งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา

2 ความสำคัญและที่มา เกษตรกรมักเลี้ยงปลาในทะเลสาบสงขลา หรือบริเวณทะเลเปิดซึ่งเป็น บริเวณที่ไม่ไกลจากแหล่งบ้านเรือนของ เกษตรกรเอง ทำให้มีปัญหา ในด้านสิ่งแวดล้อม หรือแหล่งน้ำเสื่อมโทรม ตามมา เนื่องจากน้ำ บริเวณที่ตั้งกระชังมีการปนเปื้อน จากแหล่งชุมชนหรือโรงงานที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้ไม่สามารถควบคุมคุณภาพน้ำและ ผลผลิตของปลาได้

3 ความสำคัญและที่มา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเลี้ยง ปลาในความหนาแน่นสูงโดยใช้ระบบน้ำ หมุนเวียน ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ทั่ว โลกกำลังนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจาก เป็นการลดการใช้ที่ดินและการใช้น้ำ สำหรับการเลี้ยงปลา สามารถควบคุม คุณภาพสิ่งแวดล้อม และยังให้อัตราการ ผลิตที่สูงอีกด้วย

4 ความสำคัญและที่มา ในปัจจุบันปลาดุกทะเลเป็นปลาเศรษฐกิจที่ มีแนวโน้ม เป็นปลาที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ หากนำมา เลี้ยงในบ่อน้ำหมุนเวียน เป็นการเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้นและนำไป ส่งเสริม การเลี้ยงปลาดุกทะเลในเชิงการค้าแบบ ต้นทุนต่ำผลผลิตสูง ให้แก่เกษตรกรต่อไป

5 วัตถุประสงค์ ศึกษาการเจริญเติบโตของปลาดุกทะเลใน ระบบน้ำหมุนเวียน

6 วิธีการดำเนินการวิจัย 1. การศึกษาได้ดำเนินการโดยนำลูกปลาดุกทะเล ที่รวบรวมจากธรรมชาติ ประมาณ 5,000 ตัว มาเลี้ยงในถังทดลอง 2. โดยฝึกให้ลูกปลากินอาหารสำเร็จรูปปลาทะเล จึงคัดขนาดปลาดุกทะเลที่มีขนาดเท่ากันๆ เพื่อนำไปทดลอง 3. ทำการทดลอง 3 ทรีตเมนต์ๆ ละ 3 ซ้ำ ซึ่งแต่ ละทรีตเมนต์ประกอบด้วยถังทดลองเลี้ยง ขนาด 500 ลิตร

7 A3A1A2 ทราย + กรวด อวน อิฐ + เปลือกหอย ถังพักน้ำ 4. ติดตั้งระบบบำบัดน้ำหมุนเวียนของแต่ละทรีตเมนต์ วิธีการดำเนินการวิจัย

8 วิธีการดำเนินการวิจัย 5. แต่ละชุดการทดลองใช้อัตราความ หนาแน่นของปลาดุกทะเลเป็น A = 50 ตัวต่อถัง B = 75 ตัวต่อถัง C = 100 ตัวต่อถัง

9 วิธีการดำเนินการวิจัย 6. การให้อาหาร ใช้อาหารสำเร็จรูปปลา ทะเล ให้ปลากินจนอิ่ม วันละ สองครั้ง เช้าและบ่าย บันทึกปริมาณอาหาร 7. ศึกษาคุณภาพน้ำในถังที่เลี้ยงปลา และ ในชุดบำบัดน้ำหมุนเวียน โดยวัดอุณหภูมิ น้ำ ความเค็ม ความเป็นกรดด่าง ออกซิเจนละลาย 8. วิเคราะห์หาฟอสเฟต ไนไตรท์ ไนเตรท แอมโมเนียในน้ำ ตามการวิเคราะห์ คุณสมบัติน้ำของ Strickland and Parsons (1972)

10 สูตร น้ำหนักเพิ่ม (%) = ((W2 – W1) X 100) / W1 น้ำหนักเพิ่มต่อวัน ( กรัม / วัน ) = (W2 – W1) / T2-T1 อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะ (% ต่อวัน ) = ((ln W2 – ln W1) X 100) / T2-T1 อัตราการกินอาหาร (% ต่อวัน ) = ( น้ำหนักอาหารเฉลี่ยที่ปลากินต่อวัน X 100)/ (( น้ำหนักปลาเริ่มต้น + น้ำหนักปลาสุดท้าย )/2) อัตราแลกเนื้อ = น้ำหนักอาหารที่ปลากิน / น้ำหนักปลาที่ เพิ่มขึ้น โดย W2 = น้ำหนักเฉลี่ย ( กรัม ) เมื่อเวลาที่ สิ้นสุดการทดลองของแต่ละช่วง (T2) W1 = น้ำหนักเฉลี่ย ( กรัม ) เมื่อเวลาที่ เริ่มต้นของแต่ละช่วง (T1) วิธีการดำเนินการวิจัย

11 สูตร ประสิทธิภาพในการบำบัดสาร = (N1- N2)/N1*100 โดย N1= conc. ของสารที่ไหลเข้าสู่ระบบ N2= conc. ของสารที่ไหลออกจาก ระบบ วิธีการดำเนินการวิจัย

12 ผลการวิจัย เมื่อเลี้ยงปลาดุกทะเลครบ 150 วัน ชั่ง - วัดขนาดปลาทั้งหมด ได้ผลการทดลองดังนี้

13 ผลการวิจัย

14 ผลการวิจัย

15 ผลการวิจัย

16 ผลการวิจัย

17 หน่วย : น้ำหนักเพิ่มต่อวัน = กรัม / วัน, อัตราการกินอาหารและอัตรา การเจริญเติบโตจำเพาะ = % ต่อวัน ผลการวิจัย

18 ผลการวิจัย

19 ผลการวิจัย

20 ผลการวิจัย

21 ผลการวิจัย

22 สรุปผลการวิจัย การศึกษาครั้งนี้พบว่าระบบน้ำหมุนเวียนที่ ออกแบบนั้น มีประสิทธิภาพการบำบัดสำหรับการเลี้ยงปลา ดุกทะเล เพียง 50 ตัวต่อถัง 500 ลิตร หากต้องการเพิ่ม ผลผลิต ต้องออกแบบให้ระบบสามารถบำบัดได้สูงขึ้น


ดาวน์โหลด ppt การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google