งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาโปรแกรมสืบค้น สื่อภาพยนตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ณัฐชาพงษ์ รักสกุล กานต์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาโปรแกรมสืบค้น สื่อภาพยนตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ณัฐชาพงษ์ รักสกุล กานต์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาโปรแกรมสืบค้น สื่อภาพยนตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ณัฐชาพงษ์ รักสกุล กานต์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2 ความสำคัญของปัญหา / ที่มาของการวิจัย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดหา CD / พัฒนา คอลเลคชันภาพยนตร์ และพัฒนาฐานข้อมูลภาพยนตร์ ดีเด่นขึ้น บนโปรแกรม Elib โปรแกรม Elib และโปรแกรมห้องสมุด ( เช่น Horizon, Innopac ฯลฯ ) ใช้สืบค้นภาพยนตร์ไม่สะดวก แสดง ข้อมูลภาพปกได้ไม่ดี สืบค้นข้อมูลประเภทภาพยนตร์ รางวัล ผู้กำกับ นักแสดง ฯลฯ ได้จำกัด

3 ความสำคัญของปัญหา / ที่มา ของการวิจัย ( ต่อ ) โปรแกรม Elib

4 ความสำคัญของปัญหา / ที่มา ของการวิจัย ( ต่อ ) โปรแกรม Horizon

5 ความสำคัญของปัญหา / ที่มา ของการวิจัย ( ต่อ ) โปรแกรม Horizon

6 ความสำคัญของปัญหา / ที่มา ของการวิจัย ( ต่อ ) โปรแกรม INNOPAC

7 ความสำคัญของปัญหา / ที่มา ของการวิจัย ( ต่อ ) โปรแกรม Magic Library

8 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมขนาดเล็กสำหรับ สืบค้นสารสนเทศภาพยนตร์ ขอบเขต / ข้อจำกัดของการ วิจัย 1. พัฒนาโปรแกรมส่วนสืบค้น (OPAC) ไม่รวม ส่วนบันทึก, ยืมคืน 2. ประเมินการออกแบบ User interface และระบบ สืบค้น ไม่ได้ประเมินเนื้อหาข้อมูลใน ฐานข้อมูล

9 วิธีดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาข้อมูล - สภาพฐานข้อมูลแม่โจ้ - ฐานข้อมูลสื่อโสตทัศน์ในห้องสมุดอื่น - ฐานข้อมูลภาพยนตร์ใน Internet โดยเฉพาะ IMDb.com

10 วิธีดำเนินการวิจัย ( ต่อ ) 2. การพัฒนาโปรแกรม ใช้หลักวงจรการพัฒนาระบบ หรือ SDLC (system development life cycle)

11 วิธีดำเนินการวิจัย ( ต่อ ) index.php search.php detail.php

12 วิธีดำเนินการวิจัย ( ต่อ ) พัฒนาด้วยภาษา PHP ติดต่อกับฐานข้อมูลระบบ Elib 1. index.php แสดงข้อมูลหลัก เมนูค้นต่างๆ 2. search.php แสดงข้อมูลสืบค้นแบบ word search เช่น ค้นตามชื่อภาพยนตร์ หรือข้อมูลสืบค้น แบบ directory search เช่น ประเภทภาพยนตร์ 3. detail.php แสดงข้อมูลรายการภาพยนตร์, ชื่อผู้ กำกับ, รายชื่อนักแสดง, เรื่องย่อ, ข้อมูลแบบ MARC, ตัวอย่างหนัง

13 วิธีดำเนินการวิจัย ( ต่อ ) http://www.library.mju.ac.th/ film/index.php

14 index.ph p

15

16

17 search.php

18

19 detail.php

20

21 วิธีดำเนินการวิจัย ( ต่อ ) 3. ประเมินผลการพัฒนาโปรแกรม ส่วนที่ 1 การประเมินตาม specifications. ( โดย บรรณารักษ์ที่ใช้งาน ) ส่วนที่ 2 การประเมินตามความพึงพอใจของผู้ ทดลองใช้โปรแกรม 4. การปรับปรุงโปรแกรม นำข้อเสนอแนะของผู้ทดลองใช้ไปปรับปรุง

22 สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 1 การประเมินตามคุณลักษณะ ( specifications ) - ประเมินด้านข้อมูล 8 ข้อ ( รองรับ ) - ประเมินด้านการออกแบบกราฟิก 7 ข้อ ( รองรับ ) - ประเมินด้านการสืบค้นและข้อมูลภาพยนตร์ 7 ข้อ ( รองรับ ) ( โดยบรรณารักษ์แม่โจ้ที่ใช้งาน โปรแกรม )

23 ตัวอย่างการ ประเมินตาม คุณลักษณะ

24 สรุปผลการวิจัย ( ต่อ ) ส่วนที่ 2 - ประเมินด้านการออกแบบกราฟิก 5 ข้อ - ประเมินด้านการสืบค้นและข้อมูลภาพยนตร์ 11 ข้อ โดยกลุ่มผู้ประเมิน 18 คน ( บรรณารักษ์, นักวิชาการคอมพิวเตอร์, นักวิชาการโสตทัศน ศึกษา, นักเอกสารสนเทศ และนักศึกษา )

25 - ประเมินด้านการออกแบบกราฟิก รายการประเมิน ค่าเฉลี่ ย ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน แปล ผล 1. การจัดหน้า / องค์ประกอบใน จอภาพ 3.890.68 มาก 2. ความสะดวกในการเรียกใช้เมนู, ปุ่มคำสั่ง 3.890.47 มาก 3. การใช้สี 3.610.78 มาก 4. การใช้ภาพและกราฟิก 3.720.89 มาก 5. การใช้ตัวอักษรและข้อความ 3.940.73 มาก สรุป 3.810.71 มาก

26 - ประเมินด้านการสืบค้นและข้อมูลภาพยนตร์ รายการประเมิน ค่าเฉ ลี่ย ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน แปล ผล 1. ความรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูล 3.610.78 มาก 2. ลำดับขั้นตอนการสืบค้นและใช้งาน 3.940.73 มาก 3. ข้อมูลที่แสดง กรณีข้อมูลข้อความ 3.890.68 มาก 4. ข้อมูลที่แสดง กรณีข้อมูลภาพและ มัลติมีเดีย 3.940.87 มาก 5. ความสมบูรณ์ของข้อมูล ( เช่น ชื่อ เรื่อง ผู้กำกับ ฯลฯ ) 4.170.79 มาก 6. การนำเสนอกลุ่มภาพยนตร์ที่ น่าสนใจ เช่น Top Movie 4.170.86 มาก

27 - ประเมินด้านการสืบค้นและ ข้อมูลภาพยนตร์ ( ต่อ ) รายการประเมิน ค่าเฉ ลี่ย ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน แปล ผล 7. ช่องทางการสืบค้น 3.930.71 มาก 8. การเรียงข้อมูล ( มีเรียงลำดับ, ลำดับระเบียน ฯลฯ ) 3.940.64 มาก 9. การสืบค้นต่อเนื่อง ( เช่น สืบค้น ต่อเนื่องชื่อนักแสดง ) 3.940.54 มาก 10. การเชื่อมโยงข้อมูลอื่น ( เช่น ชีวประวัติใน IMDB.com) 4.060.64 มาก 11. การสืบค้นห้องสมุดอื่นๆ ใน เครือข่ายความร่วมมือ 3.890.76 มาก สรุป 3.940.72 มาก

28

29 ข้อเสนอแนะ การปรับปรุงโปรแกรมให้ใช้กับอุปกรณ์ พกพา การปรับปรุงวิธีสืบค้นให้แสดงผลเร็วขึ้น การนำแนวคิดการออกแบบนี้ไปใช้กับ โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อให้ เหมาะสมกับสื่อโสตทัศน์ การพัฒนาโปรแกรมสืบค้นสื่อโสตทัศน์ ประเภทอื่น

30 การใช้ประโยชน์ โปรแกรม OPAC สื่อภาพยนตร์ + ฐานภาพยนตร์ ดีเด่น ใช้ประกอบการเรียนการสอน การศึกษาตาม อัธยาศัย บริการฐานข้อมูลภาพยนตร์ แก่ผู้สนใจในวงกว้าง เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด ( ฐานกลาง, UC สหบรรณานุกรม ) เครือข่ายด้านภาพยนตร์ศึกษา

31 Q & A

32 ฝากประชาสัมพันธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จะจัดอบรมการใช้ประโยชน์ จากฐานข้อมูลภาพยนตร์ดีเด่น 13,000 ชื่อเรื่อง ประมาณ เมษายน 2559 ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1 วัน ค่าอบรม ฟรี, จำนวน 20 ท่าน สนใจติดต่อ 085-0369237 ( สุธรรม ) utham_uma@hotmail.com


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาโปรแกรมสืบค้น สื่อภาพยนตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ณัฐชาพงษ์ รักสกุล กานต์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google