งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รศ. ดร. กาญจนา แก้วเทพ สถาบันคลังสมองของชาติ วันที่ 8-9 มิถุนายน 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รศ. ดร. กาญจนา แก้วเทพ สถาบันคลังสมองของชาติ วันที่ 8-9 มิถุนายน 2559."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รศ. ดร. กาญจนา แก้วเทพ สถาบันคลังสมองของชาติ วันที่ 8-9 มิถุนายน 2559

2  ประกาศ กพอ. ฉบับที่9 พ.ศ. 2556  คุณลักษณะ ของ SeS เกณฑ์มาตรฐาน บริการสังคม  การโยกทุนเดิม มาใช้ (Parallel)  เป้าหมายของการ พัฒนาบทความ ฐานคิด Position  Before-Treatment-After  เกณฑ์มาตรฐาน วิชาการ  2 DNA Major attribute Model การคืน ข้อมูล การสำรวจ ทุนชุมชน กิจกรรม วิจัย กิจกรรม เสริม PAR

3 3 รูปแบบการนำเสนอผลงานฯ จะต้องจัดทำเป็นเอกสาร โดยมีคำอธิบาย/ชี้แจงโดยชัดเจน ในหัวข้อต่างๆ ดังนี้ 1.สภาพการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 2.การมีส่วนร่วมและการยอมรับของสังคมเป้าหมาย 3.กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น 4.ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้การทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น 5.การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมาหลังจากการเปลี่ยนแปลงได้ เกิดขึ้นแล้ว 6.การประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 7.แนวทางการติดตามและธำรงรักษาพัฒนาการที่เกิดขึ้นให้คง อยู่ต่อไป ประกาศ กพอ. ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2556

4 การมีส่วนร่วม (PAR) Pre/ Before Post/ After        กระบวนการที่ใช้ (PAR) ความรู้ที่ใช้ Change ประเมิน Change คาดการณ์Change ความยั่งยืน 4

5 DNA SeS การร่างเกณฑ์ พิจารณางานเขียน การร่างเกณฑ์ สองมาตรฐาน มาตรฐาน ทางวิชาการ มาตรฐาน บริการสังคม DNA A4S DNA CBR สร้างความรู้ใหม่ แก้ปัญหา เชิงวิชาการ แก้ปัญหา ชุมชน ฝึก/ สร้างนักวิจัย ชาวบ้าน เพื่อ/ โดย/ ของ วิจัยเพื่อ วิชาการ วิจัยเพื่อ ท้องถิ่น Basic Research Applied Translational Utilization PAR Collaborative CBR SeS Positioning ของ SeS นวัตกรรม วัดพิกัด/ ตำแหน่ง ตรวจ DNA 5

6 9 ขั้นตอนของกระบวนการวิจัยเชิงวิชาการ (A4S) ความอยากรู้ เชิงวิชาการ เอ๊ะ แนวคิด/ทฤษฎี งานวิจัยที่เคยมี ปัญหานำการวิจัย (ตัวแปร) สร้างกรอบแนวคิด นิยามศัพท์ปฏิบัติการ การออกแบบ ประเภทข้อมูล เลือกแบบการวิจัย กระบวนการสร้าง เครื่องมือ นำเครื่องมือ ไปเก็บรวบรวม นำเครื่องมือ ไปเก็บรวบรวม วิเคราะห์/ สังเคราะห์          6

7 ยืดหยุ่น (Flexibility) การออกแบบวิจัย การทำ ความเข้าใจร่วม การทำ ความเข้าใจร่วม การใช้ประโยชน์จากข้อมูล การพัฒนา โจทย์วิจัย การพัฒนา โจทย์วิจัย การถอด/ สรุป บทเรียน การถอด/ สรุป บทเรียน แสวงหาตัวนักวิจัย การจัดข้อมูล  กิจกรรม เสริม ประเภท ของ งานวิจัย ประเด็น ของ งานวิจัย สาขาวิชาการ ของงานวิจัย       (ก)(ก) (ข)(ข) (ค)(ค) ฐานคิด/ วิธีคิด หลักการ โจทย์ต้องมาจาก ชุมชน การมีส่วนร่วม คิดกิจกรรมบน ฐานข้อมูล (วัดตัว  ตัดเสื้อ) ก่อนทำ  ต้อง คิด คิดแล้ว  ทำได้ ลักษณะ/ ธรรมชาติ แบบสองด้าน (ทวิลักษณ์) มีกรอบ (Frame) ความ ยืดหยุ่น สลับ ขั้นตอนได้ ผ่านแต่ละขั้นตอนได้หลายครั้ง/ กลับไปกลับมา บางขั้นตอนอาจ ยุบยวบ อาจมีขั้นย่อยแทรกตามความ จำเป็น (4) (3) (2) (1) ขั้นตอนการวิจัยแบบ CBR 7

8 เอ๊ะ       หลักการ โจทย์วิจัยต้องมาจาก ชุมชน การมีส่วนร่วม เน้นการสร้างความเข้าใจ ร่วม/ เสวนา จัดกิจกรรมเสริมตาม ความจำเป็น คิดกิจกรรมบนฐานข้อมูล ก่อนทำ – ต้องคิด คิดแล้ว-ต้องทำได้ DNA ของ SeS ปัญหา ชุมชน ปัญหา วิชากา ร Review Literature เวทีเสวนา ชุมชน  โจทย์การวิจัย แสวงหาทีมวิจัย ตัวแปร สร้างกรอบแนวคิด นิยามศัพท์ ปฏิบัติการ การออกแบบการ วิจัย จัดการข้อมูล วิเคราะห์/ สังเคราะห์ สร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูล ใช้ประโยชน์จากข้อมูล คิดกิจกรรม วัดผลการเปลี่ยนแปลง Output/ Outcome/ Impact ถอดบทเรียน ดูความยั่งยืน    Frame Flexible Duality of Process 8

9 คุณลักษณะ งานวิจัย SeS  Collaborative Research  Problem-based Participation Co-creation of New knowledge  Research design Social experiment Pre Sustainability Treatment (Action) Impact  Solution-based โจทย์ชุมชน ช่องว่างวิชาการ +  วิธีวิจัย Participation Action Research PAR Problem Post Change  Change outcome output ทำได้ทุกสาขาวิชา/ บูรณาการ Inter-disciplinary based-on research Action   9

10 10 เป้าหมาย การพัฒนา บทความ SeS (Sender) (1) ขอตำแหน่งทางวิชาการ (2) เผยแพร่ความรู้ใหม่ต่อวงวิชาการ (3) แลกเปลี่ยนกับเพื่อนนักวิชาการ (4) เผยแพร่ความสำเร็จของ ชุมชนที่ศึกษา (5) เป็นต้นแบบไปประยุกต์ใช้ที่อื่น (6) เป็นบทเรียนแก่หน่วยงานสนับสนุน (7) สร้างความชัดเจนแก่ตัวเอง (self-clarification) etc. Message Selection + design Receiver Media Selection

11 ชุมชน วิชาการ (กระบวนการทางวิชาการ) pre สำรวจ ชุมชน ความรู้  Participation + การสร้าง Trust/การยอมรับ  ความรู้ที่ใช้ สาขา แหล่งที่มา วิชาการ การมีส่วนร่วม (กระบวนการทางสังคม) ภาคปฏิบัติ ช่องว่างทางวิชาการ ก้อย (ปัญหา) หัว (ทุนชุมชน) วิธีวิจัย กิจกรรม  pre Output Outcome Impact Sustainability post  treatment  คาดการณ์ Change  การประเมิน ผลที่เกิด  ความยั่งยืน 11

12 แปลงทุน 2 ด้านของการสำรวจชุมชน (Duality of Community Analysis) ด้านหัวปัญหา ชุมชน ด้านก้อย ทุนชุมชน (P.Bourdieu)(1) ทุนเศรษฐกิจ (2) ทุนวัฒนธรรม/ ทุนความรู้ (3) ทุนสัญลักษณ์ (4) ทุนสังคม (5) ประสบการณ์ ในอดีต Objectify Institution Embodied ทรัพยากร 12

13 13 ปัณณ์ณัช ธนัทพรรษรัตน์. “การออกแบบ ผลิตภัณฑ์แบบมีส่วนร่วม” วารสารวิจัยเพื่อการ พัฒนาพื้นที่ ปีที่ 7: 3 (ก.ค.-ก.ย. 2558).สกว.           11

14 14 ธเนศวร นวลใย “การพัฒนาเจลอาบน้ำฯ” วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่ ปีที่ 8: 1 (ม.ค.-มี.ค. 2559) สกว.

15 15 วรงศ์ นัยวินิจ“กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันฯ. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่ ปีที่ 7:1 (ม.ค.-มี.ค. 2558) สกว.

16 ลักษณะการ ดำเนินงาน แบบเดิมแบบใหม่ ขั้นตอนการ รับเหมา ก่อสร้าง ทีมช่างต่างคน ต่างรับงานใช้ ประสบการณ์ใน อดีตเป็นตัว กำหนดการถอด แบบตีราคา เกี่ยวกับค่าแรง ค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินงานตลอด โครงการทำ สัญญาการรับเงิน ค่างวด 3-5 งวด  การรับงานจะรับในนามของ “กลุ่มธุรกิจช่างชุมชนบางบัว”  มีคณะกรรมการจะจัดลำดับการรับงานให้แก่ผู้รับเหมาแต่ละทีมหมุนเวียนกันไปตามความถนัดและ ความเชี่ยวชาญ  ให้ผู้รับเหมาทำการถอดแบบราคาโดยมีวิศวกรผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้เซ็นรับรองแบบ การก่อสร้างของ ลูกค้าแต่ละราย หรือบางครั้งผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้หาวิศวกรเซ็นรับรองแบบเองก็ได้ หลังจากนั้นกลุ่มธุรกิจ ช่างชุมชนบางบัวจะเป็นผู้นำข้อมูลรายละเอียดงานและราคาไปเสนอให้ลูกค้า  เซ็นสัญญาการก่อสร้างโดยแบ่งการจ่ายเงินเป็นงวด ๆ ถ้าเป็นงานชิ้นเล็กประมาณ 3 งวด งานชิ้น ใหญ่ประมาณ 5 งวด โดยมีวิธีการกำหนดหลักเกณฑ์การคำนวณราคาการให้บริการรับเหมาก่อสร้าง จาก ราคาวัสดุอุปกรณ์จากแบบแปลนและสิ่งที่ลูกค้าต้องการ  การคำนวณค่าแรงจะคำนวณจากค่าแรงที่ต้องจ่ายในการก่อสร้างตลอดโครงการ ค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินการทั้งหมดตลอดโครงการทำให้ได้ หลักเกณฑ์การคำนวณราคารับเหมาก่อสร้างของกลุ่ม ธุรกิจช่างชุมชนบางบัวที่ต้องคำนึงถึงต้นทุนคงที่ทั้งส่วนที่เป็นต้นทุนคงที่ที่เป็นตัวเงินและต้นทุน คงที่ที่ไม่เป็นตัวเงิน  เมื่อผู้ว่าจ้างตกลงเซ็นทำสัญญาการก่อสร้างกลุ่มธุรกิจช่างชุมชนบางบัวดำเนินการเบิกเงินล่วงหน้า  งวดที่ 1 จำนวน 30 % เพื่อดำเนินการวางฐานราก ลงเสาเข็มจนเสร็จสิ้น  งวดที่ 2 จำนวน 20 % เพื่อเทพื้นคานอาคารมุงหลังคา  งวดที่ 3 จำนวน 30 %เพื่อก่ออาคารก่อผนัง งานฉาบอาคาร  งวดที่ 4 จำนวน 10% เพื่อติดตั้งประตู หน้าต่างทาสี ไฟฟ้า ประปา  งวดที่ 5 จำนวน 5 % เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเก็บรายละเอียดของงาน และที่เหลืออีก 5% ผู้ว่าจ้างจะหักไว้เป็นเงินประกันผลงานเพื่อเป็นหลักประกันสำหรับค่าใช้จ่ายที่ อาจเกิดขึ้นจากความผิดพลาดหรือบกพร่องจากการก่อสร้างเข้ากองกลางของกลุ่มธุรกิจช่างชุมชน บางบัวไว้เพื่อนำไปบริหารจัดการต่อไป  สรุปการดำเนินการก่อสร้างในแต่ละส่วนของโครงสร้างตามงวดของงานที่นำเสนอความก้าวหน้าเพื่อ ประกอบการเบิกเงินในแต่ละงวดตามสัญญา มีการเซ็นสัญญาส่งมอบงาน  นำเอกสารเกี่ยวกับต้นทุนการก่อสร้าง รายได้ ค่าใช้จ่ายในแต่ละโครงการไปจัดเก็บเข้าแฟ้มเอกสาร เพื่อบันทึกบัญชีและทำการสรุปผลต้นทุนการก่อสร้างในแต่ละโครงการว่าได้กำไร ขาดทุน มากน้อย เพียงไรเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานในการนำไปวิเคราะห์ ปรับปรุง แก้ไขการคำนวณต้นทุนคำนวณกำไร การรับงานก่อสร้างครั้งต่อไ ป ตารางเปรียบเทียบวิธีปฏิบัติการจัดทำบัญชี การบริหารการเงิน และการบริหารจัดการ ของกลุ่มฯ แบบเดิม และแบบใหม่ จินดา จอกแก้ว. การ จัดการความรู้การจัดทำ บัญชีฯ. วารสารวิจัยเพื่อ การพัฒนาพื้นที่ ปีที่ 8: 1 (ม.ค.-มี.ค. 2559) สกว.

17 แนวทางการ ติดตามความ ยั่งยืน ตัวชี้วัด (1) ตัวบุคคล (2) กลุ่ม (3) คณะกรรมการ (4) แผนงาน (5) โครงสร้าง/ ระเบียบ/กฎเกณฑ์ (7) กิจกรรมสืบเนื่อง (6) กองทุน (8) การขยายผล (12) กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม (9) กลุ่มน้องใหม่ 17 (10) เครือข่ายที่หลากหลาย (11) กระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง (13) etc.

18 การคืนข้อมูลวิจัย ให้ชุมชน/ การคืนข้อมูลวิจัย ให้ชุมชน/ การใช้ประโยชน์ จากงานวิจัย  หลักการ  เป้าหมาย ผู้นำเสนอ ข้อมูล  ภาพถ่าย+การเล่าเรื่อง Message selection  รูปแบบ  กลุ่มเป้าหมาย เอกสารสรุป (อ่านพร้อมกัน)  ได้หลายช่วงตอน เครื่องมือเก็บข้อมูล Oral presentation  เครื่องมือคิดกิจกรรม ต้องเพิ่มมูลค่าของข้อมูลที่เก็บมา PAR ครบวงจร หลากหลาย Powerpoint รูป Poster/ นิทรรศการ/ แทรกใบงานของชุมชน จัดเวทีเสวนา+ ผู้ทรงคุณวุฒิ etc. ระยะเวลา/ สถานที่/ อุปกรณ์ เนื้อหา/ข้อมูล Message design 18

19 กลุ่ม/หลายกลุ่ม ได้เห็นภาพรวม เป้าหมายของ การคืนข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้อง ตรวจสอบการวิเคราะห์/ สังเคราะห์ เติมความสมบูรณ์ให้ ข้อมูล Reflection/ ขบคิด-ทบทวน เป็นขั้นตอนหนึ่งของ การเก็บข้อมูลต่อเนื่อง ค้นคิดกิจกรรม ในอนาคต/ข้อเสนอแนะ ถอดความรู้ออกมา Snowball technique นักวิชาการให้ ความรู้เพิ่ม/ ข้อเสนอแนะ etc. ตรวจสอบปฏิกิริยา ของชุมชน           11 12 19

20 กรอบการเขียน (Parallel) กรอบการเขียน (Parallel) Report/ Paper แบบเดิม Report/ Paper SeS บทที่ 1 ที่มา/ วัตถุประสงค์ บทที่ 2 ทฤษฎี/ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย บทที่ 4 ผลการวิจัย บทที่ 5 อภิปรายผล/ ข้อเสนอแนะ สถานการณ์ที่เป็นอยู่ (Before) วัตถุประสงค์ วิชาการ ชุมชน ความรู้/ ความเชี่ยวชาญที่ใช้ การมีส่วนร่วม -สาขาวิชา -ภูมิปัญญา กระบวนการที่ใช้ คิดกิจกรรม เก็บข้อมูล Impact/ Sustainability/ Suggestion การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (After/Change) ต่อวิชาการ ต่อชุมชน ก ข ค ง จ       DNA ของ SeS 20

21 เกณฑ์พิจารณา คุณภาพงานเขียน ทางวิชาการ เกณฑ์พิจารณา คุณภาพงานเขียน ทางวิชาการ Originality โจทย์ การใช้ Logic เชิงวิชาการ นำไปใช้ได้จริงไหม ? วิธีการที่ใช้ สาขาวิชา หากรอบความรู้ที่ใช้แก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่าง etc. Consistency Quality of Writing Quality of Argument Contribution Implication Term ที่ใช้ ความหมาย จุดยืนทางทฤษฎี คุณภาพเชิงภาษาศาสตร์ etc. ความชัดเจน/ กระจ่าง ง่ายต่อการอ่าน ลำดับขั้นตอน etc. ความน่าเชื่อถือ การใช้แนวคิด/ ทฤษฎี มาสนับสนุน/ โต้แย้ง ต่อชุมชน ต่อนโยบาย ต่อ Sectors ต่างๆ Practical ความคุ้มค่า 21

22 เกณฑ์พิจารณา คุณภาพงานเขียน วิชาการเพื่อ สังคม เกณฑ์พิจารณา คุณภาพงานเขียน วิชาการเพื่อ สังคม การระบุสถานการณ์ ที่เป็นอยู่ การมีส่วนร่วม + การยอมรับของชุมชน ความรู้/ ความเชี่ยวชาญ ที่นำไปใช้ การระบุสถานการณ์ใหม่ ที่เปลี่ยนแปลงไป (Change) การประเมิน ผลลัพธ์ แนวโน้มความยั่งยืน ของการเปลี่ยนแปลง (Sustainability) กระบวนการที่ใช้ใน การเปลี่ยนแปลง (วิธีวิจัย/กิจกรรม) Output Outcome Impact        22


ดาวน์โหลด ppt รศ. ดร. กาญจนา แก้วเทพ สถาบันคลังสมองของชาติ วันที่ 8-9 มิถุนายน 2559.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google