปลงที่ดินสำรวจข้อมูลภาคสนามX 100 จำนวนแปลงที่ดินตามแผนที่แม่บทฯ 3. ตรวจสอบกับจำนวนแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทแต่ละแผ่นตามโครงการฯ 4. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) ผลการสำรวจข้อมูลภาคสนาม เกณฑ์การให้คะแนน : สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ตั้งแต่ร้อยละ ขึ้นไป ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. สำรวจข้อมูลภาคสนามได้ไม่เกินร้อยละ ของแปลงที่ดินจากแผนที่แม่บทตามโครงการจัดทำแผนที่ภาษีฯของ อปท. ยังไม่ดำเนินการ 5 4 3 1

9 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนา ภ.ร.ด. 2, ภ.บ.ท. 5 และ ภป.1 ที่มีการประทับตราข้อความว่าได้ตรวจสอบกับ ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 แล้ว 2. ผ.ท. 5 ของผู้อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีต้องบันทึกข้อมูลการชำระภาษี และได้ติดสลิปสีเขียวแล้ว 3. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 4. สำเนา ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 (บางราย) การนำทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) และทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี (ผ.ท.5) ไปใช้เป็นข้อมูลในการประเมินภาษี เกณฑ์การให้คะแนน : ใช้ในการประเมินทุกรายที่มายื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี และจำนวนเงินภาษี ที่ประเมินตรงตาม ผ.ท. 4 และ ผ.ท. 5 ใช้ในการประเมินทุกรายที่มายื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี แต่จำนวนเงินภาษีที่ประเมินไม่ตรงตาม ผ.ท.4 และ ผ.ท. 5 ใช้ในการประเมินไม่ครบทุกรายที่มายื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี ไม่ได้นำไปใช้ในการประเมินภาษี 5 3 1

10 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนา ผ.ท. 13 จากกองคลัง (แบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล) ที่ผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ 2. สำเนา ผ.ท. 4 ว่ามีการปรับปรุงตาม ผ.ท. 13 หรือไม่ เช่น รหัสแปลงที่ดินใหม่ ฯลฯ 3. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 4. กรณีไม่ต้องปรับปรุง ต้องมีการรายงานข้อมูลว่าได้ดำเนินการตรวจสอบแล้วไม่มีข้อมูลที่จะต้องปรับปรุง การปรับข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เป็นปัจจุบัน เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) เป็นปัจจุบัน ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท. 4) แต่ไม่เป็นปัจจุบัน ไม่ได้ดำเนินปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) ไม่มีทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) 5 3 1

11 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนา ผ.ท. 13 จากกองคลัง (แบบบัญชีแสดงรายการปรับข้อมูล) ที่ผู้บังคับบัญชาลงลายมือชื่อรับทราบ 2. สำเนา ผ.ท. 7 ว่ามีการปรับปรุงตาม ผ.ท. 13 หรือไม่ เช่น รหัสแปลงที่ดินใหม่ ฯลฯ 3. กรณีพื้นที่ของ อปท.ไม่มีเอกสารที่ดินทั้งพื้นที่ ไม่ต้องประเมิน (ตัดฐานคะแนนเต็ม) 4. กรณีไม่ต้องปรับปรุง ต้องมีการรายงานข้อมูลว่าได้ดำเนินการตรวจสอบแล้วไม่มีข้อมูลที่จะต้องปรับปรุง การปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี(ผ.ท.7) เป็นปัจจุบัน เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี(ผ.ท.7 )เป็นปัจจุบัน ดำเนินการปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท. 7) แต่ไม่เป็น ปัจจุบัน ไม่ได้ดำเนินปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท. 7) ไม่มีข้อมูลแผนที่ภาษี (ผ.ท.7) 5 3 1

12 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริง ปี (ภาษีโรงเรือนฯ+ภาษีป้าย+ภาษีบำรุงท้องที่) สูตร:จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริงปี จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริงปี X100 / จำนวนผู้เสียภาษีที่ได้รับชำระจริง ปี 2558 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียภาษีโรงเรือน และที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่ เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 4 3 2 1

13 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริง ปี (ภาษีโรงเรือนฯ+ภาษีป้าย+ภาษีบำรุงท้องที่) สูตร : จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริงปี จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริงปี X100 / จำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมที่ได้รับชำระจริงปี 2558 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 4 3 2 1

14 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. จำนวนเงินภาษีโรงเรือนฯ + จำนวนเงินภาษีป้าย+จำนวนเงินภาษีบำรุงท้องที่+จำนวนเงินค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตฯ ที่จัดเก็บได้จริงในปี รวม X 100 / จำนวนเงินผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดปี 2559 สัดส่วนจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาต ตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ ที่จัดเก็บได้โดยรวมต่อจำนวนเงินผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดในปี 2559 เกณฑ์การให้คะแนน : ร้อยละ ขึ้นไป ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ต่ำกว่าร้อยละ 5 4 3 2 1

15 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน จำนวนรายลูกหนี้ที่มีหนี้ค้างชำระเกินกว่า 3 ปี ก่อนปี X / จำนวนผู้ชำระภาษีปี 2559 นับเฉพาะลูกหนี้ภาษี (ภาษีโรงเรือนฯ+ป้าย+บำรุงท้องที่) อปท. มีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีเกินกว่า 3 ปี เป็นอัตราร้อยละของผู้ชำระภาษีปีปัจจุบัน เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มี มี แต่ไม่เกิน 2 % มี มากกว่า 2% แต่ไม่เกิน 5% มีมากกว่า 5% 5 3 1 จำนวนลูกหนี้ภาษีปี – จำนวนลูกหนี้ภาษีปี X 100 / จำนวนลูกหนี้ภาษีปี 2558 อปท. มีลูกหนี้ผู้ค้างชำระภาษีลดลงจากปีที่ผ่านมาเป็นอัตราร้อยละ (ตัวชี้วัดนำร่อง) ลดลงร้อยละ ขึ้นไป หรือจัดเก็บได้ 100% เท่าเดิม หรือลดลงร้อยละ ไม่ลดลงและมีลูกหนี้เพิ่มขึ้น

16 หลักฐานที่ต้องเตรียม
หมวดที่ 2 การจัดทำงบประมาณ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ ปี 2559 2. รายงานการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 3. รายงานการประชุมสภาที่เสนอร่างงบประมาณ 4. หน้ารายงานจากระบบ e-LAAS 2.1 อปท. เสนอร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อสภาท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนน : เสนอภายใน 15 กรกฎาคม เสนอภายใน 15 สิงหาคม เสนอภายใน 15 กันยายน เสนอหลัง 15 กันยายน 5 3 1 1. สำเนาหนังสือส่งสำเนาประกาศให้ผู้กำกับดูแล 2. สำเนาประกาศใช้ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ 2.2 อปท. จัดทำข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้สามารถใช้ทันได้ในวันที่ 1 ตุลาคม และส่งสำเนาประกาศให้ผู้กำกับดูแล และจัดทำรายงานข้อมูลเผยแพร่ประชาชนใน 30 วัน หลังสิ้นสุดงบประมาณ พ.ศ ทำตามระดับ 3 และจัดทำรายงานข้อมูลรายรับ-รายจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจำปี และเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ ภายใน 30 วัน นับจากสิ้นปีงบประมาณ ทำตามระดับ 1 และส่งสำเนาประกาศงบประมาณรายจ่ายให้ผู้กำกับดูแลภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ประกาศ จัดทำข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี ให้สามารถใช้ได้ทันในวันที่ 1 ตุลาคม 2558 ไม่มีการดำเนินการ

17 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ ปี งบลงทุน (เฉพาะค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) X / งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทั้งหมด 2.3 การตั้งงบประมาณรายจ่าย งบเพื่อการพัฒนาที่มิใช่รายจ่ายประจำ ในปีงบประมาณ พ.ศ เกณฑ์การให้คะแนน : เกินร้อยละ 15 ขึ้นไป เกินร้อยละ 10 แต่ไม่เกินร้อยละ 15 เกินร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ไม่เกินร้อยละ 5 5 3 1 1. สำเนาหลักฐานการโอนงบประมาณรายจ่ายฯ 2. รายงานการขออนุมัติต่อผู้มีอำนาจ 3. รายงานการประชุมสภา 2.4 การโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปีข้ามหมวด (ยกเว้น กรณีโอนตามนโยบายรัฐบาลและการโอนเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้างหมวดครุภัณฑ์ฯ) มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่าย ไม่เกิน 4 รายการ มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่าย รายการ มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่าย รายการ มีการโอนงบประมาณข้ามหมวดรายจ่ายเกินกว่า 10 รายการ

18 หลักฐานที่ต้องเตรียม
หมวดที่ 3 การพัสดุ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. เอกสารโครงการจัดซื้อจัดจ้างกรณีสอบราคา/ประกวดราคา ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ 2. หากไม่มีโครงการที่ต้องสอบราคา/ประกวดราคาให้จัดเตรียมเอกสารกรณีตกลงราคาไม่น้อยกว่า 5 รายการ 3. หากไม่มีงานก่อสร้างไม่ต้องประเมินข้อ 3 4. หากไม่มีการซื้อครุภัณฑ์ไม่ต้องประเมินข้อ 6 3.1 การบริหารพัสดุดำเนินการดังนี้ ( ) 1. จัดทำรายงานขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง ( ) 2. ส่งประกาศเอกสารสอบ/ประกวดราคา ( ) 3. ทำป้ายประชาสัมพันธ์งานก่อสร้าง ( ) 4. เผยแพร่ผลการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละโครงการ ( ) 5. สัญญาจ้างเกิน 1 ล้านบาท ต้องจัดส่ง สตง. กับ สรรพากร ( ) 6. จัดทำทะเบียนครุภัณฑ์ เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการรวมครบ 6 ข้อ ดำเนินการรวม 5 ข้อ ดำเนินการรวม 4 ข้อ ดำเนินการรวม 3 ข้อ ดำเนินการรวม 2 ข้อ ดำเนินการรวมน้อยกว่า 2 ข้อ 5 4 3 2 1

19 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน งบประมาณโครงการหมวดครุภัณฑ์ที่ดิน และสิ่งก่อสร้างที่ตั้งตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติรวมทุกโครงการ - งบประมาณที่ลงนามสัญญาทุกโครงการ X / งบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติฯ (ตรวจเฉพาะโครงการที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง) 3.2 ร้อยละของงบที่ อปท. ประหยัดได้จากการดำเนินการสอบราคา และประกวดราคาหรือการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของโครงการในหมวดครุภัณฑ์ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ในปีงบประมาณ พ.ศ (เฉพาะโครงการในเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี) เกณฑ์การให้คะแนน : เกินร้อยละ 5 ขึ้นไป เกินร้อยละ แต่ไม่เกินร้อยละ 5 เกินร้อยละ 0 แต่ไม่เกินร้อยละ 2.5 ร้อยละ 0 5 3 1 แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามประกาศ คตง. งบลงทุนตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ (กรณีตั้งงบประมาณไว้ไม่ถึงวงเงินที่ต้องรายงานตามประกาศ คตง. ไม่ประเมินข้อนี้ ตัดฐานคะแนนเต็ม) 3.3 การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างโครงการงบลงทุนทั้งหมด ไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่ตามกฎหมายกำหนด ตามแบบรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง (ภายในวันที่ 15 ตุลาคม ของทุกปี) จัดทำฯ ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดครบทุกโครงการ จัดทำฯ ไม่ครบ 1 โครงการ จัดทำฯ ไม่ครบ 2 โครงการ จัดทำฯ ไม่ครบเกินกว่า 2 โครงการหรือไม่จัดทำฯ

20 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ 2. เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง 3. แบบรายงานผลการปฏิบัติงานจัดซื้อจัดจ้างตามประกาศ คตง. 4. ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง 5. หลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เช่น ลงเวปไซต์ หนังสือส่ง สตง. หรือติดประกาศฯลฯ (กรณีตั้งงบประมาณไว้ไม่ถึงวงเงินที่ต้องรายงานตามประกาศ คตง. ไม่ประเมินข้อนี้ ตัดฐานคะแนนเต็ม) 3.4 การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง (งบลงทุนสิ่งก่อสร้าง, งบครุภัณฑ์ที่มีงบประมาณสูงสุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ) ดังนี้ (1) ชื่อโครงการ (2) งบประมาณ (3) ผู้ซื้อซอง (4) ผู้ยื่นซอง (5) ผู้ได้รับการคัดเลือก (6) มีการระบุวิธีการจัดจ้าง (7) มีการแสดงเหตุผลที่ใช้ในการตัดสินใจ เกณฑ์การให้คะแนน : เผยแพร่ครบทั้ง 7 องค์ประกอบ เผยแพร่ได้ องค์ประกอบ เผยแพร่ได้ องค์ประกอบ เผยแพร่ได้น้อยกว่า 3 องค์ประกอบ 5 3 1 แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามประกาศ คตง. รายงานผลการปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามแผนฯ สำเนาหนังสือส่ง สตง. สำเนาหลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ งบลงทุนตามข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ - ต้องรายงานภายใน 30 วัน นับแต่วันทำการสุดท้ายของไตรมาส 3.5 การรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง (งบลงทุน) ตามประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ข้อ 6 ให้ผู้รับตรวจจัดให้มีการตรวจสอบติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง แล้วรายงานผลการตรวจสอบให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบเป็นประจำ (รายงานตามแบบรายงานผลการปฏิบัติตามแผนฯ) รายงานฯ ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดครบทุกโครงการ รายงานฯ ไม่ครบ 1 โครงการ รายงานฯ ไม่ครบ 2 โครงการ รายงานฯ ไม่ครบเกินกว่า 2 โครงการหรือไม่รายงานฯ

21 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 2. สำเนาหนังสือแจ้ง สตง. 3. หลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (กรณีตั้งงบประมาณไว้ไม่ถึงวงเงินที่ต้องรายงานตามประกาศ คตง. ไม่ประเมินข้อนี้ ตัดฐานคะแนนเต็ม) 3.6 อปท. จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างสำหรับครุภัณฑ์ ที่มีราคาเกินหนึ่งแสนบาทและที่ดินสิ่งก่อสร้างที่มีราคาเกินหนึ่งล้านบาท และได้ส่งสำเนาให้ สตง. ภูมิภาคในเวลาที่กำหนดรวมทั้งประกาศเผยแพร่ เกณฑ์การให้คะแนน : มีการประกาศเผยแพร่ภายในสามสิบวันหลังจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลใช้บังคับและส่งสำเนาให้ สตง.ภูมิภาคภายใน 31 ตุลาคม มีการประกาศเผยแพร่ และส่งสำเนาให้ สตง.ภูมิภาคภายใน 31 ต.ค. มีการประกาศเผยแพร่ ไม่มีการดำเนินการ 5 3 1 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 2. สำเนาหนังสือส่ง ผวจ./นอ. 3. รายงาน/บันทึก ที่ผู้บริหารเห็นชอบราคากลาง 4. รายงานการประชุมคณะกรรมการกำหนดราคากลาง 5. กรณีการก่อสร้างไม่เกินห้าล้านบาท (ตัดฐาน) 3.7 งบลงทุนที่มีวงเงินค่าก่อสร้างตั้งแต่ห้าล้านบาทขึ้นไป ที่ อปท. เป็นผู้ตั้งงบประมาณให้รายงาน ผวจ.กรณีเทศบาล/อบจ. หรือรายงานนายอำเภอ กรณี อบต. นับแต่ผู้บริหารท้องถิ่นได้เห็นชอบหรืออนุมัติราคากลางนั้น รายงานภายใน 2 วันทำการ รายงานภายใน 3 วันทำการ รายงานภายใน 4 วันทำการ รายงานเกินกว่า 4 วันทำการ

22 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 2. สำเนาประกาศของ อปท. 3. หลักฐานการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ช่องทางเว็บไซต์กรมบัญชีกลางและเว็บไซต์หน่วยงาน หรือช่องทางอื่นๆ 3.8 กรณีงานจ้างก่อสร้างวงเงินเกินหนึ่งแสนบาท อปท.ได้ประกาศเผยแพร่ราคากลางตามแนวทาง ป.ป.ช. ในเว็บไซต์อย่างน้อย 2 เว็บไซต์ ขึ้นไปตามแบบที่กำหนด เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการครบทุกโครงการและเผยแพร่มากกว่า 1 ช่องทาง ดำเนินการครบทุกโครงการ ดำเนินการแต่ไม่ครบทุกโครงการ ไม่ได้ดำเนินการ 5 3 1 สำเนาประกาศจัดซื้อจัดจ้าง สำเนาหนังสือส่งเพื่อขอใช้สถานที่กลาง สำหรับปิดประกาศ รับซอง หรือเปิดซอง กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างวิธีสอบราคา/ประกวดราคา ไม่ต้องนำมาเป็นฐานในการคำนวณคะแนน 3.9 มีการใช้สถานที่กลางสำหรับปิดประกาศรับซองและเปิดซองสอบราคา มีการใช้สถานที่กลางสำหรับปิดประกาศ รับซองและเปิดซองสอบราคา มีการใช้สถานที่กลางทั้งวิธีสอบราคาและประกวดราคาแต่ได้ดำเนินการเฉพาะการปิดประกาศ รับซอง หรือเปิดซอง มีการใช้สถานที่กลางเฉพาะวิธีสอบราคาหรือประกวดราคา และได้ดำเนินการเฉพาะการปิดประกาศ รับซอง หรือเปิดซอง ไม่มีสถานที่กลาง

23 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง 2. สำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการฯ 3. สำเนาการเห็นชอบราคากลางฯ 4. สำเนาการเปิดเผยราคากลางในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง (e-GP) และเว็บไซต์ของ อปท. 3.10 การดำเนินการเกี่ยวกับราคากลาง เกณฑ์การให้คะแนน : มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง มีการขออนุมัติเห็นชอบราคากลาง และมีการเปิดเผยราคากลางตามแนวทางการเปิดเผยราคากลางของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไม่มีการดำเนินการหรือดำเนินการไม่ครบถ้วนถูกต้องตามระเบียบ 5 เอกสารโครงการจัดจ้างทุกโครงการ เอกสารการส่งมอบงาน เอกสารการตรวจรับการจ้าง หลักฐานแสดงวันที่ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างรับทราบการส่งมอบงานและนัดตรวจรับงาน 3.11 คณะกรรมการตรวจการจ้างได้ออกไปตรวจรับงานจ้างที่ผู้รับจ้างส่งมอบภายใน 3 วันทำการ นับตั้งแต่วันที่ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างได้ทราบการส่งมอบงาน ดำเนินการเร็วกว่า 3 วันทำการ ดำเนินการภายใน 3 วันทำการ ดำเนินการภายใน วันทำการ ดำเนินการเกินกว่า 5 วันทำการ 3 1

24 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. สำเนาการเปิดเผยราคากลางในเว็บไซต์กรมบัญชีกลาง (e-GP) และเว็บไซต์ของ อปท. 2. สำเนาประกาศเผยแพร่ราคากลาง 3. ภาพถ่ายการปิดประกาศเผยแพร่ฯ 4. เลขคุมสัญญาในระบบ e-GP ทุกโครงการที่เกิน 1 แสนบาท 5. สำเนาหนังสือส่งกรณีส่งไปเผยแพร่ยังหน่วยงานภายนอก 3.12 งบลงทุนงานจ้างก่อสร้าง อปท. ได้จัดทำและประกาศเผยแพร่ราคากลาง รายละเอียดการคำนวณราคากลาง ตาม BOQ (Bill Of Quality) ซึ่งผู้บริหารได้เห็นชอบแล้ว (1) เผยแพร่ทางเว็บไซต์ อปท./หรือเว็บไซต์ของจังหวัด (2) เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง (3) ปิดประกาศ ณ ป้ายประชาสัมพันธ์ของ อปท. หรือสถานที่กลางสำหรับเป็นศูนย์รวมข่าวจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการครบทั้ง 3 ข้อ ดำเนินการครบทั้ง 2 ข้อ ดำเนินการเพียง 1 ข้อ ไม่ได้ดำเนินการ 5 3 1

25 หมวดที่ 4 การบริหารการเงินและการคลัง หลักฐานที่ต้องเตรียม
หมวดที่ 4 การบริหารการเงินและการคลัง หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จ่ายจริง X 100 / รับจริง 1. รายงานรับ-จ่ายเงินสดประจำเดือนกันยายน 2559 2. เฉพาะที่กำหนดในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ อปท.เบิกจ่ายเงินงบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 เกณฑ์การให้คะแนน : ร้อยละ ขึ้นไป ร้อยละ ร้อยละ น้อยกว่าร้อยละ 5 3 1 สูตร = จ่ายจริงแต่ละไตรมาส X 100 / งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทั้งหมด 1. งบรายไตรมาส 2. รายงานรับ- จ่ายเงินสดประจำเดือน ธ.ค. 58 , มี.ค. 59, มิ.ย และ ก.ย. 59 3. เป้าหมายตามมติครม. ไตรมาส = 30 , 52,73 และ 96 อปท. เบิกจ่ายเงินงบประมาณในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ ตามเป้าหมายแต่ละไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมายทั้ง 4 ไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมาย 3 ไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมาย 2 ไตรมาส เป็นไปตามเป้าหมายน้อยกว่า 2 ไตรมาส

26 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = ค่าตอบแทนจ่ายจริง X 100 ค่าตอบแทนรวม4ไตรมาสตามแผนฯ สูตร = ค่าใช้สอยจ่ายจริง X 100 ค่าใช้สอยรวม4ไตรมาสตามแผนฯ สูตร = ค่าวัสดุจ่ายจริง X 100 ค่าวัสดุรวม4ไตรมาสตามแผนฯ สูตร = ครุภัณฑ์ฯจ่ายจริง X 100 ค่าครุภัณฑ์ฯรวม4ไตรมาสตามแผนฯ 1. เมื่อคำนวณออกมาแล้วต้องไม่มากกว่าหรือน้อยกว่าร้อยละ 80 2. อปท. ไม่จัดทำแผนฯหรือจัดทำแต่ไม่ ครบถ้วนถูกต้อง = 0 คะแนน 3. สำเนารายงานการรับ-จ่ายเงินสด เดือน กันยายน 2559 4. แผนการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานย่อยและ แผนรวมของ อปท. อปท. มีการบริหารจัดการในเรื่องเบิกจ่ายเงิน 4 ประเภท (ค่าตอบแทน, ค่าใช้สอย, ค่าวัสดุ, ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นไปตามแผนการใช้เงิน เกณฑ์การให้คะแนน : เป็นไปตามแผน 4 ข้อ ร้อยละ เป็นไปตามแผน 3 ข้อ ร้อยละ เป็นไปตามแผน ข้อ ร้อยละ ไม่เป็นไปตามแผน 5 3 1

27 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จำนวนเงินกันกรณีไม่มีหนี้ผูกพันทุกรายการหมวดครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง X 100 / งบประมาณรายจ่ายประจำปี+งบประมาณจ่ายเพิ่มเติม (ถ้ามี) 1. รายงานการประชุมสภาฯ 2. บันทึกขออนุมัติกันเงินกรณีไม่มีหนี้ฯ 3. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม (ถ้ามี) การกันเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมกรณียังไม่ก่อหนี้ผูกพันในหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นอัตราร้อยละของงบประมาณรายจ่ายประจำปีและงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มีการกันเงิน กันเงินไม่เกินร้อยละ 5 กันเงินไม่เกินร้อยละ 10 กันเงินเกินร้อยละ 10 5 3 1

28 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รายงานการจ่ายเงินสะสม ปี ไม่รวมกรณีสาธารณภัย 2. สำเนารายงานการประชุมสภาฯ 3. วัตถุประสงค์ของรัฐบาล ดังนี้ - สนับสนุนการดำเนินการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ปรับปรุงหรือจัดให้มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร - ปรับปรุงหรือจัดให้มีแหล่งน้ำเพื่อการบริโภค - โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามนโยบายรัฐบาล (ท่องเที่ยววิถีไทย) - โครงการส่งเสริมการใช้ยางพาราภายในประเทศตามนโยบายรัฐบาล - โครงการหรือกิจการตามอำนาจหน้าที่ของ อปท. ที่เห็นว่าจำเป็นต้องดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน อปท.มีการเบิกจ่ายเงินโดยจ่ายเงินจากเงินสะสมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของรัฐบาล (ตัวชี้วัดนำร่อง) เกณฑ์การให้คะแนน : เป็นไปตามวัตถุประสงค์ครบทุกโครงการและส่งรายงาน สถ.ทราบทุกโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ครบทุกโครงการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์แต่ไม่ครบทุกโครงการ ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ กรณี อปท. ไม่มีเงินสะสมจะจ่ายหรือมีแต่ไม่ใช้จ่าย ได้คะแนนเป็น 0 ถือว่าไม่สนองนโยบายรัฐบาล 5 3 1

29 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = งบประมาณราจ่ายทั้งหมด - รายจ่ายประจำ X 100 / งบประมาณรายจ่ายทั้งหมด 1. งบการเงินประจำปี / งบเดือนกันยายน 59 2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายงบเพื่อการพัฒนาที่มิใช่รายจ่ายประจำพิจารณาจากการเบิกจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ (ไม่รวมการกันเงินเหลื่อมปี) เกณฑ์การให้คะแนน : เบิกเกินร้อยละ 80 ขึ้นไป เบิกเกินร้อยละ 75 แต่ไม่เกินร้อยละ 80 เบิกเกินร้อยละ 60 แต่ไม่เกินร้อยละ 75 เบิกไม่เกินร้อยละ 60 5 3 1 สูตร = จำนวนวันทำการถัดจากวันสิ้นเดือนถึงวันที่เสนอผู้บริหารท้องถิ่นรวมทั้ง 12 เดือน หารด้วย 12 - สำเนารายงานงบเดือนทั้ง 12 เดือน การบันทึกบัญชีเป็นปัจจุบันและจัดทำรายงานการเงินประจำเดือนเสนอผู้บริหารท้องถิ่นได้ในเดือนถัดไป โดยเฉลี่ย ภายใน 5 วันทำการ ภายใน วันทำการ ภายใน วันทำการ เกินกว่า 15 วันทำการ

30 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รายงานการบันทึกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติในระบบ e-LAAS 2. รายงานการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณหรือเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณในระบบฯ การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ .ศ เกณฑ์การให้คะแนน : อนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีและมีการบันทึกการโอนและหรือการเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณในระบบฯ บันทึกและอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำบันทึกงบประมาณรายจ่ายประจำปีไม่ครบถ้วน ยังไม่มีการบันทึกงบประมาณรายจ่ายประจำปี 5 3 1 สูตร = จำนวนผู้ที่ต้องเสียภาษีทั้งสามประเภทที่บันทึกในระบบ e-LAAS X 100 /จำวนอยู่ในข่ายต้องเสียภาษีตามทะเบียนคุมทุกรายในระบบมือ สำเนาเอกสารที่พิมพ์จากระบบฯ สำเนารายละเอียดผู้ชำระภาษี หรือรายงานรายชื่อผู้เสียภาษีทั้งหมด การบันทึกข้อมูลผู้เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย (กรณีเทศบาลและอบต.เท่านั้น ไม่ใช้กับ อบจ.) บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ ขึ้นไป ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ บันทึกข้อมูลได้ไม่เกินร้อยละ ของผู้ที่อยู่ในข่ายฯ

31 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จำนวนบุคลากรฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำในปัจจุบัน X 100 /จำนวนบุคลากรฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำที่บันทึกในระบบ e-LAAS 1. รวมข้าราชการครู ศพด.ด้วย 2. ไม่รวมข้าราชการครูโรงเรียน 3. สำเนารายงานจากระบบฯ 4. สำเนาฐานข้อมูลเงินเดือนจากระบบฯ การบันทึกข้อมูลบุคลากรของ อปท. ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำให้ครบถ้วน ถูกต้องเป็นปัจจุบันทั้งข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลบุคลากรและข้อมูลการรับเงิน เกณฑ์การให้คะแนน : บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ ของบุคลากรทั้งหมด บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ ของบุคลากรทั้งหมด บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ ของบุคลากรทั้งหมด บันทึกข้อมูลได้ร้อยละ ของบุคลากรทั้งหมด 5 3 1 - สำเนาเอกสารที่พิมพ์จากระบบฯ ทะเบียนรายรับ-สมุดเงินสดรับ ณ เดือนที่เข้าตรวจ ทะเบียนรายรับ/สมุดเงินสดรับ ที่บันทึกมือ การดำเนินการรับและบันทึกข้อมูลในระบบฯ ดำเนินการรับในระบบครบถ้วน ตั้งแต่ปี 2559 จนถึงปัจจุบันโดยไม่มีการลบข้อมูลปี 2559 ดำเนินการหรือบันทึกการรับเงินในระบบฯในปี ไม่ครบถ้วน (ลบข้อมูลปี เพื่อเพิ่มปี 2560 )แต่ดำเนินการในปี เป็นปัจจุบัน ดำเนินการหรือบันทึกการรับเงินในระบบฯ ในปี จนถึงปัจจุบันไม่ครบถ้วน ไม่มีการดำเนินการหรือบันทึกการรับเงินในปี และปัจจุบัน

32 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน - สำเนาเอกสารที่พิมพ์จากระบบฯ ทะเบียนสมุดเงินสดจ่าย ณ เดือนที่เข้าตรวจ สมุดเงินสดจ่ายที่ทำมือ 4.2.6 การดำเนินการจ่ายเงิยและบันทึกข้อมูลในระบบฯ เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการจ่ายเงินในระบบครบถ้วน ตั้งแต่ปี 2559 จนถึงปัจจุบันโดยไม่มีการลบข้อมูลปี 2559 ดำเนินการหรือบันทึกการจ่ายเงินในระบบฯในปี ไม่ครบถ้วน (ลบข้อมูลปี เพื่อเพิ่มปี 2560 )แต่ดำเนินการในปี เป็นปัจจุบัน ดำเนินการหรือบันทึกการจ่ายเงินในระบบฯ ในปี จนถึงปัจจุบันไม่ครบถ้วน ไม่มีการดำเนินการหรือบันทึกการจ่ายเงินในปี และปัจจุบัน 5 3 1 สำเนาหลักฐานหนังสือส่ง สตง. /สนง.คลังจังหวัด อปท. จัดทำงบแสดงฐานะการเงินและรายงานการเงินต่างๆ ประจำปีงปบระมาณ พ.ศ ส่งให้ สตง.และสำนักงานคลังจังหวัด ภายในวันที่ 30 ต.ค ภายในวันที่ 30 พ.ย ภายในวันที่ 29 ธ.ค เกินกว่าวันที่ 29 ธ.ค

33 หลักฐานที่ต้องเตรียม
หมวดที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ หลักฐานที่ต้องเตรียม เกณฑ์การประเมิน คะแนน สำเนารายงานตรวจของ สตง./จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้าไม่มีหน่วยงานไหนเข้าตรวจสอบให้ตัดฐาน การทักท้วงด้านการพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มี มี 1 เรื่อง มี 2 เรื่อง มี 3 เรื่องขึ้นไป 5 3 1 การทักท้วงด้านการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จากหน่วยงานที่มีหน้าทีตรวจสอบ

34 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน สำเนารายงานตรวจของ สตง./จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ถ้าไม่มีหน่วยงานไหนเข้าตรวจสอบให้ตัดฐาน การทักท้วงด้านการจัดเก็บรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ เกณฑ์การให้คะแนน : ไม่มี มี 1 เรื่อง มี 2 เรื่อง มี 3 เรื่องขึ้นไป 5 3 1 มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ

35 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน สำเนารายงานตรวจของ สตง./จังหวัด/สถ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำเนารายงานการดำเนินการตามข้อทักท้วง ของ อปท. ถ้าไม่มีหน่วยงานไหนเข้าตรวจสอบให้ตัดฐาน มีการดำเนินการตามข้อทักท้วงของหน่วยที่ตรวจสอบและดำเนินการแจ้งให้ทราบ เกณฑ์การให้คะแนน : ดำเนินการภายใน 60 วัน ดำเนินการภายใน 90 วัน ดำเนินการภายใน วัน ไม่มีการดำเนินการ 5 3 1 จำนวนเงินภาษีที่จัดเก็บได้ปี – จำนวนเงินภาษีที่จัดเก็บได้ปี X / จำนวนเงินภาษีที่จัดเก็บได้ปี 2558 (น้ำมัน+ยาสูบ+โรงแรม) การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ. จากน้ำมัน, ยาสูบ และผู้เข้าพักโรงแรมโดยรวมในปีงบประมาณ พ.ศ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ – 1.00 ไม่เพิ่มขึ้น

36 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน จำนวนเงินที่จัดเก็บได้จริงจากรายได้อื่นๆนอกจากภาษี ปี – ปี X 100 /ปี 2558 การเพิ่มขึ้นของจำนวนเงินที่จัดเก็บได้จากค่าธรรมเนียมในการให้บริการ ค่าธรรมเนียมอื่นๆ รายได้จากการจัดหาประโยชน์ในทรัพย์สิน และจากการดำเนินกิจการอื่นโดยรวม ยกเว้นภาษีและค่าธรรมเนียมบำรุง อบจ. จากน้ำมัน, ยาสูบและผู้เข้าพักในโรงแรม เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ – 3.00 ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 3 1

37 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1. รับจริง / งบทดลอง 58 และ 59 สูตร = รับจริง 59 – รับจริง 58 X 100 รับจริง 58 การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ของเทศบาลหรือ อบต. 5 3 1 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 เทศบาล อบต.  ร้อยละ 6 ขึ้นไป  ร้อยละ 8 ขึ้นไป  ร้อยละ  ร้อยละ  ร้อยละ  ร้อยละ  ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1

38 หลักฐานที่ต้องเตรียม
เกณฑ์การประเมิน คะแนน สูตร = จำนวนเงินค่าธรรมเนียมฯ ที่จัดเก็บได้ทั้งหมดในปี 59 – 58 X 100 / ปี 58 - รายงานการรับจริงประกอบงบทดลอง ปี 58 และ 59 การเพิ่มขึ้นโดยรวมของจำนวนเงิน ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ เกณฑ์การให้คะแนน : เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ เพิ่มขึ้นจากปี ร้อยละ ไม่เพิ่มขึ้นหรือเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 1.00 5 3 1 สูตร = จำนวนเงินที่เก็บได้รวมปี 59 (ภาษีโรงเรือนฯ+ภาษีป้าย+ภาษีบำรุงท้องที่+ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตฯ) X 100 / จำนวนเงินทั้งหมดหากจัดเก็บได้ 100% โดยไม่มีลูกหนี้หรือผู้ค้างชำระในปี 59 สัดส่วนจำนวนเงินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ค่าธรรมเนียมและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ ที่จัดเก็บได้โดยรวมต่อจำนวนเงินที่ผู้ที่อยู่ในข่ายต้องชำระภาษีทั้งหมดในปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละ 85 ขึ้นไป ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ น้อยกว่าร้อยละ 4 2


ดาวน์โหลด ppt ด้านที่ 3 ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google