งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ
การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชน หมายถึง เด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัวออกจาก ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนกลับไปกระทำผิดอีก และศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งว่ากระทำผิดในคดีใหม่ นับตั้งแต่วันที่ปล่อยตัว เด็กและเยาวชนสามารถกลับไปดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข และไม่กลับมากระทำผิดซ้ำ การวิจัย ปัจจัยลดกระทำผิดซ้ำ กลุ่มเยาวชน TIJ Youth Forum on Justice and the Rule of Law The Choice เกมทางเลือก – ทางรอด กลุ่มนักวิชาการ UN-PNI Network Harvard IGLP Regional Workshop กลุ่มนักปฏิบัติการ ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice (ACCPCJ) กลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ - TIJ Workshop for Emerging Leaders on the Rule of Law Policy, in collaboration with Harvard Law School สถิติกระทำผิดซ้ำ IRC ปี 2559 ปี 2560 - เรียนหนังสือ/ทำงาน - ที่อยู่เป็นหลักแหล่งปลอดภัย - เรียนหนังสือ/ทำงาน - ที่อยู่เป็นหลักแหล่งปลอดภัย - สัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัวชุมชน

3 การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ
เด็กและเยาวชนที่.. > พ้นจากการฝึกอบรม > พ้นจากการคุมประพฤติ > พ้นจากเรือนจำ ระยะเวลาติดตาม 12 เดือน 24 เดือน 36 เดือน > ถูกจับกุมซ้ำ (Re-arrest) > ถูกพิพากษาว่ากระทำผิดในคดีใหม่ซ้ำ (Re-Convict) > ถูกส่งตัวซ้ำ (Re-Committed) ไปคุมประพฤติ หรือ ฝึกอบรมหรือถูกส่งตัวไปเรือนจำอีกครั้ง แล้วกลับมา..

4 กระบวนการตรวจสอบการถูกจับกุมซ้ำ
นำข้อมูลเด็กและเยาวชน ที่ได้รับการปล่อยตัว จากศูนย์ฝึกฯทั่วประเทศ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และจัดทำไฟล์ตามแบบฟอร์มของกองทะเบียนประวัติอาชญากร (ทว.) ส่ง ID ของเด็กและเยาวชน ไปยัง ทว. โดยผ่านระบบของ กรมคุมประพฤติ ทว. ตรวจสอบข้อมูล และผลส่งข้อมูลมายัง กรมพินิจฯ ผ่านทางกรมคุมประพฤติ โดยเป็น PFD ไฟล์ สถาบันวิจัยและพัฒนา คีย์ข้อมูลลงในโปรแกรมคำนวณ และวิเคราะห์ผลการถูกจับซ้ำ โดยใช้สถิติบรรยาย เป็นจำนวนและร้อยละ นำเสนอ ผลการตรวจสอบ การถูกจับซ้ำ กระบวนการตรวจสอบการถูกจับกุมซ้ำ

5 เด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัว จากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน 18 แห่ง ระหว่าง 1 ตุลาคม 2557 – 30 กันยายน 2558 คิดเป็น % หลังปล่อยตัว 1 ปี พบประวัติการถูกจับกุมซ้ำ (Re-arrest) จำนวน 1,383 คน เด็กและเยาวชน ที่ส่งตรวจสอบประวัติ จำนวน 3,924 คน

6

7 เด็กและเยาวชนที่ได้รับการปล่อยตัว จากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน 18 แห่ง เดือนตุลาคม 2558 – มกราคม 2559 คิดเป็น % หลังปล่อยตัว 1 ปี พบประวัติการถูกจับกุมซ้ำ (Re-arrest) จำนวน 370 คน เด็กและเยาวชน ที่ส่งตรวจสอบประวัติ จำนวน 1,480 คน

8

9

10 วัตถุประสงค์ การพัฒนาระบบการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชนเฉพาะราย แบบไร้รอยต่อ กับการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนตามข้อกำหนดของ IRC 1 2 ใช้การควบคุมตัวเป็นมาตรการสุดท้ายและใช้เวลาให้สั้นที่สุดและคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดสำหรับเด็กและเยาวชน พัฒนาแนวทางเลือกอื่นในการปฏิบัติต่อเด็กแทนการควบคุมตัว ใช้ชุมชนและสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการให้การบำบัดแก้ไขฟื้นฟู และการรับเด็กและเยาวชนกลับคืนสู่สังคม ให้แนวทางและวิธีการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความจำเป็นของเด็กและเยาวชน แต่ละราย 3 จัดระบบการติดตามช่วยเหลือดูแลเด็กและเยาวชนแลครอบครัวอย่างเป็นระบบ ภายหลังการคืนกลับสู่ชุมชน โดยประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อลดความเสี่ยงต่อการมีปัญหาพฤติกรรมและการกระทำผิดอย่างยั่งยืน

11 การเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำงานกับเยาวชน
ก่อนเข้า ระหว่างอยู่ หลังออก แผนภาพดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า จุดเริ่มต้นการทำงานกับเยาวชนไม่ใช่เริ่มจากที่เยาวชนอยู่ในศูนย์ฝึกฯ แต่ต้องเริ่มต้นตั้งแต่เยาวชนยังไม่ได้เข้าศูนย์ฝึก เช่นเดียวกันจุดสิ้นสุดของการทำงานกับเยาวชนก็ไม่ได้หยุด แค่จบจากศูนย์ฝึกฯ ไปแล้ว สิ่งที่เหมาะสมคือการดูแลเยาวชนภายหลังจากออกจาก ศูนย์ฝึกฯ ไปแล้วด้วย

12 โดยดำเนินการตามแผนทั้ง 5 ด้านคือ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่ IRC ใช้เทคนิคและวิธีการที่จะสร้างแรงจูงใจให้เด็กหรือเยาวชนและครอบครัวมีทิศทางและเป้าหมายในการวางแผนชีวิต สนับสนุนการใช้ชีวิตของเด็กหรือเยาวชน และป้องกันการกระทำความผิดซ้ำ และการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข โดยดำเนินการตามแผนทั้ง 5 ด้านคือ 5. การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. มีการคบเพื่อนที่ดี 3. มีที่อยู่อาศัยเป็นหลักแหล่งและปลอดภัย 2. มีสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว/ชุมชน 1. เรียนหนังสือ / มีงานทำ

13 เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการฯ IRC ของศูนย์ฝึกฯ เขต 1 ทั้งหมด 75 คน
ได้รับการปล่อยตัว จำนวน 75 คน ผลการติดตามอธิบายโดยแผนภูมิ ดังนี้ ทหารและเรียน พระ กระทำผิดซ้ำ เรียน 1 1

14 ข้อมูลการกระทำผิดซ้ำภายหลังติดตามหลังปล่อยตัว
สรุป: - เยาวชน 75 ราย กระทำผิดซ้ำภายหลังการปล่อยตัวภายใน 12 เดือน จำนวน 1 ราย คิดเป็น 1.33% - ไม่มีเยาวชนกระทำผิดซ้ำเพิ่มภายหลังการปล่อยตัวภายใน 24 เดือน

15 แผนภูมิแสดงจำนวนเยาวชน ที่ครบกำหนดติดตาม 24 เดือน มีจำนวน 70
รายละเอียดดังนี้ กระทำผิดซ้ำ ทหารและเรียน อุปสมบทพระ ทหาร เรียนและทำงาน เรียน ทำงาน

16 ผลการติดตามปัจจัยลดการกระทำผิดซ้ำ ปี2557- 2559

17 ตารางแสดงข้อมูลการติดตามเด็กและเยาวชน
ปีงบประมาณ พ.ศ. การติดตาม สถานะ การดำเนินชีวิตในสังคม ปล่อยตัว ติดตามได้ ติดตาม ไม่ได้ มีงานทำ /ศึกษาต่อ ว่างงาน อื่นๆ เรียนหนังสือ/ ทำงาน มีที่อยู่ เป็นหลักแหล่ง ปลอดภัย มีสัมพันธภาพ ที่ดีกับ ครอบครัวชุมชน คบเพื่อน ที่ดี ใช้เวลาว่าง เป็นประโยชน์ 2557 4511 3977 534 2955 128 126 118 - 2558 5844 3911 1933 3367 144 77 2559 3265 3021 244 2839 74 105 2917 66 1 15

18 แนวทางการปฎิรูปการจัดการศึกษาและฝึกอาชีพ สำหรับเด็กและเยาวชนในสถานควบคุม

19 พัฒนาหลักสูตร หลักสูตร พัฒนาขึ้นใหม่  หลักสูตร กศน. รวม
หลักสูตรบำบัดแก้ไขฟื้นฟู 2 - หลักสูตรวิชาชีพต่าง - 1. ช่างไฟฟ้า 4 - 2. ช่างเชื่อมโลหะ - 3. คหกรรม/เสริมสวย 19 23 - 4. เกษตรกรรม 6 12 18 - 5. ช่างยนต์ 5 3 8 - 6. ดนตรี - 7. คอมพิวเตอร์ 1 - 8.ช่างไม้-ก่อสร้าง - 9. ช่างศิลป์ 15 43 37 80 พัฒนาหลักสูตร

20 เด็กและเยาวชนที่สามารถติดตามได้หลังปล่อย
จากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนที่ปล่อยตัวและติดตามได้ หมายถึง เด็กและเยาวชนที่ปล่อยตัวจากศูนย์ฝึกฯ และใช้วิธีการติดตาม ทางจดหมาย โทรศัพท์ ไปเยี่ยมบ้าน หรือติดตามผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ อื่นๆ ซึ่งจากการติดตามทำให้ทราบว่าเด็กและเยาวชนดำเนินชีวิตอย่างไรเพื่อเป็นข้อมูลในการให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือตามความจำเป็นการติดตามหลังปล่อยให้ติดตามปีละ 3 ครั้ง คือ หลังปล่อย 3 เดือน6 เดือนและ 1 ปี

21 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนที่พ้นโทษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google