งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1. สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือ เพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลฯ รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต ให้แก่ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1. สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือ เพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลฯ รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต ให้แก่ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1

2 สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือ เพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลฯ รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต ให้แก่ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ให้ความเห็นชอบหลักสูตร การศึกษาวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ในระดับ อุดมศึกษาของสถาบันการ ศึกษาที่จะทำการสอนวิชาชีพ การพยาบาลการผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์เพื่อเสนอต่อ ทบวงมหาวิทยาลัย รับรองหลักสูตรต่างๆสำหรับ การศึกษา / การฝึกอบรมในระดับ ประกาศนียบัตรของสถาบันที่จะทำ การสอนวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ รับรองวิทยฐานะของสถาบันที่ทำการสอนและ ฝึกอบรมตาม ข้อ 4 / รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรใน วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ของสถาบันต่างๆ สภา การพยาบาล ออกหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้ หรือความชำนาญเฉพาะทาง และหนังสือแสดงวุฒิอื่นใน วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลฯ

3 สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชชนนี 1 สร้างความสามัคคีระหว่างพยาบาล 2. แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อบำรุงการอาชีพใน การพยาบาลให้ดีขึ้น 3. ช่วยเหลือเพื่อนพยาบาลในทางประกอบอาชีพ และบำรุง วิชาความรู้ 4. เพื่อพัฒนาวิทยฐานะวิชาชีพพยาบาลให้เด่นขึ้น

4  สำนักการพยาบาล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข เป็น หน่วยงานภาครัฐ เพียงหน่วยงาน เดียวที่มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชกฤษฎีกา ในการ กำหนด พัฒนามาตรฐานการพยาบาล พัฒนาคุณภาพทางเทคนิควิชาการพยาบาล ตลอดจนติดตาม กำกับ สนับสนุนการดำเนินการ พัฒนา คุณภาพบริการพยาบาล ของ สถานบริการสาธารณสุขของภาครัฐและเอกชนให้ได้ มาตรฐาน สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

5 การประกันคุณภาพ การพยาบาลภายใน โรงพยาบาล ( การประเมินตนเอง ) การประเมินรางวัล คุณภาพการ ปฏิบัติการพยาบาล ที่เป็นเลิศ การตรวจประเมิน คุณภาพการ พยาบาล

6 ริเริ่มและดำเนินการโดยสำนักการพยาบาล เดิมคือกองการพยาบาล ) ดังนี้  ปี 2521 กำหนดและเผยแพร่มาตรฐานการจัดบริการพยาบาล  ปี 2529 พัฒนาระบบควบคุมคุณภาพการพยาบาล กำหนด มาตรฐานเป็นเชิงโครงสร้างและกระบวนการ  ปี 2540 พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการพยาบาล ยกระดับมาตรฐานการพยาบาล ริเริ่มกำหนดตัวชี้วัดคุณภาพ การพยาบาล การประกันคุณภาพการพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข

7 การประกันคุณภาพ การพยาบาล การประเมินคุณภาพ การพยาบาล มาตรฐาน การพยาบาล

8 8 เช่น พรบ. วิชาชีพของ สภาการ พยาบาล เช่น มาตรฐาน เขียวclassic, มาตรฐาน สุพรรณหงส์ เช่น มาตรฐาน พยาบาลรพ.A, มาตรฐานสูติ กรรม รพ.B มาตรฐา น ระดับชา ติ มาตรฐาน ระดับสถาบัน มาตรฐาน ระดับองค์กร / หน่วยงาน มาตรฐานการพยาบาล

9

10 ขอรับการประเมิน คุณภาพจาก สำนัก ฯ การประเมินระดับคุณภาพบริการพยาบาล

11 QA สภาการ พยาบาล สำนักการ พยาบาล ใช้กรอบ แนวคิด PMQA ใช้กรอบแนวคิด มาตรฐานบริการ พยาบาล และการ ผดุงครรภ์ระดับ ทุติยภูมิและตติย ภูมิ

12 ประจำปี พ. ศ. 2554 ลำดับโรงพยาบาลจังหวัดเขตบริการสุขภาพระดับที่ผ่าน 1 โรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์สุราษฎร์ธานี 73 2 โรงพยาบาลเชียงยืนมหาสารคาม 123 3 โรงพยาบาลสมุทรปราการสมุทรปราการ 32 4 โรงพยาบาลโพธารามราชบุรี 42 5 โรงพยาบาลนภาลัยสมุทรสงคราม 52 6 โรงพยาบาลวชิระภูเก็ตภูเก็ต 72 7 โรงพยาบาลสตูลสตูล 82 8 โรงพยาบาลวัดญาณสังวรารามชลบุรี 92 9 โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมานร้อยเอ็ด 122 10 โรงพยาบาลขุขันธ์ศรีสะเกษ 132 11 โรงพยาบาลจักราชนครราชสีมา 142 12 โรงพยาบาลพราหมพิรามพิษณุโลก 172 13 ศูนย์มะเร็งลำปางลำปาง 2 14 โรงพยาบาลคลองขลุงกำแพงเพชร 182

13 ประจำปี พ. ศ. 2555 ลำดับ โรงพยาบาลจังหวัด เขตบริการ สุขภาพ ระดับที่ ผ่าน 1 โรงพยาบาลสมเด็จพระ ยุพราชเวียงสระ สุราษฏร์ธานี 72 2 โรงพยาบาลบ้านนาสารสุราษฎร์ธานี 73 3 โรงพยาบาลโพนทรายร้อยเอ็ด 123 4 โรงพยาบาลแกดำมหาสารคาม 133 5 โรงพยาบาลลำปางลำปาง 153

14 ประจำปี พ. ศ. 2556 ลำดับ โรงพยาบาลจังหวัด เขตบริการ สุขภาพ ระดับที่ ผ่าน 1 โรงพยาบาลกันทรวิชัยมหาสารคาม 132 2 โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคมสุราษฎร์ธานี 112 3 โรงพยาบาลเสิงสางนครราชสีมา 92 4 โรงพยาบาลดอนสักสุราษฎร์ธานี 112 5 โรงพยาบาลเลิงนกทายโสธร 102 6 โรงพยาบาลท่าม่วงกาญจนบุรี 53

15 ประจำปี พ. ศ. 2557 ลำดับ โรงพยาบาลจังหวัด เขตบริการ สุขภาพ ระดับที่ ผ่าน 1 โรงพยาบาลเมยวดีร้อยเอ็ด 72 2 โรงพยาบาลสรรพสิทธิ ประสงค์ อุบลราชธานี 103 3 โรงพยาบาลดอนสักสุราษฎร์ธานี 113

16 ประจำปี พ. ศ. 2558 ลำดับ โรงพยาบาลจังหวัด เขตบริการ สุขภาพ ระดับที่ ผ่าน 1 โรงพยาบาลเกตษรวิสัยร้อยเอ็ด 73 2 โรงพยาบาลฮอดเชียงใหม่ 12 3 โรงพยาบาลเชียงยืนมหาสารคาม73

17 ประจำปี พ. ศ. 2558 ลำดับ โรงพยาบาลจังหวัด เขตบริการ สุขภาพ ระดับที่ ผ่าน 4 โรงพยาบาลพระแสงสุราษฎร์ธานี 112 5 โรงพยาบาลท่าฉางสุราษฎร์ธานี 113 6 โรงพยาบาลชัยบุรี สุราษฎร์ธานี 113

18 ( คิว ) ประจำปี พ. ศ. 2558 ลำดับ โรงพยาบาลจังหวัด เขตบริการ สุขภาพ ระดับที่ ผ่าน 1 รพร. เวียงสระสุราษฎร์ธานี 11 2 โรงพยาบาลเกาะพงันสุราษฎร์ธานี 11 3โรงพยาบาลกระบี่กระบี่11

19 ( คิว ) ประจำปี พ. ศ. 2558 ลำดับ โรงพยาบาลจังหวัด เขตบริการ สุขภาพ ระดับที่ ผ่าน 4 รพศ.สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี 11 5 โรงพยาบาลพังงาพังงา 11

20 กระแสการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดการพัฒนาในระบบคุณภาพให้ก้าวสู่สากล กำเนิดเกณฑ์รางวัลคุณภาพขึ้น Deming Prize (1951) Canada Award (1984) Malcolm Baldrige National Quality Award (1987) Australian Business Excellence Awards (1988) European Foundation Quality Management (1991) Singapore Quality Award (1994) Japan Quality Award (1995) MBNQA : Education and Healthcare (1999) Thailand Quality Award (2001) Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand

21 กรอบแนวคิด การตรวจประเมินระดับคุณภาพบริการพยาบาล 21  MBNQA/TQA/PMQA  HA  มาตรฐานบริการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ระดับทุติยภูมิ และตติยภูมิ ( สภาการพยาบาล )  กระบวนการพยาบาล  การพยาบาลแบบองค์รวม

22 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย TQA 22 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ

23 เกณฑ์การตรวจประเมินระดับคุณภาพบริการพยาบาล หมวด ชื่อหมวด จำนวน ประเด็น พิจารณา 1 การนำองค์กร 5 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 4 3 การมุ่งเน้นผู้ใช้บริการ 5 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 6 6 การจัดการกระบวนการให้บริการพยาบาล 5(+7) 7 ผลลัพธ์การให้บริการพยาบาล 6 รวม 36(43)

24 ศึกษากรอบแนวคิดและเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพการพยาบาลของสำนักการพยาบาล (จากหนังสือแนวทางการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายนอกเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ) ศึกษาแนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเอง จัดทำรายงานการประเมินตนเองตามแบบฟอร์มที่กำหนดครบทุกหน่วย บริการพยาบาลขององค์กรพยาบาล ส่งหนังสือถึงผู้อำนวยการสำนักการพยาบาลเพื่อขอรับการตรวจประเมินระดับคุณภาพ บริการพยาบาล พร้อมส่งรายงานการประเมินตนเองแต่ละหน่วยงาน จำนวน 1 ชุด องค์กร พยาบาล ขั้นตอนการขอรับการประเมินระดับคุณภาพการพยาบาล โดยสำนักการพยาบาล

25 25 แจ้งกลับองค์กรพยาบาลเพื่อตอบรับการตรวจประเมินพร้อมกำหนดทีม / วันการตรวจประเมิน ดำเนินการตรวจประเมินองค์กรพยาบาลทุกหน่วยบริการ กลั่นกรองการตรวจประเมิน และแจ้งผลการตรวจประเมิน ส่งรายงานป้อนกลับ / ข้อเสนอแนะให้กับองค์กรพยาบาล ที่ขอรับการตรวจประเมินภายใน ๖๐ วันนับจากการตรวจ ประเมิน รับโล่รางวัล / เกียรติบัตรในงานประชุมวิชาการประจำปี ซึ่งจัดโดยสำนักการพยาบาล มูลนิธิดร.วรรณวิไล และ ชมรมผู้บริหารทางการพยาบาลแห่งประเทศไทย ไม่ผ่านการตรวจประเมิน ผ่านการตรวจประเมิน พัฒนาคุณภาพการพยาบาลตาม ข้อเสนอแนะจากทีมตรวจประเมินฯ ขั้นตอนการขอรับการประเมินระดับคุณภาพการพยาบาล โดยสำนักการพยาบาล

26 การเตรียมตัวของหน่วยบริการ พยาบาล ที่ขอรับการตรวจประเมิน

27 ความเชื่อมโยงของมาตรฐานและการประเมิน การตรวจประเมินระดับคุณภาพบริการพยาบาล การประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล 2550


ดาวน์โหลด ppt 1. สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือ เพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลฯ รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาต ให้แก่ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็น ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google