งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองกำลังพล กรมแพทย์ทหารบก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองกำลังพล กรมแพทย์ทหารบก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองกำลังพล กรมแพทย์ทหารบก

2 แนวความคิด การบรรจุแพทย์ใช้ทุน
จัดตามนโยบายปรับย้ายของ พบ. จัดตามลำดับความเร่งด่วนของหน่วยกำลังรบและหน่วยที่ปฏิบัติงานใน 3 จชต. การบริการทางการแพทย์ในระดับกองพล สิทธิกำลังพล

3 แนวทางการรับราชการ หลังสำเร็จการศึกษา

4 ปีที่ ๑ (ชาย)บรรจุในหน่วยกำลังรบและ(หญิง)บรรจุใน รพ. ทบ
ปีที่ ๑ (ชาย)บรรจุในหน่วยกำลังรบและ(หญิง)บรรจุใน รพ.ทบ. โดยมีคำสั่งให้ปฏิบัติงานใน รพ.ทบ. (เพิ่มพูนทักษะ) ปีที่ ๒-๓ (หญิง) มีการหมุนเวียนเปลี่ยนหน่วยบรรจุในส่วน รพ.ทบ. เพื่อเปิดตำแหน่งรับแพทย์ใช้ทุนปี 1 หลังปีที่ ๓ เข้าศึกษาต่อแพทย์ประจำบ้านต้องใช้เวลาเรียน ๓-๕ ปี หลังสำเร็จการศึกษาจะบรรจุให้ รพ.ทบ.ต่อไป ตามแผนการกระจายแพทย์เฉพาะทาง

5 การบริการแพทย์แบบเป็นพื้นที่
( Area Medical Service )

6

7

8

9

10

11 พัน.สร.กรม สน. พล.ร.15

12

13 พื้นที่กองทัพ ภาคที่ 1 พื้นที่กองทัพ ภาคที่ 2 รพ.พระมงกุฎเกล้า (1) รพ.อานันทมหิดล (1) รพ.มณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก 180 เตียง (1) 150 เตียง (1) 90 เตียง (1) 60 เตียง (4) 30 เตียง (1) หน่วยตรวจโรจ (14+5) กองพันเสนารักษ์ (4) หมวดเสนารักษ์/หมวดพยาบาล (93) ตอนเสนารักษ์/ตอนพยาบาล (22) หมู่เสนารักษ์ (34) รพ.ค่ายสุรนารี (1) รพ.มณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก (9) 150 เตียง (2) 60 เตียง (3) 30 เตียง (4) กองพันทหารเสนารักษ์/กองพันเสนารักษ์(3) หมวดเสนารักษ์/หมวดพยาบาล (43) ตอนเสนารักษ์/ตอนพยาบาล (11) หมู่เสนารักษ์ (14)

14 พื้นที่กองทัพ ภาคที่ 3 พื้นที่กองทัพ ภาคที่ 4 รพ.ค่ายสมเด็จพระนเรศวรฯ(1) รพ.มณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก(9) 150 เตียง (2) 90 เตียง (1) 60 เตียง (4) 30 เตียง (2) กองพันทหารเสนารักษ์/กองพันเสนารักษ์(3) หมวดเสนารักษ์/หมวดพยาบาล(29) ตอนเสนารักษ์/ตอนพยาบาล(13) หมู่เสนารักษ์(11) รพ.ค่ายวชิราวุธ (1) รพ.มณฑลทหารบก/จังหวัดทหารบก(5) 60 เตียง (4) 30 เตียง (1) กองพันเสนารักษ์(1) หมวดเสนารักษ์/หมวดพยาบาล (17) ตอนเสนารักษ์/ตอนพยาบาล(6) หมู่เสนารักษ์ (8)

15 แนวทางการรับราชการ ตามคุณวุฒิ

16 สายวิชาการ (วพม./รพ.รร.6)
สายบริหาร สายวิชาชีพ แพทย์ สาขาพิเศษ นิติเวชฯ, พยาธิ แพทย์ประจำ รพ. อจย (90 เตียง) หรือ รอง ผอ.รพ. อจย (30 เตียง) ผบ.มว.สร. (นพ.กองพัน ) หรือเทียบเท่า ผอ.รพ.อจย (30 เตียง) แพทย์เฉพาะทาง แพทย์เฉพาะทาง รพ.ทบ. สายวิชาการ (วพม./รพ.รร.6) ผศ. ร.ศ. ศ.,ศ.(clinic) ต่อยอด หลักสูตรชั้นนายพัน รร.เสธ.ทบ. ผบ.พัน.สร. หน.สาย super specialist หก.แพทย์เฉพาะทาง พญ.กองพล รอง ผอ.รพ. (90 เตียง ) ผบ.พัน.สร.บชร ผอ.รพ. (90เตียง) รอง พญ.กองทัพ รอง ผอ.รพ.(200 เตียง) ผอ.รพ. ( 200 เตียง ) ปริญญาโท (บริหาร) วทบ. รอง ผอ.รพ. (ผบ.หน่วยระดับ พล.ต.) ผอ.กองฯ

17 การเข้ารับการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน

18 แพทย์สังกัด ทบ. สาขาประเภทที่ ๑ และสาขาประเภทที่ ๒ ผู้สมัครจะต้องปฏิบัติงานชดใช้ทุนมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (รวมระยะเวลาในการเพิ่มพูนทักษะด้วย) ยกเว้น 1. สาขาศัลยกรรม, สาขาพยาธิกายวิภาคและสาขาสูติศาสตร์นรีเวชวิทยาสามารถเข้ารับการฝึกอบรมได้ทันทีเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะแล้ว 2. สาขาอายุรศาสตร์, สาขาวิสัญญีวิทยา และสาขาจิตเวชศาสตร์ สามารถเข้ารับการฝึกอบรมเมื่อผ่านโครงการเพิ่มพูนทักษะและปฏิบัติงานชดใช้ทุน ( รวมเป็น 2 ปี )

19 แพทย์สังกัด ทบ. สาขาประเภทที่ ๓ (ต่อยอด) เนื่องจาก พบ.ไม่รับเป็นต้นสังกัด หากแพทย์ประสงค์สมัครจะต้องอยู่ในเงื่อนไขที่ พบ.กำหนดไว้ ดังนี้ ๑. เป็นแพทย์ที่ได้รับวุฒิบัตรในสาขานั้นๆ มาแล้ว และปฏิบัติหน้าที่ในสาขาของตนเองใน รพ.ทบ.ที่กำหนดอย่างน้อย ๒ ปี ก่อนจะเข้าฝึกอบรมในสาขาต่อยอด ๒. ผู้สมัครได้รับอนุญาตจากหน่วยต้นสังกัดให้เข้าฝึกอบรม และเมื่อสำเร็จการฝึกอบรมแล้วอาจจะกลับไปปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งเดิมหรือตำแหน่งใหม่ที่เป็น รพ.ทบ.ขนาด ๑๕๐ เตียงขึ้นไป โดยมีหนังสือรับรองจากหน่วยต้นสังกัดอนุญาตให้เข้าฝึกอบรมและหนังสือรับรองจาก ผอ.รพ.ขนาด ๑๕๐ เตียงขึ้นไปที่มีความประสงค์รับบรรจุเมื่อสำเร็จการฝึกอบรม

20 คำถาม?


ดาวน์โหลด ppt กองกำลังพล กรมแพทย์ทหารบก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google