งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา
ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน 12 ตัวบ่งชี้ 1. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา มาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา 2.2 มาตรฐานด้านพันธมิตรของการบริหารการอุดมศึกษา 3. มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้

2 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
1. เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ แนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

3 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง แนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรควบปริญญาโท 2 ปริญญาในสถาบันอุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2548

4 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง หลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548

5 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกลในสถาบันอุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2548

6 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อปริญญา พ.ศ. 2548

7 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง แนวทางการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีแบบก้าวหน้าในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

8 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสู่การศึกษาในระบบ พ.ศ. 2545

9 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ข้อแนะนำเกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีในการเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญา

10 แนวปฏิบัติในการนำเสนอหลักสูตรระดับอุดมศึกษาต่อสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

11 หัวข้อและรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดเอกสารหลักสูตรระดับอุดมศึกษาเพื่อให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ/ให้ความเห็นชอบ

12 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต มิใช่ ส่วนหนึ่งของหลักสูตรระดับปริญญาโท
ประเด็นเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต มิใช่ ส่วนหนึ่งของหลักสูตรระดับปริญญาโท ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต อาจเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาเดียวกันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กันได้ โดยเทียบโอนหน่วยกิตได้ไม่เกินร้อยละ 40 ของหลักสูตรที่จะเข้าศึกษา

13 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง มิใช่ ส่วนหนึ่งของหลักสูตรระดับปริญญาเอก
ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง อาจเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาเอก โดยให้ใช้คุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าเข้าศึกษา

14 ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีระยะเวลาการศึกษา 6 ปี หรือเทียบเท่าปริญญาโทอาจเข้าศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตขั้นสูงได้โดยไม่ต้องเข้าศึกษาระดับปริญญาโทมาก่อน

15 ความสัมพันธ์กับมาตรฐานด้านอื่น ๆ
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรนี้ ต้องใช้ร่วมกับมาตรฐาน ด้านอื่น ๆ ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการอุดมศึกษา หลักเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาฯ หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อปริญญา พ.ศ. 2549

16 เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรนี้ ต้องใช้ร่วมกับมาตรฐานด้านอื่น ๆ ด้วย (ต่อ)
แนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรควบระดับปริญญาโท 2 ปริญญาในสถาบันอุดมศึกษาไทย พ.ศ. 2548 หลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548 แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548 แนวทางการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีแบบก้าวหน้าในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 (ร่าง) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (NQF)

17 หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ก และ แผน ข การเปิดสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ของคณะ แพทยศาสตร์ที่เปิดใหม่

18 หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
แนวทางการเปิดสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ระดับปริญญาโท การกำหนดจำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรฯ

19 อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
บุคลากรในสถาบันที่มีหน้าที่หลักด้านการสอนและการวิจัย ปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลาตามภาระงานที่รับผิดชอบในหลักสูตรที่เปิดสอน (มิใช่เต็มเวลาตามเวลาทำการ)

20 อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรนั้น ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรตามที่สถาบันประกาศระบุไว้ในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งในขณะหนึ่ง ๆ จะเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตร ในเวลาเดียวกันไม่ได้ ในกรณีหลักสูตรร่วมระหว่างสถาบัน อาจารย์ประจำของสถาบัน ในหลักสูตรความร่วมมือนั้นให้ถือเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานนี้ เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรระดับปริญญาโทและเอกในสาขาวิชาเดียวกันได้ เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรในหลักสูตรสหวิทยาการได้อีก 1 หลักสูตร

21 อาจารย์ประจำหลักสูตร (ต่อ)
สำหรับอาจารย์ประจำหลักสูตรระดับอนุปริญญาและระดับปริญญาตรีที่มีคุณวุฒิปริญญาตรีจะต้อง - มีประสบการณ์ในการสอน และ - ต้องได้รับการพัฒนาให้มีคุณวุฒิสูงขึ้น และ - ได้รับการพัฒนาให้เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น

22 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนและพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมินผลหลักสูตร และหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง

23 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ เป็นผู้บุคคลที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เปิดสอนเป็นอย่างดี อาจเป็นบุคคลที่ไม่อยู่ในสายวิชาการ หรือเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน โดยไม่ต้องพิจารณาด้านคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ในสาขาวิชานั้น ๆ เป็นผู้ที่ยอมรับในระดับหน่วยงาน หรือระดับกระทรวง หรือวงการวิชาชีพด้านนั้น ๆ

24 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ (ต่อ)
เทียบได้ไม่ต่ำกว่าตำแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงาน ก.พ. และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกำหนด ผู้ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ให้ประเมินผลงานทางวิชาการให้เทียบเคียงได้กับ - ผลงานของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา หรือ ผลงานของตำแหน่งที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่นที่เทียบเคียงและยอมรับให้เทียบเท่ากับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา

25 Q & A


ดาวน์โหลด ppt ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google