งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การส่งเสริมการเข้าถึงบริการ VCT/STIs ระบบบริการแบบ One stop service ในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย นภาคลินิก โรงพยาบาลอุดรธานี นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

2 เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการในนภาคลินิก
# พยาบาลวิชาชีพ : 5 คน # เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน : 2 คน # เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ : 2 คน # ลูกจ้างชั่วคราว : 3 คน # เจ้าหน้าที่โครงการป้องกันและดูแลรักษา เอชไอวี ในกลุ่มประชากร ที่ได้รับผลกระทบสูง – ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย และพนักงานบริการหญิงอิสระ : 1 คน

3 การเชื่อมผู้รับบริการป้องกันจากชุมชนเข้าสู่ระบบบริการให้คำปรึกษา ตรวจเอชไอวี และคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตัวอย่างเช่น ระบบการส่งต่อจากแกนนำเข้าไปยังสถานบริการ การทำงานร่วมกันระหว่างชุมชน และผู้ให้บริการภาครัฐเพื่อเชื่อมผู้รับบริการจากชุมชนเข้าสู่ระบบ 3 3

4 การบูรณาการ การป้องกัน และการดูแลรักษาเอชไอวี/ เอดส์ ในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
การป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ บริการ VCT , STI บริการดูแลรักษาผู้มีเชื้อ M-Friends, Walk In นภาคลินิก , คลินิกเพื่อน นภาคลินิก , M-sunshine @ แกนนำ Outreach @ ให้ความรู้ด้าน เอชไอวี STI @ ให้การปรึกษาเพื่อลดพฤติกรรม เสี่ยง @ ส่งเสริมการเข้าถึง VCT และ ตรวจรักษาโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ - ประชาสัมพันธ์ - ส่งต่อ เพื่อรับบริการ VCT และ ตรวจ STI @ จัดบริการที่เป็นมิตร ต่อ MSM/FSW (One Stop Service) @ บริการตรวจเลือดแบบทราบผล วันเดียว @ ตรวจคัดกรองและรักษาโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ @ ส่งเสริมสุขภาพผู้มีเชื้อ @ บริการยาต้านไวรัสแบบครบวงจร @ ติดตามการรักษา(ตามมาตรฐาน HIV-QUALT. @ ป้องกันโรคฉวยโอกาส @ ติดตามวินัยในการกินยาต้านไวรัส การประชุมวันนี้ เราไม่ได้เสนอของใหม่หรือนวัตกรรมใดๆ มันคือสิ่งที่ทุกคนทำอยู่แล้ว เพียงแต่เราอยากจับสิ่งที่ทุกคนทำอยู่แล้ว มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกันให้เป็นระบบ (กด animation ให้ลูกศรปรากฎ) เป็นการทำงานแบบบูรณาการ หรือเรียกกรอบแนวคิดนี้สั้นๆว่า HIP (ย่อมาจาก highly-active integrated program for HIV intervention) โดยเน้นการเชื่อมต่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงบริการที่จำเป็นต่อไปอย่างแท้จริง (สังเกตลูกศรยักษ์ที่เชื่อมระหว่างกล่องทั้ง4) 4 4

5 การเชื่อมต่องานเชิงรุกกับระบบบริการ
1. Mobile VCT(RAMP) 2. ระบบพี่เลี้ยง (ให้คำปรึกษาปัญหาในการทำงานเชิงรุก นัดหมายเรื่องส่งต่อ) - โทรศัพท์ประสานงาน (อาสาสมัคร เจ้าหน้าที่คลินิก) 3. ระบบส่งต่อ - ใบส่งต่อจากอาสาสมัครมาที่คลินิกบริการ - นภาคลินิก - คลินิกเพื่อน - อาสาสมัครพามา

6 การเข้ารับบริการการตรวจหาเชื้อ
1. อาสาสมัครพากลุ่มเป้าหมายมาที่คลินิกพร้อมกับแบบฟอร์มการส่งต่อ 2. ผู้รับบริการมาเอง แต่ได้รับคำแนะนำจากอาสาสมัคร(ถือแบบฟอร์มการส่งต่อมาเอง) 3. ผู้รับบริการมาเอง โดยไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานของแกนนำ

7 กราฟแสดงจำนวนMSMที่ได้รับการให้การปรึกษาและตรวจเอชไอวี (VCT)
ที่มา

8 กราฟแสดงจำนวน MSM ที่ได้รับการตรวจเอชไอวี (VCT)
(กันยายน 2550 – พฤษภาคม 2555) จำนวน ที่มา

9 นภาคลินิก สถานที่: ในโรงพยาบาล เวลาราชการ กลุ่มเป้าหมาย บริการ
ประชาชนทั่วไป MSM FSW บริการ - ตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - สนับสนุนถุงยางอนามัย - ตรวจเลือดโดยความสมัครใจ - ให้บริการยาต้านไวรัสเอดส์ แบบครบวงจร

10 MSM Walk in Refer form Outreach One Stop Service นภาคลินิก VCT
ตรวจเลือด ส่งพบเพื่อน M-Sunshine Anti HIV = Positive Anti HIV = Negative นัดตรวจ CD4 Csg. for risk reduction Condom + Lubricant Support - แนะนำบริการ CD4 <200 CD4 >200 -Monitor CD4 ทุก 6 เดือน Safesex education ART

11 เมื่อเดินเข้ามาที่นภาคลินิก โรงพยาบาลอุดรธานี
ห้องLab และบริเวณพื้นที่นภาคลินิก โรงพยาบาลอุดรธานี

12 บริเวณพื้นที่สำหรับให้บริการART ที่นภาคลินิก โรงพยาบาลอุดรธานี
ห้องให้คำปรึกษาสำหรับกลุ่มเพื่อนที่ได้ผลกระทบจากการติดเชื้อเอชไอวี

13 บรรยากาศวันให้บริการคลินิกยาต้าน ที่นภาคลินิก โรงพยาบาลอุดรธานี

14 สถานที่: นอกโรงพยาบาลอุดรธานี บริการ: . VCT
คลินิกเพื่อน เวลา: – น. ทุกวันราชการ สถานที่: นอกโรงพยาบาลอุดรธานี บริการ: . VCT . สนับสนุนถุงยางอนามัย . ตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

15 +ve -ve -Walk in คลินิกเพื่อน MSM/FSW เวลา 17.00-20.00 น. ทุกวันราชการ
VCT (Gen-pop/MSM , FSW) Pre-test Counseling STI (MSM,FSW) STI ประชาชนทั่วไป ซักประวัติ+ตรวจร่างกาย วินิจฉัย + รักษา แนะนำ VCT ตรวจ Lab นัด Follow up ติดตาม Partner Condom support ซักประวัติ +ตรวจร่างกาย ตรวจเลือด -แนะนำ VCT - นัด Follow –up Condom / lubricant support แนะนำ สนับสนุนถุงยางอนามัย นัดตรวจเลือดซ้ำ ถ้า อยู่ใน Window periods +ve -ve นัดตรวจ CD4 ที่นภาคลินิก นัดฟังผลเลือด 1 วัน - Walk in - Refer form outreach -Walk in MSM/FSW

16 น้องๆ หญิงบริการ รอเข้ารับการตรวจสุขภาพ/เลือด ที่คลินิกเพื่อน

17 น้องๆ กลุ่ม MSM รอเข้ารับคำปรึกษา/การตรวจสุขภาพ/เลือด ที่คลินิกเพื่อน

18 ผลการดำเนินงาน One stop service
(กันยายน 2553 – พฤษภาคม 2555) ตรวจเลือดหาเชื้อHIVพร้อมฟังผล 425 คน ส่งต่อแกนนำกลุ่มซันไชน์ เพื่อติดตามสุขภาพเพื่อน ผล HIV+ 90 คน ได้ตรวจ CD4 69 คน แกนนำกลุ่ม SunShine เข้าเกณฑ์ รับยา ARV (เกณฑ์ <200) 28 คน กำลังรับยา ARV 26 คน

19 การทำงานร่วมกันของภาครัฐกับอาสาสมัครภาคสนาม
1. สัมพันธภาพที่ดี (เจ้าหน้าที่ + อาสาสมัคร) 2. เวลา เจ้าหน้าที่เสียสละเวลาส่วนตัว (นอกเวลาราชการให้คำปรึกษารับโทรศัพท์อาสาสมัคร) - เวลาบริการ(สะดวก นอกเวลาราชการ) 3. ระบบบริการสุขภาพ (สะดวก รวดเร็ว เวลาเหมาะสม ส่วนตัว) 4. ความไว้วางใจของอาสาสมัครต่อเจ้าหน้าที่ (ความลับ) 5. ทัศนคติเชิงบวกต่อ MSM ของเจ้าหน้าที่คลินิกทุกคน ( Co ห้องทำบัตร ห้องตรวจชันสูตร ห้องจ่ายยา ลูกจ้าง) 6. หาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน(เจ้าหน้าที่ + อาสาสมัคร)

20 ปัญหาที่พบ/แนวทางการแก้ไข
เจ้าหน้าที่คลินิกไม่เข้าใจแบบฟอร์มส่งต่อ (PCM จัดประชุมระหว่างหน่วยบริการร่วมกับองค์กรที่ทำงานในพื้นที่) จำนวนผู้รับบริการไม่กระจาย บางวันมากเกินไป ส่งผลต่อคุณภาพบริการ(ประชุมชี้แจงอาสาสมัคร) ผู้รับบริการไม่กลับมาฟังผลเลือดครบทุกราย (แนะนำให้ส่งต่อที่คลินิกภาคปกติ และตรวจเลือดแบบฟังผลในวันเดียว) รูปแบบการส่งต่อทำให้ผู้รับบริการรู้สึกไม่เป็นส่วนตัวที่ต้องมีแบบฟอร์ม

21 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ผู้บริหารเห็นความสำคัญ เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการในนภาคลินิก (Clinic staff.) ทุกระดับ การวางระบบเชื่อมต่อกับงานเชิงรุกที่ดี การขับเคลื่อนของ PCM. อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ระบบบริหารจัดการข้อมูลที่ดี

22 ขอบคุณที่ติดตามค่ะ


ดาวน์โหลด ppt นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google