งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์การใช้พลังงาน และมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว นางเอมอร ชีพสุมล รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 27 พฤษภาคม 2559 การบรรยายพิเศษ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์การใช้พลังงาน และมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว นางเอมอร ชีพสุมล รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 27 พฤษภาคม 2559 การบรรยายพิเศษ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์การใช้พลังงาน และมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว นางเอมอร ชีพสุมล รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 27 พฤษภาคม 2559 การบรรยายพิเศษ โดย

2 สถานการณ์พลังงานสถานการณ์พลังงาน ไตรมาสที่ 1 ปี 2559 ไตรมาสที่ 1 ปี 2559 ภาพรวมน้ำมันเชื้อเพลิง ภาพรวมไฟฟ้า น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป LPG NGV Peak ไฟฟ้า 2 การใช้ไฟฟ้ารายสาขา การใช้ไฟฟ้ากลุ่มธุรกิจ

3 ภาพรวม น้ำมันเชื้อเพลิง ไตรมาส 1 ปี 59 การจัดหา ในประเทศ นำเข้า 83% 17% ตะวันออกกลาง 56% ตะวันออกไกล 12% อื่นๆ 15% 1,015,005 บาร์เรล/วัน นำเข้า 8 % โรงกลั่น 33% โรงแยกก๊าซ 59% ปิโตรเคมี 28% ครัวเรือน 35% ขนส่ง 25% อุตสาหกรรม 10% ใช้เอง 2% 509 พันตัน/เดือน 12.9% 511 พันตัน/เดือน 10.0% การจัดหาการใช้ น้ำมันดิบ LPG ราคาขายปลีก 6.3 % 13.50 บาท/กิโลกรัม NGV การใช้ NGV 3 เดือนแรก 3 ดีเซล 64.57 ล้านลิตร/วัน เบนซิน 28.21 ล้านลิตร/วัน การใช้เฉลี่ย ม.ค. – มี.ค. 59 น้ำมันสำเร็จรูป (ภาคขนส่ง) ม.ค.ก.พ.มี.ค. ดีเซล 19.9120.3121.78 เบนซิน 23.0422.0123.04 -เบนซิน 95 30.6829.6130.67 -แก๊สโซฮอล 21.4320.3621.27 -91 (E10) 22.9921.9623.02 -95 (E10) 23.4122.3823.44 -95 (E20) 21.0519.8920.88 -95 (E85) 18.2517.2117.74 ราคาขายปลีกเฉลี่ย (บาท/ลิตร) ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค. ราคาขายปลีก (บาท/กก.)22.2920.29 จำนวนรถ NGV สถานีบริการ กทม. ต่างจังหวัด 473,649 คัน 501 แห่ง 251 แห่ง 250 แห่ง ณ มี.ค. 59

4 ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. เมกะวัตต์ (MW) ปี 2558 ปี 2557 ปี 2556 ปี 2555 หมายเหตุ : ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. (Net Peak Generation Requirement) ไม่รวมที่ใช้ใน Station Service ปี 2559 11 มิ.ย. 58 เวลา 14:02 น. 27,346 MW 11 พ.ค. 59 เวลา 22:28 น. 29,619 MW ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. 4 วัน/เดือน/ปีเวลาNet Peakอุณหภูมิ © 16 มี.ค. 5920.2127,639.331.1 219 เม.ย. 5914.1728,351.736.6 325 เม.ย. 5914.5328,475.336.6 426 เม.ย. 5914.1329,004.638.1 527 เม.ย. 5914.3329,249.438.0 628 เม.ย. 5914.2329,403.737.8 711 พ.ค. 5914.1229,600.836.4 811 พ.ค. 5922.2829,618.833.0

5 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) ** ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2555 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทธุรกิจ/กิจการขนาดเล็ก แล้วแต่กรณี *** อื่นๆ ได้แก่ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ ไตรมาส 1 ปี 2559 ประเภท Growth (%) Share (%) ครัวเรือน  11.0 23 กิจการขนาดเล็ก  8.8 11 ธุรกิจ  8.8 19 อุตสาหกรรม  3.2 44 ส่วนราชการและ องค์กรไม่แสวงหา กำไร**  29.4 0.1 เกษตรกรรม  19.9 0.2 ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า  6.8 2 อื่นๆ***  7.0 1 ครัวเรือน กิจการขนาดเล็ก ธุรกิจ อุตสาหกรรม * เดือน ม.ค.-มี.ค. ส่วนราชการฯ สูบน้ำการเกษตร ไฟไม่คิดมูลค่า อื่นๆ*** 2559* ปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายสาขา 5

6 การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สำคัญ * เดือน ม.ค.-มี.ค. ไตรมาส 1 ปี 2559* ห้างสรรพ สินค้า โรงแรม อพาร์ตเมนต์ และเกสต์เฮาส์ ขายปลีก อสังหา ริมทรัพย์ โรงพยาบาล/ สถานบริการ ทางการแพทย์ ขายส่ง สถาบัน การเงิน ก่อสร้าง ภัตตาคาร และไนต์คลับ Growth (%)  5.8  10.0  15.3  9.9  4.3  9.6  10.5  3.7  0.4  8.4 โรงแรม กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) อพาร์ทเมนต์ ขายปลีก อสังหาริมทรัพย์ โรงพยาบาล ขายส่ง สถาบันการเงิน ก่อสร้าง ภัตตาคาร ห้างสรรพสินค้า การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สำคัญ ห้างสรรพสินค้า โรงแรม กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) อพาร์ทเมนต์ ขายปลีก อสังหาริมทรัพย์ โรงพยาบาล ขายส่ง สถาบันการเงิน ก่อสร้าง ภัตตาคาร ปี 53 – 58 (รายปี) ปี 2559 (ม.ค.-มี.ค.) 6 ปี 2558 (12 เดือน)

7 สถานการณ์การท่องเที่ยวสถานการณ์การท่องเที่ยว ไตรมาส 1 ปี 2559 ไตรมาส 1 ปี 2559 สถานการณ์ ไตรมาส 1 เป้าหมาย ไตรมาส 2 ผลการศึกษา 7

8 สถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย ปี 2559 สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย ไตรมาส 1 เป้าหมาย ไตรมาส 2 ที่มา : กระทรวงการท่องเที่ยว 23 พ.ค.59 1.บุรีรัมย์ 2.ร้อยเอ็ด 3.น่าน 4.สกลนคร 5.อุบลราชธานี 6.ขอนแก่น 7.ระยอง 8.กระบี่ 9.เชียงราย 10.อุดรธานี ที่มา : กระทรวงการท่องเที่ยว 8

9 ผลการศึกษาของมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม 1.ค่าโรงแรมและค่าที่พัก26.15 % 2.ค่าอาหารและเครื่องดื่ม22.48 % 3.ค่ารถโดยสารและรถยนต์อื่นๆ 5.27 % 24 มี.ค. 59 การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวต่างประเทศ ทุกๆ 1 ล้านคน ทำให้มีความต้องการพลังงาน ผลการศึกษา สรุป การใช้ไฟฟ้า แสงสว่าง เครื่องปรับอากาศ การใช้ไฟฟ้า แสงสว่าง เครื่องปรับอากาศ ใช้แก๊สหุงต้มและไฟฟ้า ค่าเชื้อเพลิงในการเดินทาง 9

10 มาตรการสนับสนุน จากภาครัฐ แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว พ.ศ. 2558 - 2579 10

11 11 (1) จุฬาลงกรณ์ฯ (2) ม. เชียงใหม่ (3) ม. เกษตรศาสตร์ (4) ม. พระจอมเกล้าธนบุรี (5) ม. ขอนแก่น (6) ม. เทคโนโลยีสุรนารี (7) ม. สงขลานครินทร์ เพื่อสนับสนุน หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา และ องค์กรเอกชน ที่ไม่มุ่ง ค้าหากำไร ที่ประสงค์ จะศึกษาวิจัยด้าน อนุรักษ์พลังงาน โครงการวิจัยเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยว มาตรการสนับสนุนของ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) สนพ. กำหนดหัวข้องานวิจัยด้านอนุรักษ์พลังงานในพื้นที่ภาคเหนือ (1) ภาคการเกษตร กลุ่มอุตสาหกรรมข้าวโพด (2) ภาคการเกษตร กลุ่มอุตสาหกรรมผลไม้ (3) ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โครงการภาคเหนือ (มช.) แบ่งกลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่ม คือ 1. ที่พัก : โรงแรม รีสอร์ท 2. ค้าปลีก : ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าปลีก 3. การเดินทาง : การซื้อทัวร์ การเดินทางส่วนตัว 4. จุดท่องเที่ยว : อุทยานแห่งชาติ วัด พิพิธภัณฑ์ 1.โครงการศึกษาศักยภาพและจัดลำดับต้นทุนเทคโนโลยีพลังงาน ที่เหมาะสมเพื่อธุรกิจท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเขตภาคเหนือ 2.โครงการศึกษาประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้าสำหรับโรงแรมและเกสต์เฮาส์ (พื้นที่ศึกษา: 17 จังหวัดภาคเหนือ) 3.โครงการศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานสำหรับร้านค้าปลีกท้องถิ่นในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวไทยภาคเหนือ 4.โครงการศึกษาศักยภาพการประหยัดพลังงานของเครื่องปรับอากาศพลังงาน แสงอาทิตย์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 5.โครงการระบบตารางเดินรถสองแถวแดงแบบแอคทีฟและการพัฒนา แอพโทรศัพท์มือถือ 6.โครงการ การลดการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวโดยสร้าง แรงจูงใจเพื่อสนับสนุนพฤติกรรมการใช้ระบบขนส่งสาธารณะแบบประจำเส้นทาง และการเดินทางที่ไม่ใช้เครื่องยนต์ 7.โครงการระบบปรับอากาศพลังงานแสงอาทิตย์แบบไฮบริดระบายความร้อน ด้วยน้ำไหลสำหรับโรงแรมในพื้นที่ท่องเที่ยวธรรมชาติที่ไม่พึ่งพาระบบสายส่ง 8.โครงการ การเพิ่มประสิทธิภาพการรถขนส่งน้ำแข็งสู่อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ภาคเหนือ ผลที่คาดว่าจะได้รับ  คาดการณ์การเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ภาพรวมในเขตภาคเหนือ  ประเมินเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในด้านการอนุรักษ์ พลังงานที่เหมาะสมกับภาคเหนือได้  พัฒนาและบูรณาการองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ พลังงานที่เหมาะสมต่อธุรกิจท่องเที่ยวแบบยั่งยืน  ขยายผลในวงกว้างให้กลุ่มอุตสาหกรรมประเภทอื่น

12 โทรทัศน์ / วิทยุ / หนังสือพิมพ์ / Digital / Out of Home / Infographic / Facebook / Animation clip / ประชุมผู้ประกอบการ* /เปิดตัวโครงการ / กิจกรรมส่งเสริมการตลาด ปี 2558-2559 เดินหน้ารณรงค์เปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน ชัวร์ รณรงค์ลดใช้พลังงาน “เปลี่ยนใหม่ ประหยัด ชัวร์” ความรู้ ความเข้าใจ นิสัยประหยัด  ร่วมมือกับห้าง/ร้านขาย เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่/ ผู้ประกอบการ จัดมุมรวม อุปกรณ์เบอร์ 5 ภายใต้แบรนด์ “รวมพลัง หาร 2 เปลี่ยนใหม่ ประหยัดชัวร์” ปรับพฤติกรรม รอบตัวเรา ปิด | ปรับ | ปลด ตรวจเช็ค / บำรุงรักษา  ผลิตภาพยนตร์และสื่อ  ศิลปิน และ Influencer ร่วม ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์  จัดกิจกรรมรณรงค์ ในงานแฟร์  ทำ App คำนวณผลประหยัด กิจกรรม ก.พ.-พ.ค. กิจกรรม ก.พ.- ก.ย. กิจกรรมปี 60 12

13  ให้แสงสว่างที่ระดับสูงถึง 80 - 120 ลูเมน/วัตต์  ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  ควบคุมความสว่างของแสงที่ปล่อยออกมาได้  อายุการใช้งานยาวนานกว่า 15,000 ชั่วโมง  ทนทานต่อการสั่นสะเทือน 13 สุดยอดความประหยัด หลอดไฟ LED ประหยัดไฟฟ้า 85% ไฟดวงที่ไม่จำเป็น ปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้ง ที่ไม่ใช้งาน จะช่วยลด การสูญเสียค่าไฟโดยไม่จำเป็น อุณหภูมิเครื่องปรับอากาศจาก 25 เป็น 26 องศา จะช่วยประหยัดไฟ 10% มาใช้หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง จะช่วยลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของประเทศ และค่าไฟฟ้าต่อเดือนของคุณ http://www.รวมพลังหาร2.com/

14 อัตราส่วนประสิทธิภาพของพลังงานตามฤดูกาล (Seasonal Energy Efficiency Ratio) ค่าความสามารถในการทำความเย็นที่ส่งออกมาในระหว่าง ฤดูกาลหนึ่งๆ หารด้วย ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าทั้งหมด ที่ใส่เข้าไปในช่วงเวลานั้นๆ ค่า SEER ค่า SEER สูง ประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูง หรือประหยัดพลังงาน หมายถึง … 14

15 เงินหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ (Soft loan) ปล่อยกู้ผ่านธนาคารพาณิชย์ เงินหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำ (Soft loan) ปล่อยกู้ผ่านธนาคารพาณิชย์ โครงการที่สนับสนุน : โครงการอนุรักษ์ อัตราดอกเบี้ย: ไม่เกินร้อยละ 3.5 ต่อปี ระยะเวลาชำระคืน : ไม่เกิน 5 ปี วงเงินกู้สูงสุด : ไม่เกิน 50 ล้านบาท โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทนด้วยเงินทุนหมุนเวียน (ESCO Revolving Fund) เป็นการให้เงินสถาบันการเงินที่ร่วมโครงการกับ พพ. นำไปปล่อยกู้ ให้สถานประกอบการในการลงทุนอนุรักษ์พลังงาน เช่น ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ ในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 3.5% ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) http://www.dede.go.th มาตรการสนับสนุนจาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) มาตรการสนับสนุนจาก 15

16 16 www.eppo.go.th จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์การใช้พลังงาน และมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว นางเอมอร ชีพสุมล รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 27 พฤษภาคม 2559 การบรรยายพิเศษ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google