งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
Center for Vocational Promotion and Development Eastern region Tel/Fax : ห้อง ผอ Mobile:

2 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) กับการพัฒนาคุณภาพ การจัดการอาชีวศึกษา
นายอมร เอี่ยมสอาด ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริม ภาคตะวันออก 28-29 มีนาคม 2549

3 วัตถุประสงค์ ไม่ใช่รับทราบ/รับรู้ เพียงเพราะเป็น นโยบาย
เพื่อให้ท่าน : 1. เข้าใจกระบวนการจัดการความรู้ KM 2. นำกระบวนการ KM ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของแผนกวิชา / คณะวิชา 3. นำกระบวนการ KM ไปใช้ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนางาน อื่น เพื่อประโยชน์ของสถานศึกษา ไม่ใช่รับทราบ/รับรู้ เพียงเพราะเป็น นโยบาย แต่จะต้องเรียนรู้ แล้วนำไปยึดถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์ ขององค์กร

4 หลายท่านคงเกิดปัญหา ? 1. อะไรกันว๊า KM รู้จักแต่ MK ?

5 MK vs KM MK = สุกี้ยี้ห้อหนึ่ง ช่วยแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน ของ บริษัท มาบุญครอง จำกัด (Maboonklong) KM = Knowledge Management กระบวนการจัดการความรู้ เพื่อให้คนในองค์กรที่ต้องการความรู้ ได้รับความรู้ ทันเวลาที่ต้องการ เพื่อบรรลุเป้าหมายของงาน KM = Knowledge Management กระบวนการจัดการความรู้ เพื่อให้คนในองค์กรที่ต้องการความรู้ ได้รับความรู้ ทันเวลาที่ต้องการ เพื่อบรรลุเป้าหมายของงาน

6 KM กับงานของเรา จัดการศึกษา บริการสังคม เพิ่มปริมาณ พัฒนาคุณภาพ
C.Poors บริการสังคม Fix It Flag Ship

7 สถานศึกษาท่าน เคยมีปัญหานี้เกิดขึ้นหรือไม่ ?
สถานศึกษาท่าน เคยมีปัญหานี้เกิดขึ้นหรือไม่ ? ปัญหา ทั้งสามประการนี้ น่าจะเพียงพอ ที่จะคาดคะเนได้ว่า สถานศึกษาท่าน จะอยู่ในสถานภาพใด หากอยู่ในภาวะแข่งขัน โดยไม่มีสถานะของการเป็นหน่วยงานรัฐ ที่จริง มันก็แปลกมาก เมื่อพูดเรื่อง KM กับครู/เจ้าหน้าที่ มักมีคำถามถึงผู้บริหารเสมอ! หรือว่า ช่างมัน อีกหน่อยเราก็ย้าย จะเหนื่อยไปทำไม ! 1. บุคลากรขาดความเป็นเอกภาพในการทำงาน เพราะต่างคนต่างทำงาน ซึ่งจะไม่สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ของวิทยาลัย ฯ และแตกความสามัคคีกันในที่สุดด้วยผลประโยชน์ของแต่ละบุคคล 2. เมื่อขาดบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่สามารถแก้ไขได้ ต้องคอยบุคคลนั้นกลับมา 3. บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงาน เมื่อพ้นวาระ ความรู้และความสามารถที่มีอยู่ในตัว ก็พ้นวาระตามไปด้วย

8 แต่ไม่ให้ความสำคัญ กับ การจัดการความรู้ KM
มันแปลกดีนะ แล้วสถานศึกษา จะเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ Learning Organization ได้อย่างไร? องค์กร แห่งการเรียนรู้ จะมีบรรยากาศ แห่งความเป็นมิตร ในการทำงาน องค์กร แห่งการเรียนรู้ จะพัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง จากบุคลากร เราเป็นหน่วยงานจัดการศึกษา มีหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ แต่ไม่ให้ความสำคัญ กับ การจัดการความรู้ KM

9 MK vs KM KM=Knowledge Management กระบวนการจัดการความรู้ เพื่อให้คนในองค์กรที่ ต้องการความรู้ ได้รับความรู้ ทันเวลาที่ต้องการ เพื่อบรรลุเป้าหมายของงาน

10 ความรู้ภายนอก /ชัดแจ้ง (Explicit) ความรู้ภายใน /โดยนัย (Tacit)
องค์กรแห่งการเรียนรู้ Learning Organization ความรู้ภายนอก /ชัดแจ้ง (Explicit) องค์กร LO งาน KM คน ความรู้ภายใน /โดยนัย (Tacit) กระบวนการจัดการความรู้ Knowledge Management

11 องค์กรแห่งการเรียนรู้ Learning Organization
ดังนั้น องค์กรแห่งการเรียนรู้ จะเกิดขึ้นได้จากประสิทธิภาพในการบริหารงานบุคคล ของผู้บริหาร เป็นสำคัญ ! -บุคลากรขององค์กร มีความรักในองค์กร -บุคลากรขององค์กร มีความรักสามัคคีเป็นเอกภาพ -บุคลากรขององค์กร มีความใฝ่รู้ โดยมีผู้บริหารสนับสนุน ผู้บริหาร ต้อง ปรับเปลี่ยนเป็น ผู้ส่งเสริมสนับสนุน และ อำนวยความสะดวก มิใช่ผู้สั่งให้ทำ 1.ให้ความสำคัญกับคน มากกว่าปัจจัยการผลิตอื่น 2. คนขององค์กรมีลักษณะเป็นผู้ใฝ่รู้ และมุ่งมั่นที่จะพัฒนาความสามารถของตน โดยร่วมเรียนรู้จากการทำงานกันเป็นทีม (Team Learning) 3. มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ ให้คนในองค์กรเพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือ และร่วมทำงานเป็นทีม 4. มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และพัฒนาความสามารถ

12 ทำไมต้องเป็นองค์กร LO
เพราะมีความได้เปรียบเหนือคู่แข่งอย่างถาวร เป็นองค์กรอมตะ เจริญเติบโต และยั่งยืน บุคลากรสนุกสนาน มีความสุขอยากมาทำงาน

13 องค์กรแห่งการเรียนรู้ Learning Organization
ผู้บริหาร ต้อง ปรับเปลี่ยนเป็น ผู้ส่งเสริมสนับสนุน และ อำนวยความสะดวก มิใช่ผู้สั่งให้ทำ -บุคลากรขององค์กร มีความรักในองค์กร -บุคลากรขององค์กร มีความรักสามัคคีเป็นเอกภาพ -บุคลากรขององค์กร มีความใฝ่รู้ โดยมีผู้บริหารสนับสนุน 1.ให้ความสำคัญกับคน มากกว่าปัจจัยการผลิตอื่น 2. คนขององค์กรมีลักษณะเป็นผู้ใฝ่รู้ และมุ่งมั่นที่จะพัฒนาความสามารถของตน โดยร่วมเรียนรู้จากการทำงานกันเป็นทีม (Team Learning) 3. มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ ให้คนในองค์กรเพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือ และร่วมทำงานเป็นทีม 4. มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และพัฒนาความสามารถ

14 ทำไมจึงต้องจัดการความรู้
โลกของข้อมูล/ข่าวสาร/การสื่อสาร ระวัง ต้องมีสักวัน จะมีการปิดวิทยาลัย หาก - ไม่ผ่านการประเมิน จาก สมศ. ปริมาณเด็กไม่คุ้มกับการลงทุน โรงเรียนเอกชนมีคุณภาพมากกว่า - รร.ต่างชาติจะมากขึ้น เป็นห่วงนะ พี่น้อง! องค์กรที่ให้ความสำคัญ ต่อ KM เท่านั้น จึงจะอยู่รอดได้ Learning Organization Blue Planet องค์กรที่ไม่ให้ความสำคัญ ต่อ KM จะอยู่รอดไม่ได้ โลกของการแข่งขัน/FTA

15 หากต้องการจะเป็นองค์กร LO
ประสิทธิภาพ การบริหารงาน บุคคล องค์กร LO กระบวนการ KM ประสิทธิภาพ การคว้าความรู้

16 องค์กร LO จะมีลักษณะ 5ส สนุกสนาน มีความสุขในการทำงาน
สะดวก หาข้อมูลความรู้ได้ง่าย สร้างสรรค์มีสาระ ผลงานเป็นประโยชน์ ตรงตามเป้า พัฒนางาน สื่อสาร ถ่ายทอด แบ่งปัน สามัคคี เรียนรู้เป็นทีม

17 บุคคลที่เกี่ยวข้อง KA KS KV Model “ปลาทู” “คุณอำนวย” “คุณเอื้อ”
Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Model “ปลาทู” บุคคลที่เกี่ยวข้อง “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator KS KA KV “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner “คุณกิจ”

18 KM = Knowledge Management กระบวนการจัดการความรู้ เพื่อให้คนในองค์กรที่ต้องการความรู้ ได้รับความรู้ ทันเวลาที่ต้องการ เพื่อบรรลุเป้าหมายของงาน

19 ประเภทของความรู้ ความรู้ภายนอก Explicit Knowledge
ตำรา คู่มือ กฏระเบียบ ฯลฯ มีมากมาย และง่ายต่อการเข้าถึง ความรู้ภายใน/โดยนัย Tacit Knowledge ทักษะ ประสบการณ์ ความคิด พรสวรรค์ มีคุณค่า และยากต่อการเข้าถึง

20 ความรู้ใด ? สำคัญกว่ากัน ความรู้ใด ? เกิดก่อนกัน
ความรู้ใด ? สำคัญกว่ากัน ความรู้ภายนอก Explicit Knowledge ตำรา คู่มือ กฎระเบียบ ฯลฯ ความรู้ Knowledge ความรู้ภายใน/โดยนัย Tacit Knowledge ทักษะ ประสบการณ์ ความคิด พรสวรรค์ ความรู้ใด ? เกิดก่อนกัน

21 ที่มาของแนวคิด KM KM ความรู้ภายใน Tacit Knowledge นำไปใช้ เรียนรู้
ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ ความรู้ภายนอก Explicit Knowledge นำไปใช้ เรียนรู้ คน หากองค์กร ไม่นำ Tacit Knowledge ของคนมาใช้ จะขาดโอกาสใช้ทุนทางปัญญาที่มี ไม่นำไปใช้ = รับรู้

22 แนวคิด “การจัดการ” ความรู้
Create/Leverage Access/Validate ทำอย่างไร องค์กรจึงจะได้ Explicit ที่เป็นปัจจุบัน ? Tacit เพื่อพัฒนางานร่วมกัน ? เข้าถึง ตีความ สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้ภายนอก Explicit Knowledge ความรู้ภายใน Tacit Knowledge รวบรวม/จัดเก็บ นำไปปรับใช้ เรียนรู้ร่วมกัน store apply/utilize Capture & Learn มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้ ยกระดับ Care & Share เน้น 2 T เน้น 2 P Tool & Technology People & Process

23 เครื่องมือที่ใช้จัดการความรู้
ความรู้ภายนอก Explicit Knowledge ความรู้ Knowledge 2T= Tool / Technology มีมากมาย และง่ายต่อการเข้าถึง ความรู้ภายใน/โดยนัย Tacit Knowledge 2P= People / Process มีคุณค่า และยากต่อการเข้าถึง

24 เมื่อกล่าวถึง KM จึงมุ่งไปที่
การจัดการความรู้ภายใน/โดยนัย ของคน (Tacit Knowledge) เป็นสำคัญ กระบวนการคนค้นคน ทั้งค้นตัวเอง และค้นคนอื่น เพื่อให้ Tacit Knowledge เปลี่ยนเป็น Explicit Knowledge ทำอย่างไร ที่จะเอาความรู้ภายในตัวคน ออกมาใช้ประโยชน์ /มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน

25 คุณค่าของความรู้ ความรู้เป็นสินทรัพย์ ความรู้ใช้แล้วไม่มีวันหมด
ความรู้ยิ่งใช้ ยิ่งเพิ่ม ยิ่งใช้มากเท่าใด ยิ่งมีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น

26 ประเภทของคนในองค์กร 1. Known Area รู้ความรู้ภายนอก Explicit Knowledge
1. Unknown Area รู้ว่าไม่มีความรู้ Learn รู้ว่า เรียน ปฏิบัติ 2. Hidden Area ไม่รู้ว่ามีความรู้ Tacit Knowledge 4. Blind Area ไม่รู้ว่าไม่มีความรู้ Ignorance (อวิชชา) ไม่รู้ว่า

27 KM เพื่อ ให้ได้ Tacit Knowledge
คน กลุ่ม คน กลุ่ม คน ? คน คน กลุ่ม คน

28 KM เพื่อ ให้ได้ Tacit Knowledge กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
แก้ปัญหา พัฒนางาน คน กลุ่ม คน กลุ่ม คน ปัญญาร่วม Group Thinking KM KM KM คน คน กลุ่ม คน กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

29 กระบวนการที่จะสร้างความรู้ใหม่ จาก Tacit Knowledge
ความคิดเห็นของกลุ่ม/ปัญญาร่วม Group Thinking เรียนรู้เพื่อแบ่งปัน Learn to share Team Learning Share to Learn เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม แบ่งปันเพื่อเรียนรู้ มีพลังกลุ่ม เรียนรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ประสบการณ์ อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง

30 ปัญญาร่วม Group Thinking
การใช้ความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อประโยชน์ในการทำงาน ความรู้ใหม่ Explicit ปัญญาร่วม Group Thinking แนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน Tacit งาน/ ปัญหา Learn to share Share to learn ความคิดทักษะ ประสบการณ์ คน1 คน2 ความคิดทักษะ ประสบการณ์ ความคิดทักษะ ประสบการณ์ คน3 Tacit Tacit

31 กระบวนการ ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ตลาดนัดความรู้/คนค้นคน
กระบวนการ ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ตลาดนัดความรู้/คนค้นคน กระบวนการนี้ขี้นอยู่กับจำนวนคน KM1 ขุมความรู้ KM2 ขุมความรู้ ปัญญา ร่วม KM3 ขุมความรู้ ประเมินตน KM4 ขุมความรู้ KM5 ขุมความรู้ แก้ไขการปฏิบัติ KM6 ขุมความรู้ ครั้งต่อไป

32 ระบบการจัดการความรู้
Explicit ICT ICT ICT/2P KM จัดเก็บ เผยแพร่ เรียนรู้ร่วม นำไปใช้ Tacit

33 นับแต่ .00 น. 29 มี.ค. 49 ปัญญาร่วม Group thinking
กิจกรรมที่ท่านร่วมปฏิบัติ จึงมีความสำคัญยิ่งต่อคำตอบที่ว่า ท่านจะทำอย่างไร ? กลุ่มสัมพันธ์กับ KM คนค้นคน / เรื่องเล่า (Story telling) ขุมความรู้ (Knowledge Assets) การใช้ ICT กับ KM ตารางอิสระภาพ ธารปัญญา และบันไดแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KM กับปัญหาในการจัดการศึกษา และคุณสมบัติของคุณเอื้อที่ดี After Action Review: AAR ปัญญาร่วม Group thinking

34 แผนที่ตลาดนัดความรู้/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ธารปัญญา + บันไดแห่งการ ลปรร. + ตารางอิสรภาพ ความรู้จากแก่นความรู้ ขุมความรู้จากเรื่องเล่า

35 หัวปลา หากคุณเอื้อ มี KV ว่า
“สถานศึกษา ในเขตภาคตะวันออก และ กทม กับ การเรียนรู้ของชาวบ้านเพื่อแก้ปัญหา ความยากจนอย่างยั่งยืน พ.ศ. 2550”

36 ทำอย่างไร ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
Diagram of KM (ตัวอย่าง) for C.Poors - เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย เอื้ออาทร - อาชีพเดิม เพิ่มอาชีพเสริม - ให้อาชีพใหม่ ชุมชน เข็มแข็ง ผู้ลงทะเบียน -สมัครใจ จำนวน ความต้องการ หากลุ่ม เป้าหมาย พัฒนา เข้าพื้นที่ ทำอย่างไร ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน KM KM หากไม่ได้ การแก้ปัญหาความยากจน ต้องแก้ด้วยความสมัครใจ ทั้งของเค้าและเรา และตรงกับความต้องการ/ปัญหาของกลุ่มเป้าหมายอย่างแท้จริง

37 โชคดีนะ ที่เกิดในอาจสามารถ
หากลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ - ยากจนจริง/ ลงทะเบียนคนจน ต้องการแก้ปัญหาจริงด้านอาชีพ เราไม่อาจทำอย่าง นาย ก ได้ ในอาจสามารถ Model โชคดีนะ ที่เกิดในอาจสามารถ เป้าหมาย: - เพิ่มรายได้ - ลดรายจ่าย - ขยายโอกาส เอ๊ะ! คิดอะไร ออกไปเนี่ย KM - พัฒนาอาชีพเดิม/ เพิ่มอาชีพเสริม /เปลี่ยนอาชีพใหม่ พัฒนาอาชีพ - พัฒนาอาชีพเดิม หาสาเหตุเพื่อพัฒนา แล้วพัฒนา - เพิ่มอาชีพเสริม/เปลี่ยนอาชีพใหม่ ออกแบบอาชีพทั้งระบบ จนถึงช่องทางการจำหน่าย รวมถึงการทำบัญชี - ขณะพัฒนา จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน KMของกลุ่มเป้าหมาย อย่างต่อเนื่อง

38 เมื่อท่านต้องเป็นคุณอำนวยในพื้นที่
จะทำอย่างไร ? ประเด็นต่างๆนี้ จะสำเร็จได้ต่อเมื่อ 1. เขาเชื่อถือไว้วางใจท่าน ได้ใจเขา ไม่จำเป็นต้องเป็นนายกคนเดียวที่จะแก้ได้ 2. ทำให้เขาเหล่านั้นมีความสัมพันธ์ ที่ดีต่อกัน ไว้วางใจกัน และร่วมมือกัน เพื่อช่วยกันแก้ปัญหาของพวกเขา 3. เรามีหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนเขาเท่านั้น นะจะบอกให้ ที่จะทำให้ชาวบ้านเห็นคุณค่าของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ให้ชาวบ้านเปิดใจระหว่างกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นสุขจนเกิดเป็นความรู้ใหม่ ให้ชาวบ้านแต่ละคนรู้จักตนเอง จากความรู้ใหม่นั้น แล้วแก้ไขหรือพัฒนาตนเอง พัฒนางานของตนเอง ในการรวบรวม จัดเก็บ และค้นคืนความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นนั้น ในการเผยแพร่ความรู้ นำความรู้ไปใช้ แล้วมาแลกเปลี่ยนรู้ระหว่างกันใหม่เพื่อยกระดับความรู้

39 ข้อควรระวัง ของคุณอำนวยในพื้นที่
ชาวบ้าน ไม่ใช่ลูกศิษย์ ชาวบ้าน ไม่มีเวลาราชการ ชาวบ้าน ไม่มีความอดทนพอ ชาวบ้าน ไม่เข้าใจศัพท์ทางวิชาการ ชาวบ้าน ไม่ต้องการในสิ่งที่เขาไม่ต้องการ ชาวบ้าน ไม่ชอบการผิดคำพูด ชาวบ้าน ไม่ง้อเรา ไม่รักเรา หากเราไม่รักเขาก่อน ไม่แสดงความจริงใจ

40 ข้อควรระวัง ของคุณอำนวยในพื้นที่
ชาวบ้าน ไม่ใช่เด็ก จะสอนแบบเด็กไม่ได้ ชาวบ้าน ไม่ได้โง่ ชาวบ้าน ไม่เชื่อถือราชการอยู่แล้ว ขวากหนามเยอะแยะไปหมด อาจสามารถ Model ไม่สามารถใช้เป็นแบบอย่างได้ เพราะท่านมิได้เป็นนาย ก

41 หัวปลา (วิสัยทัศน์) หากคุณเอื้อ(ผู้อำนวยการ) มี KV ว่า
หัวปลา (วิสัยทัศน์) “วิทยาลัย กับ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน”

42 ลักษณะของนักเรียน ที่เราพัฒนา ?
มามืด ไปมืด มามืด ไปสว่าง มาสว่าง ไปมืด มาสว่าง ไปสว่าง ใครเอ่ย ? มาสว่าง แต่ขณะนี้กำลังจะไปมืด ไปดีนะ เด็กดื้อ !

43 ทำมาหาเลี้ยงชีพด้วยการเป็นครู เป็นครูด้วย จิตวิญญาณ
มันต่างกันไหมเนี่ย ! อาชีพครู ครูอาชีพ vs ทำมาหาเลี้ยงชีพด้วยการเป็นครู เป็นครูด้วย จิตวิญญาณ

44 มีความเป็นกัลยาณมิตร พัฒนาตนเองและพัฒนางาน
คุณลักษณะ ครูอาชีพ มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ แสวงหา ความร่วมมือ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตวิญญาณ

45 นโยบาย สอศ. ปี 2549 ไม่คำนึงถึงกรอบเวลาในการจบหลักสูตร
หลักสูตรแต่ละแผนกวิชามี 3 ลำดับ ห้องเรียน มี 3 สถานที่ 1 ภาคเรียน จะเปลี่ยนเป็น 18 สัปดาห์ ให้จัดการเรียนการสอน เป็นชิ้นงาน/โครงการ เร่งดำเนินการเกี่ยวกับ E-learning อศจ. เร่งสร้างประชาคมจังหวัด

46 มิใช่เอาความพร้อมของสถานศึกษาเป็นตัวตั้ง แต่เอาความสามารถของนักเรียนที่ควรเกิดขึ้นเป็นตัวตั้ง
KM ปีที่ 3 ชิ้นงาน แผนการเรียน แผนการสอน ปีที่ 2 ชิ้นงาน แผนการเรียน แผนการสอน ปีที่ 1 ชิ้นงาน แผนการเรียน แผนการสอน

47 ตถตา

48 “ครูวิทยาลัย... กับ การทำงานเป็นทีม อศจ......... กับการทำงานเป็นทีม”
หากคุณเอื้อ มี KV ว่า หัวปลา “ครูวิทยาลัย... กับ การทำงานเป็นทีม อศจ กับการทำงานเป็นทีม”

49 “ครูวิทยาลัย..../อศจ. .............. กับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน”
หากคุณเอื้อ มี KV ว่า หัวปลา “ครูวิทยาลัย..../อศจ กับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน”

50 หัวปลา หากคุณเอื้อ มี KV ว่า
“การแก้ปัญหาการลาออกกลางคันของนร. ปวช. ของวิทยาลัย ของ อศจ ”

51 “การพัฒนาการสอนวิชา.......ของวิทยาลัย......... ” ของ อศจ........
หากคุณเอื้อ มี KV ว่า หัวปลา “การพัฒนาการสอนวิชา ของวิทยาลัย ” ของ อศจ

52 “การเพิ่มปริมาณนักเรียน ปวช. ของวิทยาลัย..... ในปีการศึกษา 2549”
หากคุณเอื้อ มี KV ว่า หัวปลา “การเพิ่มปริมาณนักเรียน ปวช ของวิทยาลัย ในปีการศึกษา 2549”

53 “การพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียน ” ของวิทยาลัย..............
หากคุณเอื้อ มี KV ว่า หัวปลา “การพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียน ” ของวิทยาลัย

54 “การพัฒนางานการเงิน ของ อศจ. ......”
หากคุณเอื้อ มี KV ว่า หัวปลา “การพัฒนางานการเงิน ของ อศจ ”

55 หากมุ่งมั่น ย่อมทำได้
หากตั้งใจ ย่อมสำเร็จ

56 Workshop 1 กิจกรรม คนค้นคน 10.00-11.00 น.
“ผู้บริหารแต่ละท่าน (ทุกคน) เล่าเรื่องประสบการณ์ที่ภูมิใจในเรื่อง ที่คิดว่าตนเอง ได้ใช้กระบวนการ KM ในการแก้ปัญหาเรื่องการลาออกระหว่างเรียน(Drop Out) ของนักเรียน จนประสบผลสำเร็จ”

57 หน้าที่ ของผู้ฟัง คอยจับประเด็นให้ได้ว่า อะไรคือ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ หรือ ความสามารถ / แนวการปฏิบัติ ที่ทำให้ผู้เล่า แก้ปัญหาการ Drop Out ของนักเรียน ได้สำเร็จ (เป็นมติของกลุ่ม)

58 หน้าที่ ของคุณลิขิต เขียน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความสามารถ/แนวการปฏิบัติ (ที่เป็นมติของกลุ่ม) ลงในบัตรคำ บัตรละ 1 ปัจจัย

59 หน้าที่ ของคุณประธาน หาบุคคลนำเสนอ ผลงานกลุ่ม
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความสามารถ/แนวการปฏิบัติ และนำเสนอเรื่องเล่าที่กลุ่มเห็นว่าเป็นกรณีตัวอย่างที่ดีที่สุด ภายในเวลา 5 นาที

60 คำแนะนำ สมาชิกกลุ่มแต่ละคนเล่าเรื่องประสบการณ์ของตนเองที่ภูมิใจ
แบ่งเวลาสำหรับหมุนเวียนการเล่าเรื่องให้ได้ทุกคน และสำรองเวลาสำหรับดึง “ขุมความรู้” จากเรื่องเล่าแต่ละเรื่องด้วย พร้อมทั้งเตรียมสื่อที่จะนำเสนอ + เขียนลงในบัตรคำ (card) ด้วยปากกาเส้นใหญ่ หาตัวแทนมานำเสนอ “ขุมความรู้” ที่ได้ทั้งหมด พร้อมยกตัวอย่างเรื่องเล่าที่กลุ่มประทับใจมากที่สุดเพียงเรื่องเดียว (ขอให้เจ้าของเรื่องเขียนเล่าย่อไม่เกิน 1 หน้า A4)

61 คำแนะนำ * เล่าเรื่องละไม่เกิน 5 นาที
ผู้เล่าควรเล่าให้กระชับ เล่าให้เห็นตัวคน เห็นอารมณ์ความรู้สึกของคน เห็นความเชื่อมโยงของสภาพแวดล้อม ณ ตอนนั้น เล่าโดยไม่ตีความ หรือ ตีใข่ ใส่สี เพื่อให้ดูดี * เล่าเรื่องละไม่เกิน 5 นาที ผู้ฟัง ตั้งใจฟัง และคอยจับประเด็นว่า เขาทำอย่างไรจึงสำเร็จ? ไม่โต้แย้งขณะที่ผู้อื่นเล่า ไม่แนะนำว่า “ทำไมไม่ทำอย่างนั้น อย่างนี้” คอยจับประเด็น ความสามารถ ที่ทำให้งานบรรลุผล

62 คำแนะนำ การเขียน “ขุมความรู้” ให้เขียนเป็นประเด็นที่บ่งบอกถึง ความสามารถ หรือ สมรรถนะ พยายามหลีกเลี่ยงการใช้ถ้อยความที่มักเห็นคุ้นเคยบ่อยๆ เช่น การสื่อสาร การทำงานเป็นทีม ฯลฯ แต่เขียนให้เห็น Key word ว่า สื่อสารอย่างไร ทำงานเป็นทีมอย่างไร 1 เรื่องเล่า มี “ขุมความรู้” ได้มากกว่า 1 ประเด็น การจับประเด็น “ขุมความรู้” สามารถทำได้หลากหลายมุมมอง ไม่จำเป็นต้องมองเห็นเหมือนกัน

63 การเก็บขุมความรู้ ประเด็นขุมความรู้ เรื่องเล่าโดยย่อ
(เขียนเชิงพรรณนา หลีกเลี่ยงการเขียนเป็นหัวข้อๆ) ที่มา (เจ้าของเรื่อง, ที่อยู่ เบอร์โทร ที่สามารถติดต่อได้ กรณีมี ผู้สนใจอยากเรียนรู้ในรายละเอียด)

64 ตัวอย่างเรื่องเล่า -ภาพประกอบ-
ขุมความรู้: ……………………………………………………… ทั้งครูและลูกศิษย์ของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร่   ได้เปิดประตูรั้วสถาบัน  ให้นักศึกษาออกไปเรียนรู้กับชุมชนมากขึ้น  เน้นการปฏิบัติจริง   เพื่อสร้างประโยชน์แก่ชุมชนท้องถิ่น    อาจารย์ฉวีวรรณ  วงศ์แพทย์   อาจารย์ประจำวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร่   ได้ทดสอบแนวคิดบูรณาการในพื้นที่ชุมชน บ้านธรรมเมือง  หมู่ 4    ตำบลช่อแฮ  อำเภอเมือง  จังหวัดแพร่   ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพทำนา  มีที่นาน้อยและขาดความอุดมสมบูรณ์    ชาวบ้านจึงหันมาเพาะเห็ดเป็นรายได้เสริม   ต่อมากลายเป็นรายได้หลักของบ้านธรรมเมือง       ไม่นานนัก  "ฟาง" กลับกลายเป็นปัญหา   เพราะชาวบ้านไม่มีระบบกำจัดวัสดุเหลือใช้ที่ดีพอ   เศษฟาง  เศษเห็ดหลังเก็บดอกเห็ดไปแล้วถูกปล่อยทิ้งไว้ในนา  กลายเป็นผลกระทบ  ข้าวไม่โต  ผลผลิตน้อย  ในเบื้องต้นชาวบ้านแก้ปัญหาด้วยวิธีการเผาทิ้ง  แต่ก่อให้เกิดปัญหาเรื่องควันไฟฟุ้งไปทั่วทั้งหมู่บ้าน อาจารย์ฉวีวรรณ และคณาจารย์จากวิทยาลัยเกษตรฯแพร่ จึงได้ทำโครงการรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้จากการผลิตเห็ดฟาง"  โดยให้นักศึกษามีหน้าที่ทดลองร่วมกับชาวบ้าน   ซึ่งจะดูตั้งแต่การปรับปรุงดิน   ด้วยการให้นักศึกษาที่เรียนมาทางการปรับปรุงดินโดยเฉพาะมาทดลอง  และปฏิบัติร่วมกับกลุ่มเกษตรกร  โดยใช้พื้นที่ของเกษตรกรในการปฏิบัติงาน    นักศึกษาจะเป็นผู้จดบันทึกทุกขั้นตอนและจัดทำรายงาน    สลับกับการให้เกษตรกรเข้ามาใช้บริการของวิทยาลัยในช่วงการฝึกอบรม  เช่น  การเพาะเชื้อเห็ดฟาง  การต่อเชื้อเห็ด  การผลิตและการดูแลผลผลิตเห็ด   โดยวิทยาลัยสนับสนุนวิทยากร  ห้องทดลอง  วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น     ประโยชน์ก็เกิดขึ้นทั้งสองฝ่าย    ชุมชนได้รับประโยชน์โดยตรงในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ได้เสริมความรู้เชิงวิชาการที่เกี่ยวกับอาชีพของตน    ส่วนวิทยาลัย ได้ในเรื่องกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับชาวบ้าน   นักศึกษาได้เรียนรู้ร่วมกับชุมชน   ได้ทดลองปฏิบัติบนสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง   เห็นโจทย์ของจริง   ได้ขยายความรู้ปฏิบัติสู่ชุมชนอื่นมากขึ้น   ค้นพบแนวทางในการนำเอาบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชาวบ้านมาปรับใช้กับการเรียนการสอนของวิทยาลัยในอนาคต" ที่มา : อาจารย์ฉวีวรรณ วงศ์แพทย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร่

65 สรุป Workshop 1 ในกลุ่มเลือกประธานกลุ่ม และเลขานุการกลุ่ม(คุณลิขิต) โดยมีคุณอำนวยเป็นผู้อำนวยความสะดวกต่าง ๆ และกระตุ้นให้สมาชิกร่วมกิจกรรมอย่างเปิดใจ ทุกท่านต้องเล่าเรื่องในกิจกรรมที่ทำในโครงการแก้ยากจนฯที่ประทับใจ และคิดว่างานนั้นประสบผลสำเร็จ (เขียนชื่อเรื่องเล่า ของแต่ละท่านในกระดาษ Flip chart ของกลุ่ม) ขณะที่ท่านอื่นเล่า สมาชิกในกลุ่มต้องฟัง และจับประเด็นให้ได้ว่ากิจกรรมนั้นสำเร็จด้วย ความสามารถใดของผู้เล่า (ขุมความรู้) อภิปรายร่วมกันว่า ความสามารถนั้นใช่หรือไม่ที่ทำให้งานสำเร็จ (ขุมความรู้) เรื่องเล่าเรื่องหนึ่ง อาจต้องใช้ความสามารถหลายอย่าง(มีหลายขุมความรู้)

66 สรุป Workshop 1 ต่อ ขุมความรู้ ที่กลุ่มตกลงร่วมกันแล้วในแต่ละเรื่องเล่า ให้คุณลิขิตเขียนลงในบัตรคำที่แจก บัตรละหนึ่งขุมความรู้ ขุมความรู้ที่มีแล้วไม่ต้องเขียนลงใน Card ใหม่ คุณอำนวย นำบัตรขุมความรู้ติดที่ฝาผนัง แต่ละเรื่องเล่า กลุ่มร่วมกัน ทำโปรแกรมนำเสนอ ขุมความรู้ ของกลุ่มที่ได้ เพื่อนำเสนอต่อที่ประชุม พร้อมทั้งคัดเลือกกิจกรรม(เรื่องเล่าที่ดีที่สุด) เพื่อเล่าให้ที่ประชุมฟัง และขุมความรู้ของเรื่องนั้น เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่ร่วมอภิปราย (อาจได้ขุมความรู้ใหม่จากที่ประชุมใหญ่) สมาชิกกลุ่มแต่ละท่าน ทำใบเก็บขุมความรู้ เรื่องที่เล่า เล่าเรื่องภายในกลุ่ม – น. นำเสนอ เวลา น.

67 กระบวนการ ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ตลาดนัดความรู้/คนค้นคน
กระบวนการ ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /ตลาดนัดความรู้/คนค้นคน กระบวนการนี้ขี้นอยู่กับจำนวนคน KM1 ขุมความรู้ KM2 ขุมความรู้ ปัญญา ร่วม KM3 ขุมความรู้ ประเมินตน KM4 ขุมความรู้ KM5 ขุมความรู้ แก้ไขการปฏิบัติ KM6 ขุมความรู้ ครั้งต่อไป

68 นำเสนอ Workshop 1 กิจกรรม คนค้นคน
เพื่อให้ได้ ขุมความรู้ในการแก้ปัญหาการ Drop Out

69 แก่นความรู้/ปัจจัย/องค์ประกอบ ปัญญาร่วม(Group Thinking)
ให้เรียนในสาขาวิชาที่ชอบ และเรียนได้ จัดแผนการเรียนที่มีลำดับขั้นตอนการเรียนรู้จากง่ายไปยาก ความสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับวิทยาลัย ความสัมพันธ์ระหว่างครูที่ปรึกษากับนักเรียน ความสัมพันธ์ระหว่างครูประจำวิชากับนักเรียน ระบบสอดส่องพฤติกรรม กิจกรรมเสริมฯ

70 Workshop 2 ตารางอิสระภาพ สร้างเกณฑ์ การประเมิน
ให้แต่ละกลุ่มกำหนด คุณลักษณะ ของ “แก่นความรู้” ในแต่ละระดับตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย โดยในแต่ละหัวข้อแบ่งเป็น 5 ระดับคะแนน (1 ดาว – 5 ดาว)

71 ครูอาชีวศึกษาจังหวัดชลบุรี กับการแก้ปัญหาความยากจนของชาวบ้าน
ครูอาชีวศึกษาจังหวัดชลบุรี กับการแก้ปัญหาความยากจนของชาวบ้าน ปัจจัย/องค์ประกอบ/ความสามารถ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ

72 คำแนะนำ “เกณฑ์คุณลักษณะของความสำเร็จ” เนื่องจากความสำเร็จมีหลายระดับ ดังนั้น หากเราต้องการประเมิน จึงจำเป็นต้องระบุเกณฑ์ว่าในแต่ละระดับแตกต่างกันอย่างไร? พยายามหลีกเลี่ยงการเขียนเกณฑ์คุณลักษณะในแบบขั้นบันได เช่น ระดับ 3 = ระดับ 1 + ระดับ 2 เกณฑ์เหล่านี้ ควรกำหนดให้เห็นพัฒนาการ กล่าวคือ ระดับ 5 ค่อนข้างทำได้ยาก และให้ระวังการเขียนเกณฑ์ออกมาเป็นรูปแบบขั้นตอนการทำงาน

73 นำเสนอ ตารางอิสระภาพ

74 การประเมินตนเอง เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องเวลา จึงจำเป็นต้องแบ่งหัวข้อ “แก่นความรู้” กระจายให้กลุ่มย่อย แต่ในทางปฏิบัติจริง ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดควรมีส่วนร่วมในการกำหนดทุกหัวข้อ แต่ละกลุ่มให้ตัวแทนนำเสนอ เกณฑ์คุณลักษณะที่กำหนด และให้ถือใช้ทดลองในช่วงการประเมินตนเอง โดยไม่ปรับแก้ในรายละเอียด แบ่งกลุ่มออกเป็น “11กลุ่ม”ตามพื้นที่ ให้แต่ละกลุ่มใช้ตารางอิสรภาพที่ได้ ประเมิน ภาพรวมของแต่ละพื้นที่ ว่าแต่ละ “แก่นความรู้” นั้น แต่ละพื้นที่อยู่ในระดับความสำเร็จระดับใด

75 สถานศึกษา เขตภาคตะวันออก กับการแก้ปัญหาการ Drop Out ของนักเรียน
ที่ แก่นความรู้/องค์ประกอบ ปัญญาร่วม ผลการประเมิน ในปัจจุบัน เป้าหมายงานใน ภาคเรียนที่1 ช่องว่างที่ต้องพยายาม

76 ศึกษาการสร้างธารปัญญา และบันไดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ศึกษาการสร้างธารปัญญา และบันไดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากผลการประเมินตนเอง เปรียบเทียบกับบุคคลอื่น และหาสถานภาพของตนเองจากบันไดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

77 Workshop 3 เขียนแผนที่กลยุทธ์ขับเคลื่อนงานการแก้ปัญหาการ Drop Out ของนักเรียน ชี้ให้เห็นว่าจะ install กระบวนการ KM เข้าไปในเนื้องานตรงจุดไหนบ้าง อย่างไร? และหลังจาก workshop ไม่เกินภาคเรียนที่ 1 สามารถทำอะไรได้บ้าง?

78 ตัวอย่าง

79 แผนที่กลยุทธ์ ตัวอย่างสมมติ การแก้ปัญหาการ ลาออกระหว่างการศึกษา
ของวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2549 อยากเรียนอะไร และเรียนได้ ต้องได้เรียน ??? ??? KM 1 3 ? ? ? ? 2 ? ? ? ? ? KM

80 เป็นการประเมินตัวเรา จากบุคคลที่มาร่วมทำ KM กับเรา
AAR After Action Review เป็นการประเมินตัวเรา จากบุคคลที่มาร่วมทำ KM กับเรา

81 AAR อะไรที่ท่านตั้งใจอยากจะให้เกิดขึ้น? แล้วเกิดอะไรขึ้น?
ต้องปรับปรุงในครั้งต่อไปอย่างไร? เรียนรู้อะไรบ้างจากครั้งนี้?

82 คำแนะนำ พูดแบบเปิดใจ ฟังแบบตั้งใจ ฟังแบบแขวนลอย
ฟังแบบตั้งใจ ฟังแบบแขวนลอย ให้โอกาสผู้อาวุโสน้อยพูดก่อน ผู้บริหารต้องสร้างบรรยากาศ เชื้อเชิญให้ ผู้น้อยกล้าแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ

83 คำแนะนำ หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ ควรทำทันทีที่ทีมงานยังจำบรรยากาศเหตุการณ์นั้นได้ดีอยู่ กระตุ้นให้ทีมงานกล้าคิดเชิงสร้างสรรค์ เสนอรูปแบบวิธีการใหม่ๆ เปิด Gotoknow ค้นหา “AAR”

84 ศึกษา การสร้าง Weblog และประโยชน์ของการใช้
เรามีปัญหาที่ไม่สามารถเปิด Web สด จำเป็นต้องใช้ Web แห้งแทน โปรดตั้งใจฟัง และเมื่อกลับสถานศึกษา ให้สร้าง Web ตามลำดับขั้นในเอกสาร

85 ขอได้โปรดรับ ความขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอได้โปรดรับ ความขอบพระคุณเป็นอย่างสูง สวัสดี

86 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
Center for Vocational Promotion and Development Eastern region Tel/Fax : ห้อง ผอ Mobile:

87 คุณสมบัติของคุณอำนวย KF ควรเป็นอย่างไร ?
เป็นผู้ยอมรับฟังความคิดเห็น มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีบุคลิกภาพที่ดี มีความสามารถในการประสานงาน คิดนอกกรอบ มีภาวะผู้นำ มีความจริงใจ มีความเชื่อมั่น มีความเสียสละ มีความนอบน้อมถ่อมตน มีประสบการณ์และความรู้จริง มีจริยธรรม มีความสามารถในการถ่ายทอด มีความเพียรพยาม ต้องพูดจริงทำจริง รอบคอบและใจเย็น มีความเป็นกันเอง มีความซื่อสัตย์ มีความอดทน มีความกระตือรือร้น มีการพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google