งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์วิจัยทันตวัสดุศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์วิจัยทันตวัสดุศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์วิจัยทันตวัสดุศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝ่ายวิจัย คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล้องจุลทรรศน์ 1. กล้องจุลทรรศน์ชนิดสเตอริโอ (Stereo Microscope) มี 2 เครื่อง รุ่น ML MEIJI พร้อม CCD, TV, VDO และกล้องถ่ายรูป รุ่น EOS 100, CANON, Japan. และรุ่น SZ 61 ยี่ห้อ OLYMPUS 2. กล้องจุลทรรศน์ชนิด ใช้แสงโพลาไรซ์ (Polarized Light Microscope) มี 2 เครื่อง รุ่น 9300 MEIJI พร้อม CCD, TV, VDO และกล้องถ่ายรูป รุ่น BOS 100, CANON, Japan. และรุ่น BX 53 ยี่ห้อ OLYMPUS 3. กล้องจุลทรรศน์สำหรับวัดขนาด (Precision Measuring Microscope) รุ่น MC series, CANON, Japan 4. กล้องถ่ายรูปดิจิตอลสำหรับกล้องจุลทรรศน์ (Digital Camera for Microscope) รุ่น AxioCam MRc 5, Carl Zeiss, Germany. Resolution 5 Megapixel หมายเหตุ : มีโปรแกรมประมวลผลภาพ (Image Analysis) ImagePro-plus, USA. ซึ่งสามารถใช้งานกับภาพจากกล้อง ประวัติและความเป็นมา เนื่องด้วยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนและส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยเพื่อผลิตองค์ความรู้ใหม่ และนำไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ จึงได้มีการจัดตั้งศูนย์เครื่องมือวิจัยทางทันตวัสดุศาสตร์ขึ้นในปี 2544 เพื่อมารองรับงานวิจัยของคณะฯ ที่มีปริมาณมากขึ้น ตลอดไปจนถึงการให้บริการทั้งภาครัฐและเอกชน โดยรวบรวมเครื่องมือและครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยทางด้านทันตวัสดุประกอบกับการจัดซื้อเครื่องมือและครุภัณฑ์ที่มีวามจำเป็นเร่งด่วน รวมทั้งสร้างระบบจัดการ ให้สามารถทำงานได้ครบวงจรและมีประสิทธิภาพสูงสุด และมีการจัดหานักวิทยาศาสตร์และช่างเทคนิคเข้ามาดูแลและสนับสนุนการทำงาน ทั้งนี้ทางศูนย์ฯ มีจุดประสงค์หลักที่จะให้บริการการทดสอบและอำนวยความสะดวกให้แก่นักวิจัยในงานวิจัยด้านทันตวัสดุ 9. อ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิความเย็น (Waterbath) ยี่ห้อ BOSSTECH, USA. ( องศาเซลเซียส) 10. ตู้แช่ องศาเซลเซียส (Freezer) รุ่น LF 530W ยี่ห้อ EVERMED, ITALY. ( องศาเซลเซียส) 11. เครื่องกวนสารละลาย รุ่น MR 3003 SD, HEIDOLPH, Germany. 12. เครื่องทำความสะอาดด้วยคลื่นไฟฟ้า (Ultrasonic Cleaner) รุ่น 5210, BRANSONIC, Germany. (ปรับได้ องศาเซลเซียส) 13. ภาชนะควบคุมความชื้นสำหรับเก็บชิ้นงาน (Dessicator) 14. ตู้ดูดควัน (Fume Hood) รุ่น MJ-G100, Major Lab, Japan. 15. เครื่องแยกสารด้วยตะแกรง รุ่น AS 200 digit, Retsch, Germany. 16. เครื่องฝนชิ้นตัวอย่าง (Notching Machine)รุ่น Model 1, RAY-RAN Polytest, England. 17. เครื่อง Dental Mobile Unit รุ่น Super Mobile 85 ยี่ห้อ T.D.P , ประเทศไทย พร้อมหัว high speed hand piece. 18. เครื่อง Micro-Motor รุ่น Marathon-3, Marathon, Korea. 19. ตู้ฉายแสง (Light Cure Cabinet) ยี่ห้อ LABOLIGHT รุ่น LB-III, USA. 20. เตาไฟฟ้า (Hot Plate) รุ่น HP , Thermolyne, USA. 21. โคมไฟแว่นขยาย ซุปเปอร์เลนส์ กำลังขยาย 10x 22. เครื่องวัดและบันทึกอุณหภูมิ (Data Logger) รุ่น testo 175 ( องศาเซลเซียส) 23. อ่างน้ำควบคุมอุณหภูมิแบบเขย่า (Shaking Water Bath) รุ่น WB 22, MEMMERT, Germany. (10 – 95 องศาเซลเซียส) 24. เครื่องกวนแบบใช้ใบพัด สำหรับกวนสารที่มีความหนืดต่ำ IKA, Germany. 25. เครื่องฉายแสง (Light Curing Unit) รุ่น EliparTrilight , 3M, USA. 26. เครื่องปั่นอมัลกัม รุ่น ProMix 402E, ยี่ห้อ Dentsply, U.S.A. 27. เครื่องเขย่าหลอดทดลอง รุ่น KMC1300V , ยี่ห้อ HUMANLAB, Korea. 28. เครื่องล้างความถี่สูง (Ultrasonic Bath) รุ่น VGT-1990QTD, China. 29. ตู้ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ 30. เครื่องพ่นทราย ยี่ห้อ BLAST MASTER, ประเทศไทย 31. เครื่องเจาะวัสดุสำหรับเตรียมชิ้นงาน ยี่ห้อ REXON รุ่น DP-308A , ประเทศไทย 32. เครื่องตัดท่อสำหรับเตรียมชิ้นงาน ยี่ห้อ Makita รุ่น LS1040, Japan 33. เครื่องขึ้นรูปชิ้นงานด้วยคอมพิวเตอร์ (CNC Specimen Former) ยี่ห้อ IMT รุ่น Former A-11, ประเทศไทย. เครื่องมือวัดและทดสอบ เครื่องทดสอบแรงดึงแรงอัด (Universal Testing Machine) รุ่น LR10K, LLOYD Instruments, England. (Load cell 100N, 1KN, 10KN) 2. เครื่องทดสอบแรงดึงแรงอัดระบบไฮดรอริก (Servo Hydraulic System) รุ่น 8872, INSTRON, England. (Load cell 250N.,1KN.,10KN.) 3. เครื่องทดสอบแรงดึงแรงอัด (Universal Testing Machine) รุ่น EZ-S ยี่ห้อ SHIMADZU, Japan. 4. เครื่องทดสอบสากลสำหรับทดสอบความล้าของวัสดุ (Universal Testing Machine, Fatigue Tester) รุ่น E1000, INSTRON Instruments, England. 5. เครื่องทดสอบความแข็งผิว (Micro-Hardness Tester) มี 2 เครื่อง คือ รุ่น FM-700e TYPE D, FUTURE-TECH, Japan. (หัวกดแบบ Knoop และ Vickers) และรุ่น FM-810 ยี่ห้อ FUTURE-TECH Japan. (หัวกดแบบ Knoop และ Vickers) 6. เครื่องทดสอบความแข็งวัสดุ (Durometer) รุ่น ASTM D 2240 TYPE A, D PTC Instruments, USA. (Load ขนาด 5Kg. และ 1Kg.) 7. เครื่องวัดและเทียบสี รุ่น Ultrascan XE, Hunter Lab, USA. 8. เครื่องวัดความหนืดของเหลว แสดงผลเป็นตัวเลขไฟฟ้า (Viscometer) รุ่น RVDV-II, Brookfield, USA. 9. เครื่องวัดความหยาบพื้นผิว (Surface Roughness Tester) Talyscan 150, England. (Stylus for contact, laser for non contact measurement) 10. เครื่องวัดความหยาบพื้นผิวแบบไม่สัมผัส (Surface Roughness Tester - Non contact) ยี่ห้อ ALICONA รุ่น INFINITEFOCUS SL, Austria. 11. เครื่องทดสอบทางกลระดับนาโน (Nano-mechanical instrument) รุ่น UMIS II ยี่ห้อ CRISO, Australia. (หัวกดเพชรชนิด Berkovich) มีแรงกดระหว่าง 2 uN mN. ระยะความลึก um. 12. เครื่องตรวจการก่อตัวของซีเมนต์ Load 100, 400 g. Needle ขนาด 1.0, 2.0 mm. 13. โปรแกรมวิเคราะห์การกระจายความเค้นของวัสดุ (Finite Element Analysis Software) ยี่ห้อ MSC. Software 14. เครื่องวัดสีฟัน รุ่น Shade Eye NCC, Shofu, Japan 15. เครื่องวัดความเข้มแสง รุ่น 100 Optilux , SdsKerr, USA. 16. เครื่องวัดแรงชนิดพกพา (Push Pull Force Gauge) รุ่น IPX-808, ยี่ห้อ INSPEX , China. 17. เครื่องวัดการยืดหดของวัสดุ (Extensometer) ยี่ห้อ LLOYD และ INSTRON เครื่องมือพื้นฐานสนับสนุนงานวิจัย 1. เครื่องขัดผิววัสดุ (Polishing Machine) รุ่น NANO 2000, PACE TECHNOLOGIES, USA. 2. เครื่องตัดฟันเนื้อเยื่อชนิดแข็ง (Hard Tissue Microtome) รุ่น SP1600, LEICA, Germany 3. เครื่องตัดฟัน (Low Speed Cutting Machine) มี 3 เครื่อง คือ รุ่น ISOMET 1000, และรุ่น BUCHLER, USA และรุ่น Low Speed Saw, Buehler, USA. 4. เครื่องแช่สลับน้ำร้อนน้ำเย็น (Thermo Cycling Unit) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี เจ้าคุณทหารลาดกระบัง, ประเทศไทย 5. เครื่องชั่งอิเล็กทรอนิกส์ ระบบดิจิตอล (Digital Balance) มี 3 เครื่อง คือ รุ่น HL-400, AND, Japan. Max Wt. 400 g. ความละเอียด 0.1 g. รุ่น SBA 51, Scaltec, Germany. Max Wt g. ความละเอียด 0.01 g. และรุ่น 40SM - 200A, Precisa. Max Wt.210 g. ความละเอียด g. 6. เครื่องวัดขนาดแบบดิจิตอล (Digital Caliper, Micrometer) Mitutoyo, Japan. ความละเอียด 0.01, mm. 7. เครื่องวัดและบันทึกอุณหภูมิในระบบดิจิตอลแบบใช้ขดลวด (Thermocouple with Recorder) รุ่น MODEL , EXTECH, USA ( องศาเซลเซียส) 8. ตู้ควบคุมอุณหภูมิ (Incubator) มี 2 ตู้คือ รุ่น Contherm160M, Contherm Scientific Ltd., New Zealand. (8 – 100 องศาเซลเซียส) รุ่น Contherm 1200 , Contherm , New Zealand

2 ศูนย์วิจัย ทันตวัสดุศาสตร์ department/dent-material
เครื่องมือ ทดสอบเอง เจ้าหน้าที่ทดสอบ ค่าตั้งเครื่อง ค่าสอบเทียบ 8. เครื่องทดสอบแรงดึงแรงอัด ระบบไฮดรอลิก - Static loading (ต่อชิ้นตัวอย่าง) เครื่องทดสอบแรงดึงแรงอัด - Cyclic loading (ต่อชิ้นตัวอย่าง) 9. เครื่องวัดความหยาบพื้นผิว - Laser (ต่อชิ้นตัวอย่าง) - Stylus (ต่อชิ้นตัวอย่าง) 10. ชุดตรวจการก่อตัวของ ซีเมนต์ (ต่อชิ้นตัวอย่าง) 11. กล้องจุลทรรศน์สำหรับ วัดขนาด Precision Measuring Microscope (ต่อชั่วโมง) หมายเหตุ: - ค่าตั้งเครื่อง : ในกรณีที่ให้เจ้าหน้าที่เป็นผู้เปิดเครื่อง, ติดตั้ง อุปกรณ์ทดสอบ และปรับค่าต่างๆ ของเครื่องก่อนการใช้งาน ค่าสอบเทียบ: เป็นค่าใช้จ่ายในการสอบเทียบเครื่องมือภายใน โดยเจ้าหน้าที่เป็นผู้สอบเทียบ - ยกเว้นเครื่องขัดผิววัสดุ : ค่าใช้บริการไม่รวมน้ำยาและกระดาษทราย อัตราค่าบริการนี้ เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม เป็นต้นไป และอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ โดยแจ้งให้ทราบทางป้ายประกาศหน้าศูนย์ ***ส่วนลดพิเศษในการใช้บริการ*** - สำหรับอาจารย์ บุคลากร และนิสิต ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลดค่าบริการ 70% สำหรับอาจารย์ บุคลากร และนิสิต ของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยอื่นๆ ที่เป็นหน่วยงานราชการ ลดค่าบริการ 50% สำหรับอาจารย์ บุคลากร และนิสิต ของมหาวิทยาลัยอื่นๆ ที่เป็นหน่วยงานราชการ ลดค่าบริการ 40% - หน่วยงานราชการ ลดค่าบริการ 25% ขั้นตอนในการขอใช้บริการ 1. กรอกแบบฟอร์มขอใช้บริการ โดยขอรับแบบฟอร์มได้ที่ศูนย์ฯ ชั้น 9 อาคารสมเด็จย่าฯ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ (กรุณาอ่านข้อตกลงการให้บริการของศูนย์ฯ อย่างละเอียด) 2. นำแบบฟอร์มที่กรอกเรียบร้อยแล้วมาส่งที่ศูนย์ฯ (หากเป็นนิสิตต้องมีลายเซ็นอาจารย์ที่ ปรึกษาโครงการ และหากเป็นนิสิต/บุคลากรภายนอกคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ จะต้องทำ จดหมายเรียนผู้อำนวยการศูนย์วิจัยทันตวัสดุศาสตร์) 3. การใช้เครื่องมือจะต้องมีการประเมินความสามารถในการใช้เครื่องมือก่อนการใช้งาน เจ้าหน้าที่ผู้ประเมินและต้องนัดวันเวลาในการประเมิน และทำการประเมินโดยใช้ใบประเมิน ความสามารถในการใช้เครื่องมือ และจัดส่งผลการประเมินให้ผู้อำนวยการศูนย์ฯ อนุมัติแล้ว ต้องเช็คเวลาและจองเวลาในการใช้เครื่องมือล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วันทำการก่อนที่จะใช้งาน จริง ศูนย์วิจัย ทันตวัสดุศาสตร์ ชั้น 9 อาคารสมเด็จย่าฯ ๙๓ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การคิดอัตราค่าบริการ (หน่วย : บาท) เครื่องมือ ทดสอบเอง เจ้าหน้าที่ทดสอบ ค่าตั้งเครื่อง ค่าสอบเทียบ 1. อัตราค่าใช้บริการเครื่อง ทดสอบแรงดึงแรงอัด (ต่อชิ้นตัวอย่าง) 2. อัตราค่าใช้บริการเครื่อง ทดสอบแรงกระแทก 3. อัตราค่าใช้บริการเครื่อง วัดความแข็งผิว (ต่อ 1 รอยกด) 4. อัตราค่าใช้บริการเครื่อง ขัดผิววัสดุแบบ 2 จานหมุน (ต่อชั่วโมง) 5. อัตราค่าใช้บริการเครื่อง วัดและเทียบสี (ต่อชั่วโมง) 6. อัตราค่าใช้บริการเครื่อง ตัดฟัน (ต่อชั่วโมง) 7. อัตราค่าใช้บริการกล้อง จุลทรรศน์ชนิดStereo และ Polarized light Microscope และ โปรแกรมประมวล ผลภาพ (ต่อชั่วโมง) Certificate Number QMS03218/822 เปิดให้บริการ จันทร์ - ศุกร์ เวลา 8.30 – น. ( ยกเว้นวันหยุดราชการ ) โทร Fax department/dent-material ปรับปรุงเดือน มีนาคม 2559


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์วิจัยทันตวัสดุศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google