งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 5/2559 วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 5/2559 วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 5/2559 วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย

2 ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 4/2559 2.1 รายงานการประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559 วันที่ 28 มิถุนายน 2559 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 3.1 ร่างแผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ 4.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่างแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ 4.2 การจัดทำแผนปฏิบัติการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 4.3 ความก้าวหน้าร่างยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2560-2569 ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ 2 ระเบียบวาระการประชุม

3 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 3 ระเบียบวาระที่ 1 ระเบียบวาระที่ 2 2.1 รับรองรายงานการประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559 วันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2559 สรุปการประชุมฯ 1. ที่ประชุมพิจารณาให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และ เป้าหมายรายประเด็นยุทธศาสตร์ 2. อธิบดี มอบกองแผนงานพิจารณาปรับกลยุทธ์/มาตรการตามข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม โดยประสานงานกับ Cluster ในประเด็นที่ต้องการ ความชัดเจน 3. การทำประชาพิจารณ์ไม่มีผู้แทนหน่วยงานสังกัดกรมอนามัยในการให้ความเห็น และควรเชิญเครือข่ายภาคประชาชนและภาคเอกชนเข้าร่วมการทำประชา พิจารณ์ ทั้งนี้ มอบ นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย เป็นผู้ ควบคุมกำกับ โดยกำหนดให้มีจำนวนผู้เข้าร่วมประชาพิจารณ์ 40-60 คน 4. การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 5/2559 ครั้งต่อไป คือ วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ซึ่งจะพิจารณาเฉพาะเรื่องแผนยุทธศาสตร์ส่งเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมฯ เท่านั้น

4 3.1 ร่างแผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) 4 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง

5 5 ความคืบหน้าแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ประชาชนสุขภาพดี ลดปัจจัยเสี่ยงและการเจ็บป่วยของคนไทย (HALE)

6 มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ประชุม คอก.และ คทง. นำเสนอ -กรอบความเชื่อมโยง ของแผน -กรอบแนวทางการ จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ฯ -แผนต่างๆ ที่มีอยู่ ภายในหน่วยงาน (29 มี.ค.59) 2 ประชุมผู้เกี่ยวข้อง (Working Group) หารือแนวทาง/วิธีการ/ เครื่องมือในการวิเคราะห์เพื่อจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ฯ (4 เม.ย.59) ชี้แจงกรอบแนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ในที่ประชุมกรมอนามัย เพื่อให้หน่วยงานเตรียมการ วางแผนรองรับ (11 เม.ย.59) 5 ประชุม คทง. ติดตามความคืบหน้า การจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ (12 เม.ย.59) 6 4 ประชุม คอก. และ คทง.ติดตาม ความก้าวหน้าและ พิจารณาให้ ความเห็นต่อ ข้อมูลในร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (24 พ.ค.59) 11 ประชุม คอก. และ คทง. ติดตาม ความก้าวหน้า และพิจารณาให้ ความเห็นต่อ ร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (21 มิ.ย.59) 13 ประชุม คทง. ติดตามความคืบหน้า การจัดทำร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ ประชุม คอก. ติดตาม ความคืบหน้าการ จัดทำร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ 15 17 ประชุม คอก. และ คทง.พิจารณาร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ (ฉบับสมบูรณ์) 20 16 ประชุม คทง. + Cluster พิจารณา ข้อเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ของ แต่ละ Cluster (22 เม.ย.59) 7 แต่งตั้งคณะจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ สส. และ อวล.กรม อนามัย พ.ศ.2560- 2564 (คำสั่งที่ 205/2559 ลว 4 มี.ค.59) ประชุม คอก. และ คทง.ติดตาม ความก้าวหน้าและ พิจารณาให้ความเห็น ต่อข้อมูลในร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (26 เม.ย.59) ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ จัดสัมมนาประชาพิจารณ์ ประกาศและสื่อสารแผน ยุทธศาสตร์ฯ หน่วยงานนำแผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ -ถ่ายทอดตัวชี้วัด -จัดทำ Action Plan -บริหารความเสี่ยงโครงการ สำคัญ 1 3 แต่งตั้งคณะจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบ สส. และ อวล. ตามแผนพัฒนา สุขภาพแห่งชาติฯ (คำสั่งที่ 345/2559 ลว 1 เม.ย.59) จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 8 9 10 12 14 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 18 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ (ฉบับสมบูรณ์) 19 21 22 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 6 ความคืบหน้า การจัดทำ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 อธิบดีอนุมัติแผนปฏิบัติการ และแผนการใช้จ่าย งบประมาณกรมอนามัย 23

7 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 1) อัตราส่วนมารดา ตายต่อการเกิดมีชีพ แสนคน ----ไม่เกิน 15 เป้าประสงค์ ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์: พัฒนาการบริการและการจัดการเพื่อการตั้งครรภ์คุณภาพ และมารดา มาตรการ 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังและจัดการความเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ และการคลอดอย่างมีคุณภาพ 2.พัฒนาระบบส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ในภาวะฉุกเฉินและการเตรียมความพร้อมด้านความรู้ ทักษะ บุคลากร และวัสดุ/เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ 3. พัฒนาความรู้ ทักษะ การเฝ้าระวังสุขภาพความเสี่ยงด้วยตนเองของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว 4. สร้างการมีส่วนร่วมชุมชน ท้องถิ่น ในการเฝ้าระวังความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์และการส่งต่อ 7

8 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 2) เด็กอายุ 0-5 ปี มี พัฒนาการสมวัย ---- ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริมบทบาทพ่อแม่หรือผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้องเหมาะสม มาตรการ 1.1 สร้างการรับรู้และความเข้าใจให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง เลี้ยงดูเด็กด้วยสมุดบันทึกสุขภาพเส้นทางเดินของชีวิต (Passport health of life) 1.2 พัฒนาสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก เป็นชุดความรู้ที่ น่าอ่าน น่าใช้ เข้าใจง่าย เข้าถึงง่าย สะดวกด้วยสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (Application) 1.3 ปกป้อง ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กไทยได้กินนมแม่ กลยุทธ์ที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการและกลไกในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มาตรการ 2.1 ขับเคลื่อนกลไกการบริหารจัดการผ่านคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติและคณะกรรมการส่งเสริม เด็กและเยาวชนแห่งชาติ 2.2 พัฒนาระบบการคัดกรองส่งเสริมพัฒนาการเด็กและการเข้าถึงระบบบริการอย่างครอบคลุมเท่าเทียม (DSPM/DAIM) 2.3 สนับสนุนให้เกิดการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาเด็กอย่างองค์รวม 2.4 ส่งเสริมพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กด้วยกระบวนการ กิน กอด เล่า เล่น นอน 8

9 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 : บูรณาการและสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กองค์รวม มาตรการ 3.1 สนับสนุนชุมชนท้องถิ่นจัดทำแผนระดับตำบลเพื่อการพัฒนาเด็กองค์รวมอย่างมีส่วน ร่วม รัฐ เอกชน ประชาสังคม 3.2 พัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 3.3 สนับสนุนให้ท้องถิ่นสร้างพื้นที่ต้นแบบ “ลานเล่นตามรอยพระยุคคลบาท” เพื่อการ พัฒนาเด็ก 3.4 สร้างระบบพี่เลี้ยง (Coaching) ในการกำกับ ติดตาม ช่วยเหลือการดำเนินงานของ ชุมชน ท้องถิ่น 9

10 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 3) เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดี สมส่วน ---- ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 และ ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ชาย=113 ซม. หญิง=112 ซม. 4) เด็กอายุ 3 ปีฟันไม่ผุ มากกว่าร้อยละ 53 เป้าประสงค์ ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 10

11 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ เป้าประสงค์ ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 11 กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและปราศจากฟันผุ มาตรการ 1.1 ผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายโภชนาการ 1,000 วันแรก และนโยบายดื่มนมแห่งชาติ 1.2 พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขทุกระดับในจัดบริการด้านโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างมี คุณภาพ 1.3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข และภาคีเครือข่าย ในการการส่งเสริมเด็กไทยสูงดีสมส่วนและการเฝ้า ระวังสุขภาพอนามัยช่องปาก 1.4 สร้างระบบพี่เลี้ยง (Coaching) ในการกำกับ ติดตาม ช่วยเหลือการดำเนินงานของชุมชน ท้องถิ่นพัฒนา กลยุทธ์ที่ 2 : สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและ ปราศจากฟันผุ มาตรการ 2.1 ส่งเสริมการสื่อสารสาธารณะและสร้างกระแสสังคมเพื่อส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (โภชนาการ กิจกรรมทางกาย การนอน สุขภาพฟัน) โดยผ่าน social marketing, social media และ national champion 2.2 สร้างทักษะการจัดอาหาร เฝ้าระวังทางโภชนาการและสุขภาพอนามัยช่องปากด้วยตนเองแก่พ่อแม่หรือ ผู้ปกครอง 2.3 สร้างระบบ กลไกและเร่งรัดการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยในช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชน 2.4 สร้างบทบาทครอบครัว ชุมชน อปท.และ อสม.ส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (โภชนาการ กิจกรรม ทางกาย การนอน) และการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 2.5 ศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และ ระบบและกลไกให้เกิดการทำงานวิจัยและสร้างนวัตกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากแม่และเด็กปฐมวัย

12 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 5) เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ย ตามเกณฑ์ ร้อยละ 65ร้อยละ 66ร้อยละ 67ร้อยละ 68ร้อยละ 69 (ส่วนสูงเฉลี่ย เด็กอายุ 14 ปี ชาย 166 ซม. หญิง 159 ซม.) 6) เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) มีสมรรถภาพ ทางกายระดับ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 72ร้อยละ 74ร้อยละ 76ร้อยละ 78 ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ 12

13 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน มาตรการ 1.1 ผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายระดับชาติ 1.2 ผลักดันให้ภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่มีแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างเป็นรูปธรรม 1.3 สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายประชารัฐและบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องในการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างเป็นระบบ 13 ตัวชี้วัดเป้าหมาย 6061626364 7) เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงค์ด้าน การบริโภคอาหาร สมรรถภาพ และทันต สุขภาพ ร้อยละ 45ร้อยละ 50ร้อยละ 55ร้อยละ 60ร้อยละ 80 เด็กวัยเรียนกินผักต่อมื้อตาม เกณฑ์ เด็กวัยเรียนสามารถแปรงฟัน ด้วยตนเองอย่างมีคุณภาพ เด็กวัยเรียนมีสมรรถภาพทาง กายผ่านเกณฑ์

14 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาองค์ความรู้และวิจัย มาตรการ 2.1 พัฒนาชุดความรู้การดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบองค์รวม (NuPETHS) 2.2 พัฒนางานวิจัยส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนที่มีคุณภาพ 2.3 ผลิต พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรู้และนวัตกรรม (Holistic Package) 2.4 พัฒนานักวิจัยหน้าใหม่ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเด็กวัยเรียน มาตรการ 3.1 พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนกระบวนการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 3.2 ขับเคลื่อนนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ด้านสุขภาพ 3.3 ผลักดันการจัดบริการสุขภาพนักเรียนตามประเภทและขอบเขตบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ ใน ระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2559 กลยุทธ์ที่ 4 สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและพัฒนาต่อยอดให้กลายเป็นการทำงานในลักษณะ ของ Partnership มากขึ้น มาตรการ 4.1 พัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการส่งเสริมสุขภาพ เน้นการมีส่วนร่วมเครือข่าย 14

15 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 5 สร้างการตลาดทางสังคมให้มากขึ้น มาตรการ 5.1 สร้าง Coach ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน 5.2 พัฒนารูปแบบผ่าน Game การแข่งขัน กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาระบบข้อมูลและติดตามประเมินผล มาตรการ 6.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างเป็นระบบ มีความเชื่อมโยงกับ service plan และเป็น ปัจจุบัน 6.2 ส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อนำมาพัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบองค์รวม 6.3 สร้างแรงจูงใจผู้ปฏิบัติงานส่งเสริม สุขภาพเด็กวัยเรียนอย่างต่อเนื่อง 6.4 กำกับ ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง 6.5 ประเมินผลการดำเนินงานแบบบูรณาการ 15

16 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 8) อัตราการคลอดมี ชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อ ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ----ไม่เกิน 34 9) อัตราการคลอดมี ชีพในหญิงอายุ 10-14 ปีต่อ ประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี พันคน ----ไม่เกิน 1.0 10) วัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และ อายุ 19 ปี มี ส่วนสูงเฉลี่ยตาม เกณฑ์ ----- สูงสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 - ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี ชาย เท่ากับ 174 ซม. และหญิง เท่ากับ 160 ซม. เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม 16

17 เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เร่งรัดการบริหารและขับเคลื่อนกฎหมาย มาตรการ 1.1 เร่งรัดให้กระทรวงที่เกี่ยวข้องออกกฎกระทรวง หรืออนุบัญญัติอื่นภายใต้ พรบ. การ ป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 1.2 ผลักดันให้ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2560-2569 ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 1.3 ผลักดันการบังคับใช้กฎหมายสู่การปฏิบัติตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 2 สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและพัฒนาต่อยอดให้กลายเป็นการ ทำงานในลักษณะของ Partnership มากขึ้น มาตรการ 2.1 แสวงหาและสร้างพันธมิตรร่วมดำเนินงาน 2.2 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพให้ภาคีเครือข่าย 2.3 กำหนดเป้าหมายการทำงานร่วมกัน 17 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น

18 เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) ให้มากขึ้น มาตรการ 3.1 ผลิตสื่อที่ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 3.2 เพิ่มช่องทางในการสื่อสารให้มีความหลากหลายและเหมาะสม กลยุทธ์ที่ 4 สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ ภายใต้ พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรการ 4.1 สนับสนุนการดำเนินงานโรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS) เพื่อการเข้าถึงบริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรทั้งเชิงรับและเชิงรุก 4.2 เร่งรัดการจัดบริการคุมกำเนิดด้วยเวชภัณฑ์คุมกำเนิดกึ่งถาวร 4.3 สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 4.4 พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ พรบ. การ ป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 18 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น

19 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 11) ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มี BMI ปกติ ร้อยละ 36.5 ร้อยละ 37 ร้อยละ 38 ร้อยละ 39 ร้อยละ 40 12) ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงค์ - การบริโภคอาหาร - การออกกำลัง กาย - การนอนหลับ --ร้อยละ 50 -ร้อยละ 60 เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี 19

20 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ของกลุ่มวัยทำงาน(National Health Policy & Strategy) มาตรการ 1.1 จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ เรื่อง Active living Healthy Eating and Environmental Health ในสถานที่ทำงาน ดำเนินงาน โดยบูรณาการให้เกิดความร่วมมือระหว่างกระทรวง และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 1.2 ผลักดันให้เกิดข้อตกลงหรือมาตรการทางสังคม หรือนโยบายระดับองค์กร ระดับท้องถิ่น และระดับประเทศ ในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ 1.3 สื่อสารนโยบายหรือถ่ายทอดสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง 1.4 ติดตามและประเมินผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กลยุทธ์ที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกระดับในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Health Leader) มาตรการ 2.1 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.2 พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมประชากรวัยทำงาน 2.3 สร้างแกนนำด้านสุขภาพ (Health Leader) ที่มีศักยภาพในสถานที่ทำงานและชุมชน 2.4 สนับสนุนบทบาทและศักยภาพแกนนำในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมประชากรวัย ทำงาน 20

21 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์ที่ 1.6 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และช่องทางสื่อสารกับประชาชนเพื่อส่งเสริม พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (Health Information & Social Media) มาตรการ 3.1 พัฒนาชุดข้อมูล ความรู้ ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมประชากรวัยทำงาน 3.2 พัฒนาและเชื่อมโยงการจัดเก็บข้อมูลกับฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3.3 พัฒนาเทคโนโลยีและช่องทางการสื่อสารข้อมูล ความรู้ สู่ประชาชน ที่เหมาะสมและทันสมัย กลยุทธ์ที่ 4 การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ (Preparing for Aging) มาตรการ 4.1 ส่งเสริมวัยทำงานอายุ 15-29 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เรื่อง อนามัยส่วนบุคคล ไม่ สูบบุหรี่ ไม่ดื่มสุรา 4.2 ส่งเสริมวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เรื่อง อาหาร ออกกำลังกาย การนอนหลับ 4.3 ส่งเสริมวัยทำงานอายุ 45-59 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ เรื่อง การดูแลสุขภาพช่อง ปาก วัยทอง มะเร็งเต้านม/ปากมดลูก 21

22 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 13) อายุคาดเฉลี่ย ของการมีสุขภาพดี (Health-Adjusted Life Expectancy : HALE) ----ไม่น้อยกว่า 69 ปี

23 23 กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เตรียมความพร้อมระบบสนับสนุนและคนในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Social มี ส่วนร่วมในสังคม) มาตรการ 1.1 ส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ โดยพัฒนาโรงเรียน ผู้สูงอายุแบบบูรณาการ 1.2 ส่งเสริมสนับสนุน Brain Bank ในทุกองค์กร 1.3 ส่งเสริมสนับสนุนการสื่อสารสาธารณะที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ และเข้าถึงได้ง่าย กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Strong : Healthy มีสุขภาพดี) มาตรการ 2.1 สร้างความรู้ ตระหนัก และทักษะในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ครอบครัว ชุมชน 2.2 พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและบริการการดูแลผู้สูงอายุใน ชุมชน 2.3 พัฒนาระบบ Intermediate Care ในชุมชน 2.4 สร้าง Ageing friendly Community ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

24 24 กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อผู้สูงอายุ สู่ความยั่งยืน (Secure) มาตรการ 3.1 พัฒนาระบบบริการสุขภาพและสังคม รวมทั้งระบบ Long Term Care 3.2 ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีที่อยู่อาศัยและ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม 3.3 พัฒนาระบบสวัสดิการแบบ ประชารัฐ “ชุดสิทธิประโยชน์ธรรมนูญชุมชน” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

25 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 14) ตำบลมีชุมชนที่ มีศักยภาพในการ จัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน --ร้อยละ 100 ของ ตำบล มีชุมชนที่มี ศักยภาพตาม เกณฑ์ฯ (7,255 ตำบล) -ร้อยละ 100 ของ ตำบลที่มีชุมชนที่มี ศักยภาพ ตามเกณฑ์ฯ แล้วเมื่อปี 2560- 2562 มีนวัตกรรม ชุมชนการจัดการ อวล.ชุมชน (7,255 ตำบล) เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่าง ยั่งยืน 25

26 เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เสริมสร้างการมีส่วนร่วมประชาชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรการ 1.1สร้างความตระหนักรู้ เท่าทันข้อมูล ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 1.2 สนับสนุนบทบาทและศักยภาพชุมชนในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับชุมชน 1.3 พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมทุกระดับ กลยุทธ์ที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินงานอนามัย สิ่งแวดล้อม ให้ได้มาตรฐานและตามที่กฎหมายกำหนด มาตรการ 2.1ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 2.2 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อปท.ในการแก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ (เช่น ขยะ และปฏิกูล พื้นที่เสี่ยงมลพิษ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่าง ยั่งยืน 26

27 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่าง ยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 ขับเคลื่อนกลไกการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข มาตรการ 3.1 สร้างความเข้มแข็งของกลไกระดับจังหวัดและอำเภอ 3.2 พัฒนากฎหมายระดับอนุบัญญัติและส่งเสริมการบังคับใช้ 3.3 พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานสาธารณสุขทุกระดับทั้งระดับภูมิภาคและท้องถิ่น 3.4 กำกับ ติดตาม การบังคับใช้กฎหมาย กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการบริหาร มาตรการ 4.1จัดทำข้อเสนอและผลักดันเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติดำเนินงานเพื่อการ ขับเคลื่อนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 4.2 พัฒนาวิชาการ องค์ความรู้ 4.3 พัฒนาชุดข้อมูล อวล. ระบบเฝ้าระวัง 4.4 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมร่วมกับสถาบันการศึกษาและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4.5 ติดตามและประเมินผลอย่างเป็นระบบ 27

28 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 15) ร้อยละของภาคี เครือข่ายภาครัฐที่นำ สินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้ และดำเนินการจนได้ มาตรฐานตามที่กำหนด ร้อยละ 80ร้อยละ 85ร้อยละ 90ร้อยละ 95ร้อยละ 100 16) ร้อยละความพึง พอใจของภาคีเครือข่าย ภาครัฐที่นำสินค้าและ บริการ (Product Champion) ของกรม อนามัยไปใช้ ร้อยละ 75ร้อยละ 80ร้อยละ 85ร้อยละ 90ร้อยละ 95 28 ภาคี เครือข่าย คือ กลุ่มเป้าหมายหลักที่ใช้ product champion (Cluster ต้องระบุผู้ที่ผลิต product champion ซึ่งเป็นผู้ที่ประเมินความพึงพอใจ) เป้าหมายความพึงพอใจ อ้างอิงจาก สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5 ระดับ คือ 65, 70, 75, 80 และ 85 ตามลำดับ โดยเริ่มเป้าหมายในปีแรกคือร้อยละ 75 และเพิ่มความท้าทายขึ้นในปีต่อไป เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายภาครัฐนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

29 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 เร่งรัดการสร้างหุ้นส่วน (Partnership) ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน มาตรการ 1.1 วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพและอนามัยตามแผนยุทธศาสตร์ 1.2 ออกแบบและวางแผนการประสานงาน สร้างการมีส่วนร่วมและความร่วมมือ กำกับดูแลและ ช่วยเหลือพันธมิตร 1.3 สร้างพันธสัญญา/ข้อตกลงในการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการของกรมอนามัย มาตรการ 2.1 จัดเวทีส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ 2.2 เร่งรัดให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการโดยใช้กระบวนงานหลักของกรมอนามัย (Core business Process) 2.3 ส่งเสริมการนำไปใช้โดยใช้กระบวนการสื่อสารเพื่อสังคม (Social Marketing) 2.4 สร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสมรรถนะของพันธมิตรผ่านระบบออนไลน์ ปรับมาตรการ : พัฒนาระบบบริหารและกลไกการบังคับใช้กฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 29 เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายภาครัฐนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปดำเนินการและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม

30 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายภาครัฐร่วมดำเนินการ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัยไปใช้อย่างเหมาะสม กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 3 สนับสนุน ส่งเสริม และสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ หุ้นส่วนการทำงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม (Partnership capacity building) มาตรการ 3.1 เสริมสร้างขีดความสามารถคนและระบบ โดยใช้ระบบการเรียนรู้แลกเปลี่ยน แบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ เพื่อพัฒนายกระดับมาตรฐาน 3.2 สร้างแนวคิดและมุมมองเชิงยุทธศาสตร์สุขภาพ/สาธารณสุข กับภาคีเครือข่ายในการมีส่วน ร่วมรับผิดชอบต่อสังคมด้านสุขภาพในทุกมิติ (Health in All Policies) 30

31 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 17) ระดับคะแนนเฉลี่ยของ คุณภาพงานวิจัยและ นวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ระดับ 5 (60 คะแนน) ระดับ 5.5 (70 คะแนน) ระดับ 6 (80 คะแนน) ระดับ 6.5 (90 คะแนน) ระดับ 7 (100 คะแนน) เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล 31 กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนองค์กรสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มาตรการ 1.1 สร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 1.2 สร้างและพัฒนานักจัดการความรู้ นักสื่อสารสุขภาพและนักวิจัย 1.3 เร่งรัดและผลักดันการพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรม 1.4 เร่งรัดให้เกิดคลังข้อมูล ความรู้ เทคโนโลยีและสารสนเทศของระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับการขับเคลื่อนการดำเนินงาน 1.5 พัฒนากลไกการกำกับ ติดตาม เฝ้าระวัง และประเมินผล 1.6 แสวงหาความรู้และแหล่งงบประมาณ ปรับเป้าหมาย ปรับจำนวนมาตรการ ให้เหลือ 3 มาตรการ

32 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 18) การผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA) 3 หมวด (สะสม) 5 หมวด (สะสม) 6 หมวด (สะสม) เข้มแข็ง 6 หมวด ได้รับการ รับรองตาม ระบบ PMQA ครบทุกหมวด จาก ก.พ.ร. เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (HPO) 32 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนองค์กรสู่การเป็นองค์กรคุณภาพ มาตรการ 1.1 เร่งรัดการดำเนินงานตามกระบวนการ PMQA 1.2 ยกระดับการบริหารและพัฒนากำลังคนของกรมอนามัย (วางแผน พัฒนา รักษา กำลังคน) 1.3 พัฒนากลไกการประเมินผลเพื่อยกระดับโดยเทียบเคียงกับองค์กรที่มีสมรรถนะสูง ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปรับมาตรการ : โดยใช้เกณฑ์ HPO, Core Business และ Value Based Health Care system

33 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 19) กรมอนามัยผ่าน เกณฑ์ประเมินระดับ คุณธรรมและความ โปร่งใสในการ ดำเนินงาน ตามระบบ ITA ของ ปปช. 81-85 คะแนน เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล 33 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล

34 กลยุทธ์และมาตรการ กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมและสนับสนุนการทำงานตามหลักธรรมาภิบาล มาตรการ 1.1 กำหนดนโยบายให้ทุกหน่วยงานพัฒนากระบวนการทำงานตามหลักธรรมาภิบาล 1.2 พัฒนามาตรฐานการบริหารงานตามเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน การดำเนินงานของกรมอนามัย 1.3 เร่งรัดและขับเคลื่อนสู่การเป็นองค์กรคุณธรรม 1.4 เร่งรัดและปรับปรุงกระบวนการบริหารการคลังและงบประมาณให้มีความถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ ปรับมาตรการ เหลือ 3 มาตรการ 34 เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล

35 ส่วนที่ 4 แนวทางการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

36 กลุ่มสนับสนุน (Cluster Scorecard) หน่วยงาน (Division Scorecard) หน่วยงาน (Division Scorecard) บุคคล (Individual Scorecard) บุคคล (Individual Scorecard) เป้าประสงค์ของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่และภารกิจ ของหน่วยงานที่สนับสนุน ต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ระดับ Cluster บทบาทหน้าที่และภารกิจ ในงานประจำของ หน่วยงาน งานที่ได้รับมอบหมายเป็น พิเศษ เป้าประสงค์ระดับบุคคล บทบาทหน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์ และตัวชี้วัดของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่งานของ บุคคล (Job Description) งานที่ได้รับมอบหมายเป็น พิเศษ กลไกการถ่ายทอด 6 Clusters และ 3 กลุ่ม สนับสนุน (Cluster Scorecard) 6 Clusters และ 3 กลุ่ม สนับสนุน (Cluster Scorecard) เป้าประสงค์ของ 6 Clusters และ 3 กลุ่มสนับสนุน บทบาทหน้าที่ของ Cluster และกลุ่ม สนับสนุน ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ระดับกรม งานที่ได้รับมอบหมาย เป็นพิเศษ กรมอนามัย (Department Scorecard) กรมอนามัย (Department Scorecard) เป้าประสงค์ของกรม นโยบายระดับชาติ ระดับ กระทรวง ระดับกรม ภารกิจ และพันธกิจตาม กฎหมาย  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง กรมกับกระทรวง  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง Cluster กับกรม  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง หน่วยงานกับ Cluster  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำใบมอบหมายงาน ระหว่างหกลุ่มงาน/บุคคล กับหน่วยงาน  ประเมินผลการปฏิบัติงาน กรอบแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมอนามัยสู่ระดับ Cluster ระดับ หน่วยงานและระดับบุคคล

37 การติดตามและประเมินผล กรมอนามัย การติดตาม (Monitoring) การประเมินผล (Evaluation) การรายงาน การประชุม การตรวจราชการ และนิเทศงาน e-report -DOC -Data Center -GFMIS Manual โครงการ ตามที่ กำหนด ระดับ กระทรวง - KPI กระทรวง ระดับกรม -KPI กรม -โครงการ สำคัญ -การใช้จ่าย งบประมาณ รายเดือน รายไตรมาสรายสัปดาห์2 ครั้ง/ปี ประชุม ติดตาม ผลรอบ 6 และ 12 เดือน -ประชุมรอง อธิบดี -ประชุม หน่วยงาน ส่วนกลาง -ประชุมกรม อนามัย -ประชุม ผู้ทรงคุณวุฒิ /ผู้เชี่ยวชาญ -ประชุม ยุทธศาสตร์ 2 ครั้ง/ปี ประเมิน ประจำปี ประเมิน ระยะกลาง แผน ประเมิน ระยะสิ้นสุด แผน ศึกษาวิจัย สำรวจ จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประเมินความ พึงพอใจ ประเมินโครงการ ตามที่กำหนด ประเมินโดย ตนเอง หน่วยงานภายนอก ตามความเหมาะสม ของงาน ประเมินแผน ยุทธศาสตร์ ส่วนที่ 5 แนวทางการ ติดตามและประเมินผล

38 38 4.1 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเรียนเรียนรู้ ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ

39 39 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเรียนเรียนรู้ ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) 1.เป็นการแลกเปลี่ยนในรูปแบบของการเปิดอภิปรายแบบไม่ลงมติ 2.ผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณ 65 คน ประกอบด้วย  อธิบดีและรองอธิบดีกรมอนามัย (5)  ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ/UNFPA/ม.มหิดล/ศสช. /กรมควบคุมมลพิษ/ กรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น/กรมกิจการเด็กและเยาวชน/กรมกิจการสตรีและ สถาบันครอบครัว/กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน/มูลนิธิสร้างความเข้าใจ เรื่องสุขภาพผู้หญิงสภาการศึกษา/กระทรวง ศธ. (12)  หัวหน้าผู้ตรวจราชการ/ผู้ตรวจราชการ เขต 7/สช./สสส. /สวรส./สนย.สป./กรม พ./กรม คร./กรม สบส. /กรม จ./ศอ.1/ศอ.5/ศอ.7/ศอ.11 (14)  สสจ.กาญ/สสจ.สุราษฎร์/รพ.สต.นาราก โคราช/รพ.สต.บ้านเปี๊ยะเนิน นครศรีฯ/ รพ.สต.ยี่สาร สมุทรสงคราม/สสอ.พาน เชียงราย/สสอ.เมืองยโสธร/สสอ.สวี ชุมพร/สสอ.สองพี่น้อง สุพรรณบุรี/เทศบาลเมืองกระทู้ จ.ภูเก็ต/นายกสมาคม วางแผนครอบครัวฯ/นายกสมาคมหมออนามัย จ.น่าน/อบจ.สุพรรณบุรี/เทศบาล ต.นางัว อุดรฯ/เทศบาล ต.วังดิน ลำพูน (15)  คณะทำงาน (17) รูปแบบ วันที่และสถานที่ 27-28 กรกฎาคม 2559 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี

40 40 กำหนดการ วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 15.00-17.00 น.  ลงทะเบียนและรับเอกสาร  ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 08.30 – 09.00 น.  พิธีเปิดการประชุมฯ โดย อธิบดีกรมอนามัย (นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์) : ประธานเปิดการประชุมฯ รองอธิบดีกรมอนามัย (นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์) : กล่าวรายงาน 09.00 – 09.30 น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์และนำเสนอ (ร่าง ) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) โดย รองอธิบดีกรมอนามัย (นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์) 09.30 – 09.45 น.  ชี้แจงข้อตกลงในการประชุม โดย ผู้อำนวยการกองแผนงาน กรมอนามัย (นายสืบพงษ์ ไชยพรรค) 09.45 – 11.00 น.  แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ โดย รองอธิบดีกรมอนามัย (นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์): ผู้ดำเนินการอภิปราย 11.00 – 12.00 น.  บทบาทภาคประชาชนต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมอนามัย โดย นายพงษ์ศักดิ์ ฉิ่งสุวรรณโรจน์ คลังสมองภาคประชาชน เขตสุขภาพที่ 11 12.00 – 13.00 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 16.00 น.  แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ (ต่อ) โดย รองอธิบดีกรมอนามัย (นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์): ผู้ดำเนินการอภิปราย 16.00 – 17.00 น.  อภิปราย ให้ข้อเสนอแนะ สรุปผลการประชุม และปิดการประชุมฯ

41 ผังการจัดห้องประชุม 28 กรกฎาคม 2559 กล่าว รายงาน จอภาพ ประธาน เดินไมค์ / ประสานงาน ทีมเลขา โซฟา 41 Note Taker

42 42 ข้อตกลงร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 1.การประชาพิจารณ์ครั้งนี้ เป็นเวทีรับฟังความคิดเห็น ดังนั้นประสงค์จะให้ ทุกท่านได้แลกเปลี่ยนอย่างเต็มที่โดยไม่มีการลงมติ 2. ทุกๆความคิดเห็นจะถูกบันทึกไว้ โดยไม่มีถูกหรือผิด เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์ โดยคณะกรรมการยกร่างฯ ก่อนนำเสนอต่อผู้มีอำนาจในการให้ความเห็นชอบในลำดับต่อไป 3. ในการให้ความคิดเห็นทุกครั้ง โปรดแนะนำชื่อ และหน่วยงาน เพื่อความถูกต้อง ในการจดบันทึก โดยท่านมีเวลา 3 นาที ในการแสดงความคิดเห็นแต่ละรอบ ***สำหรับความคิดเห็นเพิ่มเติม โปรดระบุในแบบแสดงความคิดเห็น***

43 43 4.2 การจัดทำแผนปฏิบัติการกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 4.3 ความก้าวหน้าร่างยุทธศาสตร์การป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2560-2569 ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ


ดาวน์โหลด ppt 1 การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 5/2559 วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google