งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 นพ. วัลลภ ไทยเหนือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 นพ. วัลลภ ไทยเหนือ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

2 พัฒนาการเด็กไทย - สำรวจทีไรล่าช้าทุกที
นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

3 ร้อยละของเด็ก 1-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้า ปี 2542-2553
ที่มา: สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. รายงานการสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย ประจำปี 2553

4 แรกเริ่มเดิมที ที่มา โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กล้านนา
ที่มา โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กล้านนา 2555 Lanna Child Development Integration Project LCDIP 1. จากปัญหาของพื้นที่ LBW 10% และ Birth Asphyxia 25/1,000 LB. – เด็กกลุ่มเสี่ยง 2. เด็กที่คลอดปกติแต่อาจเกิดพัฒนาการล่าช้าภายหลัง จากการเลี้ยงดูโดยเฉพาะเด็กที่อยู่กับปู่ย่าตายาย – เด็ก ปกติ (เมื่อคลอด) นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

5 ที่มา โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กไทย
ที่มา โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็กไทย ศึกษา ทดสอบ คัดเลือก ปรับปรุง จัดทำ เครื่องมือและอุปกรณ์เพื่อ Early detection, Early promotion, Early stimulation คู่มือประเมินและส่งเสริม DAIM สำหรับเด็กกลุ่มเสี่ยง คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริม DSPM สำหรับเด็กคลอดปกติ เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง อสม. ช่วยกันเฝ้าระวังและส่งเสริมตามวัย ส่วน จนท.สธ. จะคัดกรองและลงข้อมูล เมื่อเด็กอายุ 9, 18, 30 และ เดือน ขยายพื้นที่โดยศูนย์อนามัยและศูนย์สุขภาพจิตอีกเขตละ 2 จังหวัด รวม LCDIP 8 จังหวัด เป็น 31 จังหวัด (รวม กทม.) นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

6 ที่มา ผลการดำเนินงาน LCDIP ข้อมูล 1 สค. 56 – 31 กค. 57
2557 เด็ก BA 1,315 ราย พัฒนาการไม่สมวัย 79 ราย = 19.7% เด็ก LBW 4,516 ราย พัฒนาการไม่สมวัย 350 ราย = 20% ภายหลังใช้ เด็ก BA พัฒนาการไม่สมวัย เหลือ 66 ราย = 15.4% DAIM เด็ก LBW พัฒนาการไม่สมวัย เหลือ 296 ราย = 15.9% นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

7 การประเมินผลการใช้ DSPM ตค. 2557
ที่มา ผู้บริหาร - เห็นด้วยและให้การสนับสนุน - มีหนังสือสั่งการภายในองค์กร ผู้ให้บริการ - เนื้อหาคู่มือค่อนข้างละเอียดใช้เวลานาน แต่ทำไปแล้วชำนาญขึ้นใช้เวลาน้อยลง - เห็นความสำคัญขยายเวลา WCC เป็นอย่างน้อย 2 วัน/เดือน ผู้รับบริการ - คู่มืออ่านง่าย เข้าใจดี มีประโยชน์มาก - ทำกิจกรรมทุกช่วงอายุตามคู่มือ นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

8 ปีมหามงคล 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี
15-17 ก.พ.58 Traning ครู ก Model เชียงใหม่ Meeting ผู้บริหาร สธ. ที่ปรึกษา Specialist , Super ครู ก และทีม DBP 2 มี.ค.58 Standardization ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด กทม. (กรมการแพทย์) แบ่งทีมสนับสนุนวิชาการตามเขตและภาค 9 มี.ค.58 Intersectoral Meeting – สธ. มท. พม. ศธ. ฯลฯ มี.ค.58 Training ครู ก ทุกเขต Training ครู ข และ จนท.สธ. ทุกจังหวัด เม.ย.58 Implementation Kick off ที่ไป นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

9 กลไกและการจัดการ กลไกระดับเขต: คณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเขต...
กลไกจังหวัด: คณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กจังหวัด... Technical Training Team กิจกรรมระดับพื้นที่ การติดตามประเมินผล Auditing Schedule

10 กลไกเขต: คณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเขต...
ผู้ตรวจฯ - Regional Project Manager – ประธาน สธน Regional Coordinating Manager – รองประธาน สสจ. และ ผอ. รพท/รพศ ทุกจังหวัดในเขต - กรรมการ ประธาน MCH Board เขตและประธาน DBPเขต -กรรมการ สสจ.ที่ตั้งเขต - เลขานุการ ผชชส หรือหัวหน้าฝ่ายส่งเสริม -ผู้ช่วยเลขา บทบาทหน้าที่ - รวบรวมข้อมูลและติดตามความก้าวหน้า - พัฒนาการแก้ปัญหาที่สาเหตุ พัฒนาคู่มือให้เหมาะสมพื้นที่ให้ดีพร้อม IQ และ EQ อื่นๆ นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

11 กลไกจังหวัด: คณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กจังหวัด...
ผวจ. , นายกเหล่ากาชาด , พม. , อบจ. , สพฐ. เอกชน ประธาน MCH Board -กรรมการ สสจ. – เลขานุการ ผชชส - ผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการติดตามประเมินผล, สสจ. – ประธาน ผอ.รพท/รพศ - รองประธาน, ผชชส หรือหัวหน้าฝ่ายส่งเสริม - เลขานุการ ประธาน DBP, ผอ.รพชหรือพยาบาลพัฒนาการทุก รพช. – กรรมการ บทบาทหน้าที่ - ติดตามการลงข้อมูลให้ครบถ้วน - วิเคราะห์ข้อมูล และรายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน พัฒนาการแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดพัฒนาการล่าช้า พัฒนาศักยภาพบุคลากร นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

12 Technical Training Team
Team support 1. พญ.ศิริพร กัญชนะ เขต 1-3 2. พญ.นิตยา คชภักดี เขต 4-5 และ กทม. 3. พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร เขต 6-7 Super ครู ก - นพ.สมัย ศิริทองถาวร - พญ.วรวรรณ จงสง่าวิทยาเลิศ - นพ.พนิต โล่เสถียรกิจ - พญ.ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย - พญ.รัตโนทัย พลับรู้การ - พญ.อดิศร์สุดา เฟื่องฟู Technical Team ผู้ประสาน DBP - เขต 1 นพ.ยงยุทธ ชุ่มคำลือ (รพ.พะเยา) - เขต 2 พญ.จิระพร วงษ์สมบูรณ์ (รพ.อุตรดิตถ์) - เขต 3 พญ.ไสววรรณ ไผ่ประเสริฐ (รพ.ส่งเสริม สุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 8 จ.นครสวรรค์) - เขต 4 พญ.สิจา ลีลาทนาพร (รพ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง) - เขต 5 พญ.ชุลีพร ตีรเศรษฐ์ศักดิ์ (รพ.บ้านแพ้ว องค์กรมหาชน จ.สมุทรสาคร) - กทม. พญ.อดิศร์สุดา เฟื่องฟู (สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี) - เขต 6 นพ.พนิต โล่เสถียรกิจ ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี) - เขต 7 นพ.ชาญยุทธ ศุภคุณภิญโญ (คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น) DBP = Developmental Behavior Pediatrician กุมารแพทย์พัฒนาการ

13 Technical Training Team (ต่อ)
Team support 4. พญ.ศิริกุล อิศรานุรักษ์ เขต 8-10 5. พญ.นิพรรณพร วรมงคล เขต 11-12 Super ครู ก - นพ.สุรัตน์ สิรินนทกานต์ พญ.ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์ - พญ.นพวรรณ ศรีวงค์พานิช - นพ.เทอดพงษ์ ทองศรีราช Technical Team ผู้ประสาน DBP - เขต 8 พญ.ธิดานวล กองหล้า (รพ.หนองคาย) - เขต 9 พญ.ปิยวรรณ วัฒนสุนทรสกุล (รพ.มหาราชนครราชสีมา) - เขต 10 พญ.นวรัตน์ อรุณยะเดช (รพ.สรรพสิทธิ์ประสงค์ จ.อุบลราชธานี) - เขต 11 พญ. สุภิยา โออุไร (รพ.นครศรีธรรมราช) - เขต 12 นพ.เทอดพงศ์ ทองศรีราช (คณะแพทยศาสตร์ รพ.สงขลานครินทร์) DBP = Developmental Behavior Pediatrician กุมารแพทย์พัฒนาการ นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

14 กิจกรรมระดับพื้นที่ รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลรายอำเภอ
แก้ไขสาเหตุ (LBWและBA) ส่งเสริมหรือส่งต่อ ผู้เชี่ยวชาญ รพท./รพศ. จังหวัด แพทย์หรือพยาบาลพัฒนาการ ที่ รพช. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลรายตำบล แนะนำติดตาม 1ด. ส่งเสริมหรือส่งต่อ อำเภอ คัดกรอง 9,18,30 และ 42 ด. (ไม่ต่ำกว่า80%) แนะนำติดตาม 1 ด. ส่งเสริมหรือส่งต่อ จนท.สธ.ที่ รพ.สต. ตำบล อสมช.พัฒนาการ หมู่บ้าน เฝ้าระวังติดตามส่งเสริมหรือส่งต่อ ครอบครัวที่เด็กอยู่กับปู่ย่าตายาย เฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการลูก ถ้ายังพัฒนาการล่าช้า 1 ด. พบ จนท. สธ. หรือ รพช. พ่อแม่ผู้ปกครอง ครัวเรือน นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

15 การติดตามประเมินผล Auditing Schedule
นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

16 ความคาดหวัง - เป้าหมายระยะยาวใน 3 ปี ของเด็กปฐมวัย 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 85% แบ่งเป็น 1. เด็กไทย 0-2 ปี พัฒนาการสมวัย 90% 2. เด็กไทย 3-5 ปี พัฒนาการสมวัย 80% หมายเหตุ : เด็กที่ได้รับการคัดกรองตามช่วงอายุต้องไม่น้อยกว่า 80 % ของจำนวนเด็กที่มีอยู่ ตามช่วงอายุนั้นๆ - เป้าหมายระยะสั้นใน 3 เดือน ตั้งแต่ เมษายน 2558 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการระดับเขตและจังหวัด 2. เด็กหลังคลอดทุกคนได้รับคู่มือ DSPM หรือ DAIM 3. พ่อแม่ได้รับการฝึกและใช้คู่มือเป็น 4. อสม.ได้รับการฝึกและมอบหมายให้ดูแลเด็กที่อยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย 5. จนท.สธ. ที่ รพ.สต. ได้รับการสนับสนุนคู่มือจากอำเภอ จังหวัด อย่างต่อเนื่อง และลงข้อมูล ของการคัดกรองตามอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ได้อย่างถูกต้อง 6. เมื่อครบ 3 เดือนจะมีการรณรงค์สัปดาห์การคัดกรองพัฒนาการเด็ก (National Child Development Screening week) พร้อมกันทั่วประเทศ ในสัปดาห์ ก.ค. 2558 นพ. วัลลภ ไทยเหนือ

17 คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
Developmental Surveillance and Promotion Manual (DSPM) (สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม และพ่อแม่ ผู้ปกครอง

18 ตารางเปรียบเทียบระหว่าง อนามัย 55 และ DSPM
ประเด็น อนามัย 55 DSPM ที่มา ทุก items คัดจาก Denver II ตามช่วงอายุที่ P75-90 เป็น norm ของต่างประเทศ คัดจาก TDSI (Thai developmental skills inventory), Denver II, แบบประเมินสถาบันเด็กแห่งชาติมหาราชินี, Bright future,สมรรถนะเด็ก, อนามัย 55 TDSI ศึกษาค่า Norm ของเด็กไทยโดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ 2554 ข้อทดสอบเฝ้าระวัง มี 4 domains ต่อกลุ่มอายุ มี 5 domains (ภาษาแบ่งเป็น RL,EL) ต่อกลุ่มอายุ ข้อทดสอบคัดกรอง ไม่มี ต้องใช้จาก Denver II ครอบคลุมทั้งการเฝ้าระวังและคัดกรอง การส่งเสริมพัฒนาการ แล้วแต่เจ้าหน้าที่แนะนำ มีวิธีกระตุ้นพัฒนาการชัดเจนในแต่ละข้อทดสอบ เพื่อให้พ่อแม่ได้ฝึกลูก เวลาทดสอบ สั้นกว่า? นานกว่า?

19 คุณภาพเครื่องมือ: การเปรียบเทียบ การคัดกรองพัฒนาการเด็ก ด้วยเครื่องมือ DSPM และ Denver II
ทำโดย นักวิชาการสาธารณสุขที่ผ่านการอบรม ของศูนย์อนามัย 11 แห่ง เมื่อ มิถุนายน – ตุลาคม 2557 อายุเด็ก 9, 18, 30, 42 เดือน 150 คน ต่อกลุ่มอายุ การแปลผล DSPM ต้องผ่านทุกข้อ จึงจะระบุว่าพัฒนาการปกติ

20 ผลการเปรียบเทียบ การคัดกรองพัฒนาการเด็ก ด้วยเครื่องมือ DSPM และ Denver II
ข้อมูลของเด็กที่ทดสอบ จำนวน ร้อยละ อายุของเด็ก (เดือน) 690 100.0 9 เดือน 182 26.4 18 เดือน 183 26.5 30 เดือน 166 24.1 42 เดือน 159 23.0 เพศ 686 ชาย 351 51.2 หญิง 335 48.8

21 เด็ก n DSPM Denver II % ปกติ % สงสัยล่าช้า 9 เดือน 179 53.1 46.9 86.6
การประเมินพัฒนาการเด็กโดยรวม แยกตามกลุ่มอายุ เพศ และ เครื่องมือ เด็ก n DSPM Denver II % ปกติ % สงสัยล่าช้า 9 เดือน 179 53.1 46.9 86.6 13.4 18 เดือน 183 62.3 37.7 90.2 9.8 30 เดือน 163 55.8 44.2 80.1 19.9 42 เดือน 149 49.0 51.0 82.2 17.8 รวมทุกอายุ 674 55.3 44.7 85.0 15.0 หญิง 345 61.4 38.6 86.5 13.5 ชาย 325 49.2 50.8 83.5 16.5

22 % sensitivity, % specificity, % FN, % FP, % PPV, % NPV,
Kappa รวมทุกอายุ พัฒนาการ % sensitivity % specificity % FN % FP % PPV % NPV Kappa Total all 96.04 64.67 3.96 35.33 32.55 98.92 0.337** Total 9 m 95.65 61.04 4.35 38.96 26.83 98.95 0.271** Total 18m 88.89 67.88 11.02 32.12 23.19 98.25 0.251** Total 30m 96.97 69.23 3.03 30.77 44.44 98.90 0.459** Total 42m 100.00 60.00 0.00 40.00 36.00 0.355**

23 ตารางเปรียบเทียบ ข้อทดสอบระหว่างอนามัย 55 และ DSPM
อายุเด็ก อนามัย 55 DSPM O-1 m PS FM RL EL GM จ้องหน้า มองตามถึงกึ่งกลาง ลำตัว ส่งเสียง ยกศีรษะ มองจ้องหน้าได้นาน 1-2 วินาที มองตามถึงกึ่งกลางลำตัว สะดุ้งหรือเคลื่อนไหวร่างกายเมื่อได้ยินเสียงพูด ส่งเสียงอ้อแอ้ ท่านอนคว่ำยกศีรษะและหันไปข้างใดข้างหนึ่งได้

24 ตารางเปรียบเทียบ ข้อทดสอบระหว่างอนามัย 55 และ DSPM
อายุเด็ก อนามัย 55 DSPM 1-2 m PS FM RL EL GM ยิ้มทัก มองตามผ่านกึ่งกลางลำตัว ทำเสียงอูอา ยกศีรษะ 45 องศา ยิ้มตอบหรือส่งเสียงโต้ตอบได้เมื่อผู้ประเมินยิ้มและพูดคุยด้วย มองผ่านกึ่งกลางลำตัว มองหน้าผู้พูดคุยได้นาน 5 วินาที ทำเสียงในลำคออย่างชัดเจน(เสียงอูหรืออา) ท่านอนคว่ำยกศีรษะตั้งขึ้นได้ 45 องศา นาน 3 วินาที

25 ตารางเปรียบเทียบ ข้อทดสอบระหว่างอนามัย 55 และ DSPM
อายุเด็ก อนามัย 55 DSPM 3-4 m PS FM RL EL GM มองมือตนเอง มองตาม 180 องศา ทำเสียงสูงๆต่ำๆ ท่านอนคว่ำยกอกพ้นพื้น ยิ้มทักคนที่คุ้นเคย มองตามสิ่งของที่เคลื่อนที่ได้เป็นมุม 180 องศา หันตามเสียงได้ ทำเสียงสูงๆต่ำๆ เพื่อแสดงความรู้สึก ท่านอนคว่ำยกศีรษะและอกพ้นพื้น

26 ตารางเปรียบเทียบ ข้อทดสอบระหว่างอนามัย 55 และ DSPM
อายุเด็ก อนามัย 55 DSPM 5-6 m PS FM RL EL GM หยิบของป้อนเอง มองตามของตก หันหาเสียงเรียก ดึงขึ้นนั่งศีรษะไม่ห้อย สนใจฟังคนพูด และสามารถมองไปที่ของเล่นที่ผู้ทดสอบเล่นกับเด็กนาน 1 นาที เอื้อมมือหยิบและถือวัตถุไว้ขณะอยู่ในท่านอนหงาย เลียนแบบการเล่นทำเสียงได้ ยันตัวขึ้นจากท่านอนคว่ำโดยเหยียดแขนตรงทั้งสองข้างได้

27 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง
Denver II DSPM 9 m Screening หยิบของป้อนเอง เอื้อมมือหยิบของไกล ถือก้อนไม้มือละก้อน เปลี่ยนมือถือก้อนไม้ เขี่ยลูกเกด มองตามของตก เลียนเสียงพูดคุย ทำเสียงหลายพยางค์ ปาปามามาไม่มีความหมาย เลียนเสียง ทำเสียงพยางค์เดียว หันหาเสียงเรียก ลุกขึ้นนั่ง ลุกขึ้นยืนจากท่านั่ง เกาะยืน นั่งได้มั่นคง ใช้นิ้วหยิบอาหารกินได้ หยิบก้อนไม้จากพื้น และถือไว้มือละชิ้น ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วอื่นๆหยิบของขึ้นจากพื้น ทำตามคำสั่งง่ายๆเมื่อใช้ท่าทางประกอบ รู้จักปฏิเสธด้วยการแสดงท่าทาง เลียนเสียงคำพูดที่คุ้นเคยได้อย่างน้อย 1 เสียง ลุกขึ้นนั่งได้จากท่านอน ยืนอยู่ได้โดยใช้มือเกาะเครื่องเรือนสูงระดับอก

28 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง
Denver II DSPM 18 m Screening ใช้ช้อนกินอาหาร ช่วยงานบ้าน ถือถ้วยดื่มน้ำเอง เลียนแบบท่าทาง เล่นบอลกับผู้ทดสอบ โบกมือลา แสดงความต้องการ ต่อก้อนไม้ 2 ชั้น เทลูกเกดตามแบบ ขีดเส้นยุ่งๆ พูดได้ 3 คำ วิ่ง เดินถอยหลัง สนใจ/มองตามสิ่งที่ผู้ใหญ่ชี้ที่อยู่ไกลออกไปอย่างน้อย 3 เมตร ดื่มน้ำจากแก้วโดยไม่หก เปิดหน้าหนังสือที่ทำด้วยกระดาษแข็งที่ละแผ่นได้เอง เลือกวัตถุตามคำสั่งได้ถูกต้อง 3 ชนิด ชี้อวัยวะได้ 1 ส่วน พูดเลียนคำที่เด่นหรือคำสุดท้ายของคำพูด พูดเป็นคำๆได้ 4 คำ วิ่งได้ เดินถือลูกบอลไปได้ไกล 3 เมตร

29 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง
Denver II DSPM 30 m Screening ล้างและเช็ดมือได้เอง แปรงฟันเองโดยต้องช่วยเหลือ ใส่เสื้อผ้า ป้อนน้องตุ๊กตา ถอดเสื้อผ้า ต่อก้อนไม้ 6 ชั้น พูดให้คนอื่นเข้าใจครึ่งหนึ่ง ชี้รูปตามคำบอก 4 รูป ชี้อวัยวะ 6 ส่วน บอกชื่อรูปได้ 1 รูป พูด 2 คำต่อกัน โยนบอล กระโดดอยู่กับที่ ร้องเพลงได้บางคำหรือร้องเพลงคลอตามทำนอง รู้จักรอให้ถึงรอบตนเองในการเล่นโดยมีผู้ใหญ่คอยบอก ต่อก้อนไม้ 8 ชั้น ยื่นวัตถุให้ผู้ทดสอบได้ 1 ชิ้น ตามคำสั่ง สนใจฟังนิทานได้นาน 5 นาที วางวัตถุไว้ ข้างบน และข้างใต้ ตามคำสั่งได้ พูดติดต่อกัน 2 คำขึ้นไปอย่างมีความหมายโดยใช้คำกริยาได้ถูกต้อง อย่างน้อย 4 กริยา กระโดดข้ามเชือกบนพื้นไปข้างหน้าได้ ขว้างลูกบอลขนาดเล็กได้โดยยกมือขึ้นเหนือศีรษะ

30 ผลการเปรียบเทียบระหว่าง
Denver II DSPM 42 m Screening ใส่เสื้อสวมศีรษะ บอกชื่อเพื่อน ล้างและเช็ดมือได้เอง ชูนิ้วห้วแม่มือ ต่อก้อนไม้ 8 ชั้น เลียนแบบวาดเส้นตั้ง พูดให้คนอื่นเข้าใจทั้งหมด รู้กริยา 4 อย่าง บอกประโยชน์วัตถุ 3 อย่าง บอกได้ 1 สี ยืนขาเดียวนาน 2 วินาที ใส่เสื้อผ่าหน้าได้เองโดยไม่ต้องติดกระดุม บอกเพศตนเองได้ถูกต้อง แยกรูปทรงเรขาคณิตได้ 3 แบบ ประกอบชิ้นส่วนรูปภาพที่ถูกตัดออกเป็น 3 ชิ้นได้ เขียนรูปวงกลมตามแบบได้ วางวัตถุไว้ข้างหน้าและข้างหลังได้ตามคำสั่ง เลือกจัดกลุ่มวัตถุตามประเภทเสื้อผ้าได้ พูดถึงเหตุการณ์ที่เพิ่งผ่านไปใหม่ๆได้ พูดขอหรือขอบคุณ หรือให้ได้เอง ยืนขาเดียวนาน 5 วินาที ใช้แขนรับลูกบอลได้

31 ./โรงพยาบาลจิตเวช

32 Poster คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

33 DVD คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
(DSPM) สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

34 อุปกรณ์สำหรับคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
42 เดือน 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน

35 ตารางเปรียบเทียบระหว่าง อนามัย 55 และ DSPM
ประเด็น อนามัย 55 DSPM อุปกรณ์ น้อยกว่า (9 รายการ) ลูกบอลไหมพรมแดง ก้อนไม้ 4 สี 10 ก้อน ลูกเทนนิส หรือลูกบอลขนาดเดียวกัน กระดาษเปล่า ดินสอ ถ้วยพลาสติก อาจมีเพิ่มจากการตรวจ Denver II ขวดใบเล็กปากแคบ ลูกเกด ตุ๊กตาพลาสติก ช้อน มากกว่า (20 รายการ) ลูกบอลผ้าสีแดง, กรุ๋งกริ๋ง, ตุ๊กตาผ้า, หนังสือรูปภาพ, ผ้าขนาด 30X30 ซม. มีรูตรงกลาง ลูกบอลยางบีบ,ก้อนไม้ 10 ก้อน วัตถุชิ้นเล็กยาว 2 ซม และ 1 ซม. ของเล่นตามประโยชน์ (ถ้วยน้ำ ช้อน หวี แปรงสีฟัน รถ) ,กล่องและเชือกลาก,ดินสอ สมุด ลูกบอลขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 ซม. รูปทรงเรขาคณิต,รูปภาพตัดออก 3 ชิ้น รูปภาพหญิงชาย, บัตรภาพ อาหาร สัตว์ เสื้อผ้า, กรรไกรปลายมน กระดาษขนาด 10 ซม.,รูปภาพตัดออก 8 ชิ้น,รูปภาพกลางวันกลางคืน หนังสือนิทาน

36 คู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง
Developmental Assessment for Intervention Manual (DAIM)

37 DVD คู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง (DAIM)

38 อุปกรณ์ประเมินพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง DAIM

39 ใส่ intervention ทันที
จับตัวให้ทัน ใส่ intervention ทันที ระบบติดตามดี เจ้าหน้าที่ได้บุญ นายแพทย์วัลลภ ไทยเหนือ ขอบคุณผู้ใหญ่ใจงาม

40 We are guilty of many errors and many faults,
HIS NAME IS ‘TODAY’ We are guilty of many errors and many faults, but our worse crime is abandoning the children, neglecting the fountain of life. Many things we need can wait. The child cannot. Right now is the time his bones are being formed, his blood is being made, and his senses are being developed. To him we cannot answer ‘Tomorrow’, His name is ‘TODAY’. Gabriela Mistral 1945 Nobel Prize Laureate ศิริกุล อิศรานุรักษ์


ดาวน์โหลด ppt โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 นพ. วัลลภ ไทยเหนือ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google