งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
( มิติที่ 2-4) 4

2 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ผลสำเร็จตามแผนฯ กระทรวงและนโยบายพิเศษของรัฐบาล ผลสำเร็จตามแผนฯ กลุ่มภารกิจ ผลสำเร็จตามแผนฯ/ภารกิจหลักของส่วนราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า มิติที่ 1 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจ การป้องกันการทุจริต มิติที่ 2 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การบริหารงบประมาณและการจัดทำต้นทุนต่อหน่วย การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การพัฒนากฎหมาย มิติที่ 3 มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ การบริหารจัดการองค์การ

3 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (น้ำหนักร้อยละ 6)

4 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ คำอธิบาย: ผู้รับบริการ หมายถึง ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการผู้ให้บริการ) หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มารับบริการจากส่วนราชการ พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของส่วนราชการ โดยได้รับความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติเป็นผู้ดำเนินการสำรวจ สำนักงาน ก.พ.ร. จะเป็นผู้สำรวจ วิเคราะห์ และคัดเลือกงานบริการหลักของ ส่วนราชการ

5 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ คำอธิบาย: (ต่อ) การกำหนดน้ำหนักงานบริการที่จะสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของ ส่วนราชการ จะเฉลี่ยน้ำหนักให้เท่ากันในแต่ละงานบริการ หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกงานบริการ เป็นงานบริการที่เป็นภารกิจหลักของส่วนราชการ เป็นงานบริการที่มีผู้ใช้บริการจำนวนมาก มีผลกระทบสูงต่อประชาชน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้ใช้งานบริการที่มีการสำรวจความพึงพอใจตัวเดิมในปีงบประมาณ 2552 คือ “ความพึงพอใจของประชาชนในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่มีต่อการให้บริการข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ภารกิจของรัฐบาล”

6 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ คำอธิบาย: (ต่อ) ประเด็นการสำรวจประกอบด้วยประเด็นสำคัญๆ ดังนี้ ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ โดยเน้นวาระแห่งชาติด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ

7 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ คำอธิบาย: (ต่อ) ความพึงพอใจด้านกระบวนการ /ขั้นตอนการให้บริการ ประเด็นสำรวจ ได้แก่ รูปแบบของรายการ ความน่าสนใจ ความทันสมัย ช่วงเวลา ความยาว ความครบถ้วน ถูกต้อง และต่อเนื่อง ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ประเด็นสำรวจ ได้แก่ ความรู้ ความสามารถของผู้ดำเนินรายการและเจ้าหน้าที่ประจำสถานี ความเต็มใจ ความพร้อม คุณภาพน้ำเสียง การสร้างการมีส่วนร่วม ความเหมาะสมในการแต่งกาย บุคลิก ท่าทาง การตอบข้อซักถาม เป็นต้น

8 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ คำอธิบาย: (ต่อ) 3) ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ประเด็นสำรวจ ได้แก่ ความหลากหลายของช่องทาง/สื่อ จำนวนคลื่นความถี่ การรับภาพ/คลื่นที่ชัดเจน การเปิดรับฟังความคิดเห็น ความสะดวกในการติดต่อสอบถาม คุณภาพอุปกรณ์เครื่องมือ 4) ความพึงพอใจต่อผลของการให้บริการ ประเด็นสำรวจ ได้แก่ การได้รับประโยชน์ ความคุ้มค่า เนื้อหาสาระทั้งด้านสารประโยชน์และความบันเทิง ความรู้ ความเข้าใจในสถานการณ์บ้านเมืองและภารกิจของรัฐบาล ประเด็นความเชื่อมั่นต่อองค์กร ประเด็นสำรวจ ประกอบด้วย ความเชื่อมั่นในหลักนิติตธรรม ความเชื่อมั่นในหลักคุณธรรม ความเชื่อมั่นในหลักความโปร่งใส ความเชื่อมั่นในหลักการมีส่วนร่วม ความเชื่อมั่นในหลักรับผิดชอบ และความเชื่อมั่นในหลักความคุ้มค่า

9 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผลการสำรวจปีงบประมาณ 2551 คะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ (เฉลี่ยประเด็นที่ 1-4) ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ (คะแนนเฉลี่ย 3.92) ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (คะแนนเฉลี่ย 4.01) ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก(คะแนนเฉลี่ย 3.75) ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ (คะแนนเฉลี่ย 4.01) ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการ (คะแนนเฉลี่ย 3.80)

10 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ เกณฑ์การให้คะแนน: ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 65 70 75 80 85 เงื่อนไข: ประเด็นข้อสังเกตของผู้ประเมินอิสระ จะนำมาใช้ประกอบการพิจารณาปรับคะแนน กรณีงานบริการที่ถูกคัดเลือกมีจุดให้บริการหลายแห่ง หรือมีจุดให้บริการในส่วนภูมิภาค ผู้ประเมินอิสระขอสงวนสิทธิ์ในการสุ่มจุดบริการในการสำรวจความพึงพอใจ

11 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย (น้ำหนักร้อยละ 3)

12 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย(น้ำหนักร้อยละ 3) คำอธิบาย : ผู้กำหนดนโยบาย หมายถึง หน่วยงาน บุคคล หรือคณะบุคคลที่ตั้งขึ้นโดยกฏหมายซึ่งกำหนดนโยบายให้แก่ส่วนราชการ เช่น รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ/รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงที่ส่วนราชการสังกัด คณะรัฐมนตรี สภาความมั่นคงแห่งชาติ พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบายแก่ส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร. ประเด็นการสำรวจประกอบด้วยประเด็นสำคัญๆ ดังนี้ 1) ความพึงพอใจด้านความเข้าใจต่อนโยบายที่มอบหมาย 2) ความพึงพอใจด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ 3) ความพึงพอใจด้านการติดตามและนำเสนอผลให้ทราบ

13 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย(น้ำหนักร้อยละ 3) ประเด็นหารือ 1. การดำเนินงานระหว่างปี ประกอบด้วย 1.1 การรวบรวมข้อมูล - ประเภทนโยบายที่มอบ (นโยบายสำคัญ นโยบายเฉพาะกิจ ) - ประเด็นนโยบายที่มอบ - จำนวนนโยบายที่มอบ (กี่เรื่อง) - หน่วยงานที่รับผิดชอบ (อปส.มอบหมายให้หน่วยงานใดนำไป ปฏิบัติ )

14 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย(น้ำหนักร้อยละ 3) ประเด็นหารือ 1.2 การติดตามความก้าวหน้า/การรายงาน - จากส่วนกลาง ( สลก ,หน้าห้อง อปส.) - จากผู้ประสานงานหน่วยงานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย 2 การดำเนินงานปลายปี ประกอบด้วย - การวิเคราะห์และประเมินผลงานข้อมูลจากข้อ 1 - การสำรวจความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบายแก่ส่วนราชการ โดยสำนักงาน ก.พ.ร.

15 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย เกณฑ์การให้คะแนน: ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 65 70 75 80 85

16 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (น้ำหนักร้อยละ 6)

17 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
ประเด็นการประเมินผล: ความเปิดเผย โปร่งใส ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ” คำอธิบาย:  พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม การทุจริตของส่วนราชการ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ และการจัดการข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าทีของรัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

18 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
ประเด็นการประเมินผล: ความเปิดเผย โปร่งใส ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ” คำอธิบาย:  ข้อร้องเรียน หมายถึง ข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัดและข้อกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ราชการ ด้วยความรับผิดชอบต่อประชาชน ไม่มีคุณธรรม จริยธรรม ไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้งและไม่มี ธรรมาภิบาล ตามที่มีกฎหมาย ระเบียบ แบบแผนของทางราชการที่เกี่ยวข้องได้กำหนดไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

19 มิติที่ 2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
ประเด็นการประเมินผล: ความเปิดเผย โปร่งใส ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ” คำอธิบาย:  การตอบสนอง หมายถึง การส่งต่อให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบและ นำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งตักเตือน ดำเนินคดี หรืออื่นๆ ตามระเบียบ ข้อกฎหมาย พร้อมกับแจ้งให้ผู้ร้องเรียนทราบผลหรือความคืบหน้าของการดำเนินการภายในเวลา 15 วัน ทั้ งนี้ กรณีที่ข้อร้องเรียนไม่ได้ระบุชื่อและที่อยู่หรือหมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้หรืออีเมล์ติดต่อของผู้ร้องเรียน จะพิจารณาการตอบสนองสิ้นสุดที่การนำเรื่องร้องเรียนเข้าสู่กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริง แจ้งตักเตือน ดำเนินคดี หรืออื่นๆ ตามระเบียบข้อกฎหมาย

20 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ”  ทบทวนแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ (ปีงบประมาณ พ.ศ ) โดยพิจารณาความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ พร้อมทั้งนำผลการดำเนินการ ตามมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในปีที่ ผ่านมา และ ข้อมูลที่ได้ จากระบบการรับฟังข้อร้องเรียนของส่วนราชการ ศูนย์ดำรงธรรม กระทรวงมหาดไทย ศูนย์บริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และ ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม มาพิจารณาประกอบ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1

21 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ”  ทบทวน/วิเคราะห์ความเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต การปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบในการปฏิบัติราชการ โดยวิเคราะห์เพื่อให้ทราบ ถึงปัจจัยเสี่ยงที่อาจเป็นเหตุทำให้ 1) การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ของข้าราชการเป็นไปในลักษณะที่ขาด หรือมีความรับผิดชอบไม่เพียงพอ 2) การปฏิบัติหน้าที่ไปในทางที่ทำให้ประชาชนขาดความเชื่อถือในความมีคุณธรรม ความมีจริยธรรม 3) การปฏิบัติหน้าที่โดยการขาดการคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ ส่วนตนและการยึดมั่ นในหลักธรรมาภิบาล - วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบของโครงการสำคัญที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ สูงสุด 3 ลำดับแรก ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1

22 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ”  นำข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 มาประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ โดยกำหนด เป้าหมายและตัวชี้วัดที่สะท้อนผลสัมฤทธิ์ (Outcome) ของการดำเนินการตามแผนฯ ที่ใช้วัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม เสนอผู้บริหารระดับสูงให้ความเห็นชอบ พร้อมทั้งเผยแพร่เว็บไซต์ของส่วนราชการ ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1

23 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6)
“ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ”  ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 มีผลสำเร็จเป็นไปตามเป้าหมาย ทุกตัวชี้วัด  สำรวจความคิดเห็นของประชาชน และ ผู้มีส่วนได้เสีย เกี่ยวกับสถานการณ์ ด้านการ ทุจริตและประพฤติมิชอบในส่วนราชการ ตามแบบฟอร์มที่สำนักงาน ป.ป.ท.กำหนดเพื่อ นำข้อมูลจากสรุปผลการสำรวจดังกล่าวมาใช้ประกอบการปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ ในปีงบประมาณต่อไป ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1

24 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ”” ตอบสนองต่อข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ ได้ร้อยละ  สรุปผลการวิเคราะห์ข้อร้องเรียนเรื่องการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ โดยครอบคลุมประเด็น สำคัญ ได้แก่ - จำนวนข้อร้องเรียนในแต่ละช่องทางการร้องเรียนและผลการตอบสนองต่อ ข้อร้องเรียนแยกตามประเภทของเรื่องที่ถูกร้องเรียนและหน่วยงานที่ถูกร้องเรียน - ผลการวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหาข้อร้องเรียน ปั ญหา อุปสรรคของการตอบสนอง ข้อร้องเรียน และแนวทางการแก้ไข ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1

25 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ””  จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม การทุจริตของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการดำเนินงานในปีต่อไป ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 1

26 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ”” เงื่อนไข : 1. การดำเนินการในแต่ละระดับขั้นของความสำเร็จ จะพิจารณาถึงคุณภาพของการดำเนินการ เพื่อนำมาเป็นประเด็นปรับลดคะแนนเชิงคุณภาพด้วย โดยในแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ภาครัฐของส่วนราชการ ต้องประกอบด้วย การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ช่องทางการร้องเรียนเรื่องการทุจริต การ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ส่วนราชการได้จัดให้มีขึ้น ให้ผู้มีส่วนได้เสีย และประชาชนรับทราบ รวมทั้งการรณรงค์ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ พฤติกรรมการปฏิบัติ หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เข้าข่ายการทุจริต การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิ ชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และตระหนักถึงความสำคัญในการให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการสอดส่องและแจ้ง เบาะแสเกี่ยวกับพฤติกรรมดังกล่าว

27 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ” เงื่อนไข : 2. กรณีส่วนราชการยังไม่ได้จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ของส่วนราชการ (ปีงบประมาณ พ.ศ ) ขอให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตภาครัฐของส่วนราชการ (ปีงบประมาณ พ.ศ.2553 – 2555) ตามแนวทางที่สำนักงาน ป.ป.ท.กำหนด ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 มกราคม 2553

28 รายละเอียดตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ตัวชี้วัดที่ 6 (น้ำหนักร้อยละ 6) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ” เงื่อนไข : 3. ข อ ใ ห้ส่ ว น ร า ช ก า ร จัด ส่ ง แ ผ น ป ฏิบัติก า ร ป้อ งกัน แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริต ของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ไปยังสำนักงาน ป.ป.ท. ภายในวันที 31 มีนาคม 2553 และ จัดส่งรายงานสรุปผลการ ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไปยังสำนักงาน ป.ป.ท. ภายในวันที 1 พฤศจิกายน 2553 ทั้งนี้ หากไม่สามารถจัดส่งได้ภายในกำหนดจะถูกพิจารณาปรับลดคะแนนที่ได้รับ ของตัวชี้วัดนี้ลง คะแนน

29 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับ เรื่องร้องเรียนจนได้ข้อยุติ (น้ำหนักร้อยละ 5)

30 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติ คำอธิบาย: เรื่องร้องเรียน หมายถึง เรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ที่ได้รับการประสานงานจากศูนย์บริการประชาชน สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีผ่านช่องทางการร้องเรียนต่างๆมาเพื่อทราบหรือพิจารณาดำเนินการแก้ไขปัญหาตามอำนาจหน้าที่ การนับจำนวนเรื่องร้องเรียนให้นับจำนวนเรื่องร้องเรียนในอดีตที่ยังค้างอยู่ (ปีงบประมาณ พ.ศ ) และเรื่องของปีงบประมาณ พ.ศ โดยกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการจนได้ข้อยุติจนถึงสิ้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553

31 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติ คำอธิบาย: (ต่อ) ดำเนินการจนได้ข้อยุติ ได้แก่ เรื่องที่ดำเนินการแล้ว ได้ตามความประสงค์ของผู้ร้องทั้งหมด และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบ เรื่องที่ดำเนินการแล้ว ได้ตามความประสงค์ของผู้ร้องบางส่วน (หน่วยงานเจ้าของเรื่องดำเนินการตามขอบเขตเต็มที่แล้ว) หรือได้บรรเทา เยียวยาปัญหาความเดือดร้อนของผู้ร้องตามความเหมาะสม และได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบ เรื่องที่ดำเนินการแล้ว แต่ไม่ได้ตามความประสงค์ของผู้ร้อง (เช่น พ้นวิสัยดำเนินการแล้ว) และได้แจ้งทำความเข้าใจกับผู้ร้อง

32 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติ คำอธิบาย: (ต่อ) เรื่องที่ส่งต่อให้หน่วยงานอื่นเพื่อทราบ หรือดำเนินการตามอำนาจหน้าที่แล้วและได้แจ้งให้ผู้ร้องทราบหน่วยงานที่รับดูแลเรื่องต่อ 5) เรื่องร้องเรียนที่ระงับการพิจารณา หรือรวมเรื่อง เช่น บัตรสนเท่ห์ เรื่องที่อยู่ ในกระบวนการทางศาล เรื่องร้องทุกข์กล่าวโทษแต่ไม่มีหลักฐาน และได้แจ้ง ให้ผู้ร้องทราบตามควรแก่กรณี 6) เรื่องเสนอข้อคิดเห็นที่พ้นวิสัยดำเนินการหรือเป็นกรณีที่หน่วยงานได้ดำเนินการอยู่แล้ว 7) กรณีที่เป็นการเสนอข้อคิดเห็นที่มีผลต่อส่วนรวม ให้หน่วยงานประมวลข้อมูลและเสนอข้อคิดเห็นเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร

33 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติ แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล: ระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของศูนย์บริการประชาชนสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

34 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติ สูตรการคำนวณ: จำนวนเรื่องร้องเรียนในอดีตที่ยังค้างอยู่ และของปีงบประมาณ พ.ศ ซึ่งดำเนินการจนได้ข้อยุติ x 100 จำนวนเรื่องร้องเรียนในอดีตที่ยังค้างอยู่และของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การให้คะแนน: ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 74 77 80 83 86

35 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนให้ได้ข้อยุติ ประเด็นหารือ 1. การรวบรวมข้อมูล รวบรวมจำนวนเรื่องร้องเรียนในอดีตที่ยังค้างอยู่ (ปีงบประมาณ พ.ศ ) และเรื่องของปีงบประมาณ พ.ศ โดยกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการจนได้ข้อยุติจนถึงสิ้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 2. วางแนวทางการดำเนินงาน/การติดตามความก้าวหน้า 3. จัดทำรายงาน/ฐานข้อมูล 3. สรุปผลการดำเนินงาน

36 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ผลสำเร็จตามแผนฯ กระทรวงและนโยบายพิเศษของรัฐบาล ผลสำเร็จตามแผนฯ กลุ่มภารกิจ ผลสำเร็จตามแผนฯ/ภารกิจหลักของส่วนราชการระดับกรม หรือเทียบเท่า มิติที่ 1 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจ การป้องกันการทุจริต มิติที่ 2 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การบริหารงบประมาณและการจัดทำต้นทุนต่อหน่วย การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การพัฒนากฎหมาย มิติที่ 3 มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ การบริหารจัดการองค์การ

37 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ (น้ำหนักร้อยละ 2)

38 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ คำอธิบาย: พิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของผู้รับบริการที่ได้รับบบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการที่ส่วนราชการสามารถดำเนินการลดได้จริง หรือเวลามาตรฐานที่ให้บริการจริง ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

39 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ คำอธิบาย: กระบวนงานที่นำมาประเมินผลการปฏิบัติราชการในปีงบประมาณ พ.ศ หมายถึง 1) กระบวนงานที่ส่วนราชการได้ดำเนินการลดรอบระยะเวลาได้ตั้งแต่ร้อยละ 30 ขึ้นไป ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ และ/หรือ 2) กระบวนงานใหม่ที่ส่วนราชการไม่เคยแจ้งสำนักงาน ก.พ.ร. มาก่อน เนื่องจาก - มีการสำรวจกระบวนงานการให้บริการของส่วนราชการใหม่ - มีการเปลี่ยนแปลงบทบาท ภารกิจหน้าที่ ของส่วนราชการใหม่ เป็นต้น

40 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ คำอธิบาย: ทั้งนี้ ส่วนราชการต้องคัดเลือกกระบวนงานหลักที่สำคัญ และ/หรือมีผู้มารับบริการ จำนวนมาก และ/หรือมีผู้ร้องเรียนจำนวนมาก และ/หรือมีผลกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง และ/หรือสอดคล้องกับงานบริการในตัวชี้วัดร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ในปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อนำมาประเมินผลการปฏิบัติราชการในปีงบประมาณ พ.ศ อย่างน้อย 5 กระบวนงาน (หรือน้อยกว่ากรณีส่วนราชการมีกระบวนงานน้อยกว่า 5 กระบวนงาน)

41 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ สูตรการคำนวณ X 100 จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามมาตรฐานเวลา

42 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ

43 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ∑ (Wi x Ci) = 1 2 ∑ (Wi x Ci) = 2 3 ∑ (Wi x Ci) = 3 4 ∑ (Wi x Ci) = 4 5 ∑ (Wi x Ci) = 5

44 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ เงื่อนไข: ให้ส่วนราชการระบุน้ำหนักที่จัดสรรให้แต่ละกระบวนงานที่สำนักงาน ก.พ.ร เสนอเพื่อนำไปประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ โดยกำหนดให้มีการถ่วงน้ำหนักกตามลำดับความสำคัญของกระบวนงาน หากไม่ระบุน้ำหนักให้ถือว่าทุก กระบวนงานมีน้ำหนักเท่ากัน ให้ส่วนราชการประกาศขั้นตอนและระยะเวลาในการบริการในแต่ละกระบวนงานที่เป็นรอบระยะเวลามาตรฐาน ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน ให้ส่วนราชการแจ้งสำนักงาน ก.พ.ร เพื่อพิจารณาหากมีการขอปรับแก้ไข/เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกระบวนงานที่ได้คัดเลือกและรายงานให้สำนักงาน ก.พ.ร ทราบแล้ว

45 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ หมายเหตุ: 1. ในปีงบประมาณ พ.ศ กำหนดให้ส่วนราชการจัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2553 ถึงเดือนกันยายน 2553 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยให้ส่วนราชการจัดเก็บข้อมูลผู้รับบริการทุกราย ตามวันในปฏิทินที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด คือ สัปดาห์ละ 1 วัน เริ่มต้นจากสัปดาห์ที่ 2 จนถึงสัปดาห์ที่ 40 ตามปฏิทินของปี พ.ศ รวมทั้ งสิ้น 39 วัน กรณีวันที่กำหนดตรงกับวันหยุดราชการให้จังหวัดจัดเก็บข้อมูลในวันทำการถัดไป ทั้ งนี้ หาก มีผู้รับบริการต่อวันมากกว่า 30 ราย ให้เก็บข้อมูลเพียง 30 รายต่อวัน หรือหากมีผู้รับบริการต่อวันไม่ถึง 30 ราย ให้เก็บข้อมูลทุกราย หรือหากมีผู้รับบริการต่อปีจำนวนน้อยมากให้เก็บข้อมูลผู้รับบริการทุกราย หรือตาม ความเหมาะสมของลักษณะการให้บริการ เช่น งานบริการที่ให้บริการเพียงช่วงเวลาหนึ่งของปี เป็นต้น

46 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลา การให้บริการ หมายเหตุ: 2. หากส่วนราชการไม่มีการประกาศขั้ นตอนและระยะเวลาการให้บริการในแต่ละกระบวนงานที่ เป็นรอบระยะเวลามาตรฐาน ให้ประชาชนทราบอย่างชัดเจน จะถูกปรับลดคะแนนลง คะแนน จาก คะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้ 3. หากส่วนราชการไม่สามารถแสดงทะเบียนหรือบันทึกระยะเวลาการให้บริการตามวันใน ปฏิทินที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้จัดเก็บข้อมูลได้ จะถูกปรับลดคะแนนลง คะแนน จากคะแนนที่ ได้รับของตัวชี้วัดนี้ 4. หากผู้ประเมินสุ่มกระบวนงานเพื่อประเมินผล ณ สถานที่จริง และพบว่าทะเบียนหรือบันทึก ระยะเวลาการให้บริการตามวันในปฏิทินที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้จัดเก็บข้อมูล ขาดความสมบูรณ์ หรือ ขาดความน่าเชื่อถือ จะถูกปรับลดคะแนนลง คะแนน จากคะแนนที่ได้รับของตัวชี้วัดนี้

47 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 8 ตารางปฏิทินการจัดเก็บข้อมูล ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด

48 รายชื่อกระบวนงานที่ดำเนินการรักษาระยะเวลา ปีงบประมาณ 2551
ปีงบประมาณที่เสนอ ลดรอบระยะเวลา รอบระยะเวลามาตรฐาน 1. การให้บริการถ่ายทอดของ สทท. 11 2547 10 วัน 2. การให้ความร่วมมือจัดหลักสูตรอบรมแก่หน่วยงานภายนอก 29.2 วัน 3. การให้บริการผลิตและเผยแพร่สปอตทางสวท. 2548 8 วัน 4. บริการถ่ายทอดเสียงทาง สวท. นอกสถานที่ 2549 7 วัน 5. การให้บริการแก่หน่วยงานต่างๆเกี่ยวกับ การถ่ายทอดสดทาง สทท. เชียงใหม่ 2550

49 รายชื่อกระบวนงานที่ดำเนินการรักษาระยะเวลา ปีงบประมาณ 2552
ปีงบประมาณที่เสนอ ลดรอบระยะเวลา รอบระยะเวลามาตรฐาน (ที่ให้บริการจริง) 1. การให้บริการเช่าเวลาออกอากาศทาง สทท. 11 2548 30 วัน 2. การให้บริการผลิตสปอตโทรทัศน์ 2549 7 วัน 3. การให้บริการผลิตรายการในห้องส่ง สทท. 11 16 วัน 4. การให้บริการวางแผนผลิตและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโทรทัศน์ของ กปส. โดยคิดค่าใช้จ่าย 2550 6 วัน 5. การให้บริการผลิตรายการโทรทัศน์นอกสถานที่ (หมายเหตุ ขอยกเลิกกระบวนงาน เนื่องจากไม่มีผู้มาขอใช้บริการ) 12 วัน

50 รายชื่อกระบวนงานที่ดำเนินการรักษาระยะเวลา ปีงบประมาณ 2553
ที่เสนอลดรอบ ระยะเวลา รอบระยะเวลามาตรฐาน (ที่ให้บริการจริง) 1. การให้บริการอุปกรณ์โสตทัศน์ 2547 9 ชม. 2. การให้ความร่วมมือนิทรรศการแก่หน่วยงานภายนอก 20.4 วัน 3. การให้บริการทดสอบเพื่อขอใบรับรองเป็นผู้ประกาศ ภาษาไทยกลาง (ยกเลิก) 2548 30 วัน 4. การให้บริการหอประชุมกรมประชาสัมพันธ์ 12 วัน 5. การจ่ายเงินให้กับผู้รับบริการเงินนอกงบประมาณ 2549 7 วัน

51 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/ภาพรวม (น้ำหนักร้อยละ 2) แบ่งการประเมินผลเป็น 2 กรณี

52 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 7.1 (ต่อ) การประเมินผล ตัวชี้วัด น้ำหนัก กรณีที่ 1 ได้รับงบประมาณรายจ่าย 9.1 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1 ลงทุน 9.2 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม กรณีที่ 2 ไม่ได้รับงบประมาณรายจ่ายลงทุน 2

53 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน คำอธิบาย: การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ จะใช้อัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนของส่วนราชการ ทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค เป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงินของส่วนราชการ ทั้งนี้ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ของส่วนราชการเทียบกับวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ หากมีการโอนเปลี่ยนแปลง งบประมาณระหว่างปี (รายจ่ายประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำ) จะนำยอดงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็นฐานในการคำนวณ

54 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน คำอธิบาย: รายจ่ายลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่รัฐบาลจ่ายเพื่อจัดหาทรัพย์สินประเภททุน ทั้งที่มีตัวตนและทรัพย์สินที่ไม่มีตัวตน ตลอดจนรายจ่ายที่รัฐบาลอุดหนุนหรือโอนให้แก่บุคคล องค์กร หรือรัฐวิสาหกิจโดยผู้รับไม่ต้องจ่ายคืนให้รัฐบาลและผู้รับนำไปใช้จัดหาทรัพย์สินประเภททุน เป็นต้น สามารถตรวจสอบได้จากรหัสงบประมาณรายจ่าย รหัสลักษณะงานตำแหน่งที่ 5 แสดงถึงลักษณะเศรษฐกิจที่สำนักงบประมาณกำหนดให้

55 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน สูตรการคำนวณ: เงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการเบิกจ่าย x 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ได้รับ เกณฑ์การให้คะแนน: ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 69 72 75 78 81

56 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน หมายเหตุ: 1. กำหนดระดับคะแนน 3 เท่ากับ ร้อยละ 75 ซึ่งเป็นค่าเป้าหมายร้อยละของการเบิกจ่าย เงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด 2. การคำนวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการได้รับ ไม่รวมเงินงบประมาณ รายจ่ายลงทุนที่ได้รับจัดสรรเพิ่ มเติมระหว่างปีงบประมาณ และเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ส่วนราชการ ประหยัดได้ และไม่ได้นำไปใช้จ่ายในภารกิจหรือโครงการอื่นๆ ต่อ ทั้งนี้ขอให้ส่วนราชการรายงานวงเงิน งบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ประหยัดได้ดังกล่าว (งบประมาณเหลือจ่าย) เพื่อใช้ประกอบการประเมินผล

57 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน หมายเหตุ: 3. กรณีส่วนราชการนำเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ประหยัดได้จากโครงการเดิมไปใช้ใน โครงการอื่นๆ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของโครงการใหม่จะนำมาใช้คำนวณอัตราการเบิกจ่ายด้วย 4. ส่วนราชการสามารถตรวจสอบผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนผ่านทางเว็บไซต์ ของกรมบัญชีกลาง หัวข้อ ลำดับผลการเบิกจ่ายงบประมาณ

58 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน แหล่งอ้างอิง: แหล่งข้อมูลอ้างอิง : ใช้ข้อมูลในการติดตามประเมินผลจากกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง จากระบบ GFMIS

59 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.2 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม คำอธิบาย: การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม จะใช้อัตรา การ เบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของส่วนราชการทั้งที่เบิกจ่ายในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเป็น ตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงินของส่วนราชการ ทั้งนี้ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร เพิ่ มเติมระหว่างปีงบประมาณ โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายดังกล่าวจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ภาพรวม ของส่วนราชการเทียบกับวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่ส่วนราชการได้รับ หากมีการโอนเปลี่ยนแปลง งบประมาณระหว่างปี (รายจ่ายประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำ) จะนำ ยอดงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็นฐานในการคำนวณ

60 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 9.2 ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายในภาพรวม สูตรการคำนวณ: เงินงบประมาณรายจ่ายในภาพรวมที่ส่วนราชการเบิกจ่าย x 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายในภาพรวมที่ได้รับ เกณฑ์การให้คะแนน: ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 92 93 94 95 96

61 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต (น้ำหนักร้อยละ 1)

62 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 การจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต คำอธิบาย: ความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หมายถึง การที่ส่วนราชการสามารถจัดทำบัญชี ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด และนำเอาผลการคำนวณต้นทุนมาใช้ในการบริหาร ทรัพยากร

63 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต น้ำหนัก : ร้อยละ 1 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ และปีงบประมาณ พ.ศ ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพิ่ มขึ้นหรือลดลงอย่างไร พร้อมทั้ง วิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จัดทำรายงานสรุปผลการวิเคราะห์ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตได้แล้วเสร็จ และเสนอให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลางและ สำนักงาน ก.พ.ร.ทราบ ระดับ 2 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนดได้แล้วเสร็จ และรายงานผลการคำนวณต้นทุนตาม รูปแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนด โดยเสนอให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลางและ สำนักงาน ก.พ.ร.ทราบ ระดับ 1

64 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต น้ำหนัก : ร้อยละ 1 ดำเนินการตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไดแล้วเสร็จครบถ้วน จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน และผลสำเร็จตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพ การดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ และได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าส่วนราชการ ระดับ 5 จัดทำแผนเพิ่ มประสิทธิภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ โดยพิจารณาจากผลการคำนวณ ต้นทุนที่เกิดขึ้น ซึ่งแผนดังกล่าวต้องสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตต่อ หน่วยขององค์กร พร้อมทั้ งกำหนดเป้าหมายการเพิ่ มประสิทธิภาพในปีงบประมาณ พ.ศ ให้ชัดเจน และแผนฯ ดังกล่าวได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารระดับสูงของ ส่วนราชการ ระดับ 4 ส่วนราชการมีการระบุต้นทุนทางตรงเข้าสู่กิจกรรมย่อยหรือศูนย์ต้นทุนในระบบ GFMIS และส่งมอบให้หน่วยงานในองค์กรร่วมตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม สำหรับข้อมูล ค่าใช้จ่ายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ระดับ 3

65 อยู่ระหว่างพิจารณาแนวทางการประเมินผล กับเจ้าภาพตัวชี้วัด
มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 1 อยู่ระหว่างพิจารณาแนวทางการประเมินผล กับเจ้าภาพตัวชี้วัด

66 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน (น้ำหนักร้อยละ 2)

67 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน คำอธิบาย: การตรวจสอบภายใน หมายถึง กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่ นและการให้คำปรึกษาอย่างเที่ยงธรรม และเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้นเพื่อเพิ่ มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น การตรวจสอบ ภายในจะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ด้วยการประเมินและปรับปรุง ประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกำกับดูแลอย่างเป็นระบบ ความสำเร็จของการตรวจสอบภายในภาคราชการ พิจารณาจากความสามารถของหน่วยงาน ตรวจสอบภายในในการปฏิบัติตามระเบียบ มาตรฐาน และแนวปฏิบัติการตรวจสอบภายในภาคราชการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

68 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน น้ำหนัก : ร้อยละ 2.5 จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) ตามแผนการตรวจสอบประจำปี โดยจะต้องแสดงให้เห็นรายละเอียด ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงาน ขอบเขตการปฏิบัติงาน การจัดสรรทรัพยากร แนวทางการปฏิบัติงาน ระดับ 3 ระดับ 2 จัดทำกระดาษทำการประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผน การตรวจสอบ โดยแสดงให้เห็นรายละเอียด ดังนี้ ปัจจัยเสี่ยงและเกณฑ์ความเสี่ยงที่นำมาใช้ การวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดลำดับความเสี่ยง ระดับ 1

69 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 มีการรายงานผลการตรวจสอบการปฏิบัติงานหรือการตรวจสอบการดำเนินงาน โดยวิเคราะห์ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานหรือ การดำเนินงานรวมทั้งมีการแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงาน ระดับ 5 จัดทำรายงานผลการตรวจสอบครบถ้วนตามที่กำหนดในแผนการตรวจสอบ และเสนอหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาให้ความเห็นชอบ หรือสั่งการให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่มีในรายงานฯ ระดับ 4

70 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google