งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 3/2559 ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย 30 มิถุนายน 2559 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 3/2559 ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย 30 มิถุนายน 2559 1."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 3/2559 ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย 30 มิถุนายน 2559 1

2 วาระการประชุม วาระที่ 1 : เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 : รับรองรายงานประชุม 2.1 รายงานการประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559 วาระที่ 3 : เรื่องสืบเนื่อง 3.1 รายงานความก้าวหน้าการจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 3.2 รายงานความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 3.3 รายงานความก้าวหน้าระบบการคลังและงบประมาณ วาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ 4.1 การเตรียมการชี้แจงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 4.2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี ของกระทรวงสาธารณสุข 4.3 การนิเทศงานกรมอนามัย รอบที่ 2/2559 4.4 ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์กรมอนามัย (E-Service) วาระที่ 5 : เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) 2

3 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 3 แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี ของกระทรวงสาธารณสุข ร่าง แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 โครงสร้างงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย

4 วาระที่ 2 รับรองรายงานประชุม ที่ประชุมรับรองรายงานการประชุมหัวหน้ากลุ่ม บริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2559 ซึ่งกองแผนงานในฐานะ เลขานุการได้แจ้งเวียนให้หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัยทุกท่าน เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2559 (เอกสารหมายเลข 1 ) 4

5 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 5 3.1 รายงานความก้าวหน้าการจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 3.2 รายงานความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 3.3 รายงานความก้าวหน้าระบบการคลังและงบประมาณ

6 6 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง (ต่อ) 3.1 รายงานความก้าวหน้าการจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564

7 มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค. ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ประชุม คอก.และ คทง. นำเสนอ -กรอบความเชื่อมโยง ของแผน -กรอบแนวทางการ จัดทำแผน ยุทธศาสตร์ฯ -แผนต่างๆ ที่มีอยู่ ภายในหน่วยงาน (29 มี.ค.59) 2 ประชุมผู้เกี่ยวข้อง (Working Group) หารือแนวทาง/วิธีการ/ เครื่องมือในการวิเคราะห์เพื่อจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ฯ (4 เม.ย.59) ชี้แจงกรอบแนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ในที่ประชุมกรมอนามัย เพื่อให้หน่วยงานเตรียมการ วางแผนรองรับ (11 เม.ย.59) 5 ประชุม คทง. ติดตามความคืบหน้า การจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ (12 เม.ย.59) 6 4 ประชุม คอก. และ คทง.ติดตาม ความก้าวหน้าและ พิจารณาให้ ความเห็นต่อ ข้อมูลในร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (24 พ.ค.59) 11 ประชุม คอก. และ คทง. ติดตาม ความก้าวหน้า และพิจารณาให้ ความเห็นต่อ ร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (21 มิ.ย.59) 13 ประชุม คทง. ติดตามความคืบหน้า การจัดทำร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ ประชุม คอก. ติดตาม ความคืบหน้าการ จัดทำร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ 15 17 ประชุม คอก. และ คทง.พิจารณาร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ (ฉบับสมบูรณ์) 20 16 ประชุม คทง. + Cluster พิจารณา ข้อเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ของ แต่ละ Cluster (22 เม.ย.59) 7 แต่งตั้งคณะจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ สส. และ อวล.กรม อนามัย พ.ศ.2560- 2564 (คำสั่งที่ 205/2559 ลว 4 มี.ค.59) ประชุม คอก. และ คทง.ติดตาม ความก้าวหน้าและ พิจารณาให้ความเห็น ต่อข้อมูลในร่างแผน ยุทธศาสตร์ฯ (26 เม.ย.59) ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ จัดสัมมนาประชาพิจารณ์ ประกาศและสื่อสารแผน ยุทธศาสตร์ฯ หน่วยงานนำแผนยุทธศาสตร์ฯ สู่การปฏิบัติ -ถ่ายทอดตัวชี้วัด -จัดทำ Action Plan -บริหารความเสี่ยงโครงการ สำคัญ 1 3 แต่งตั้งคณะจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบ สส. และ อวล. ตามแผนพัฒนา สุขภาพแห่งชาติฯ (คำสั่งที่ 345/2559 ลว 1 เม.ย.59) จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 8 9 10 12 14 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 18 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ (ฉบับสมบูรณ์) 19 21 22 ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ 7 ความคืบหน้า การจัดทำ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564

8 Timeline การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนา สุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 เข้าร่วมเป็น คทง.จัดสัมมนาประชาพิจารณ์ และดำเนินการตามบทบาท หน้าที่ ประชุม คทง. -พิจารณาร่างแผน ยุทธศาสตร์ -กำหนดรูปแบบการ จัดงานสัมมนา ประชาพิจารณ์ ปรับปรุง/จัดทำร่าง แผนยุทธศาสตร์ฯ (ฉบับ สมบูรณ์) 56-13 15-20 23-31 1-4 14 กรกฎาคม กองแผนงาน Working Group Output ร่างแผนยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ จัดสัมมนาประชา พิจารณ์ 28 -ทำหนังสือเชิญสัมมนา ประชาพิจารณ์ -เตรียมร่างแผน ยุทธศาสตร์นำเสนอ คทง. -แต่งตั้ง คทง.จัด สัมมนา จัดประชุม คทง. พิจารณาร่าง แผนยุทธศาสตร์ ก่อนการจัด ประชาพิจารณ์ -ปรับร่างแผน ยุทธศาสตร์ -ประสานและ เตรียมจัดประชา พิจารณ์ ประสานและ เตรียมจัดประชา พิจารณ์ 8 26 จัดประชุมการ บริหาร ยุทธศาสตร์ เพื่อ พิจารณาร่างแผน ยุทธศาสตร์ก่อน การจัดประชา พิจารณ์

9 9 กรอบเนื้อหาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนา สุขภาพในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ส่วนที่ประกอบด้วย 1. กรอบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 และบริบทที่ เกี่ยวข้อง 1.กรอบแนวคิดการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ฯ 2.นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 3.บริบทการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. บริบทของกรมอนามัย 1. Positioning กรมอนามัย 2. วิสัยทัศน์ 3. พันธกิจ 4. วัฒนธรรมองค์กร 5. โครงสร้างและระบบการกำกับดูแลของกรมอนามัย 6. กระบวนงานหลักของกรมอนามัย 7. สมรรถนะหลักของกรมอนามัย 8. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อมของกรมอนามัย 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2560-2564 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ 2. เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมาย 3. กลยุทธ์และมาตรการ 4. แนวทางการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ แนวทางการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ 5. แนวทางการติดตามประเมินผลแนวทางการติดตามประเมินผล

10 ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย (Strategic Issues) 1. ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและ ฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่ พึงประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัย ของสังคม 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 2. สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 3. อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม 4. ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มี สมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล 10

11 แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 วิสัยทัศน์กรมฯ “กรมอนามัยเป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพประชาชน” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็ง ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชน อย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็ง ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อมชุมชน อย่างยั่งยืน มิติที่ 1 ประชาชน เป้าประสงค์ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูก เกิดรอด แม่ปลอดภัย เป้าประสงค์ที่ 3 อายุ 0-5 ปี สูงดีสม ส่วน เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็ม ศักยภาพและมี ทักษะสุขภาพ เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและ พฤติกรรมอนามัยการ เจริญพันธุ์ที่เหมาะสม เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงาน หุ่นดี สุขภาพดี เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี เป้าประสงค์ที่1 ชุมชนมีความเข้มแข็งใน การจัดการด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) 1.1 ส่งเสริมการ เกิดและเติบโต คุณภาพ 1.2 ส่งเสริมเด็กวัย เรียนให้แข็งแรง และฉลาด 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรม สุขภาพวัยทำงานที่พึง ประสงค์ 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุ ไทยเพื่อเป็นหลักชัย ของสังคม เป้าประสงค์ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มี พัฒนาการสมวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายประชารัฐร่วมดำเนินการสามารถนำสินค้าและบริการ (Product) ของกรมอนามัยไปใช้อย่างเหมาะสม เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรสมรรถนะสูง (HPO) มิติที่ 2 คุณภาพระบบ ส่งเสริมสุขภาพ และอนามัย สิ่งแวดล้อม มิติที่ 2 คุณภาพระบบ ส่งเสริมสุขภาพ และอนามัย สิ่งแวดล้อม มิติที่ 3 กระบวนการ ภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีธรรมาภิบาล มิติที่ 4 การ เติบโตนวัตกรรม และศักยภาพ 11

12 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัดเป้าหมาย 6061626364 1) อัตราส่วนมารดาตาย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ----ไม่เกิน 15 ต่อ แสนการเกิดมีชีพ เป้าประสงค์ ที่ 1 ตั้งครรภ์คุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย กลยุทธ์ 1.พัฒนาการบริหารจัดการที่ดีเพื่อลดการตายมารดาผ่าน MCH Board ระดับเขต/จังหวัด 2.พัฒนาระบบเฝ้าระวังการตายมารดา 3.พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย 4.สนับสนุนให้สถานบริการจัดบริการอนามัยแม่และเด็กที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน 5.พัฒนาระบบสารสนเทศงานแม่และเด็ก 12 มาตรการของแต่ละกลยุทธ์ และข้อเสนอจากที่ประชุมการบริหารยุทธศาสตร์ วันที่ 28 มิ.ย.59 สามารถศึกษาได้จากเว็บไซต์กองแผนงาน  ดาวน์โหลดเอกสาร  กลุ่มพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์

13 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 2) เด็กอายุ 0-5 ปี มี พัฒนาการสมวัย ---- ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ ที่ 2 เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย กลยุทธ์ 1.ส่งเสริมบทบาทผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2.พัฒนาศักยภาพครูพี่เลี้ยง/พี่เลี้ยงเด็กให้สามารถใช้เครื่องมือคัดกรองและ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 3.ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 4.ผลักดันการติดตามเด็กที่สงสัยล่าช้า 13

14 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.1 ส่งเสริมการเกิดและเติบโตคุณภาพ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ---- ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 และส่วนสูง เฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ชาย เท่ากับ 113 ซม. หญิง เท่ากับ 112 ซม. เป้าประสงค์ ที่ 3 เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน กลยุทธ์ 1.พัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 2.สร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปีสูงดีสมส่วน 14

15 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 4) เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) สูงสมส่วน และเด็กอายุ 14 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตาม เกณฑ์ ----ส่วนสูงเฉลี่ยเด็ก อายุ 14 ปี ชาย 166 ซม. หญิง 159 ซม. 5) เด็กวัยเรียน (ม.1) มี สมรรถภาพทางกายระดับ ผ่านเกณฑ์ ----ร้อยละ 80 6) เด็กวัยเรียนมี พฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์ - พฤติกรรมการบริโภค - ออกกำลังกาย - สุขอนามัยส่วนบุคคล - ทันตสุขภาพ - สุขภาพจิต - สุขอนามัยทางเพศ - อนามัยสิ่งแวดล้อม ----ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ ข้อเสนอแนะ -เสนอให้วิจัย พัฒนา NuPETHS ก่อน -คัดเลือก Proxy 3 พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ข้อเสนอแนะ -เสนอให้วิจัย พัฒนา NuPETHS ก่อน -คัดเลือก Proxy 3 พฤติกรรมที่พึงประสงค์ 15

16 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.2 ส่งเสริมเด็กวัยเรียนให้แข็งแรงและฉลาด เป้าประสงค์ที่ 1 เด็กวัยเรียน เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ กลยุทธ์ 1.พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน 2.พัฒนาองค์ความรู้และวิจัย 3.ส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเด็กวัยเรียน 4.พัฒนาระบบข้อมูลและติดตามประเมินผล 16

17 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 7) อัตราการคลอดมีชีพ ในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อ ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ----ไม่เกิน 34 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน 8) วัยรุ่น 15-18 ปี สูงสม ส่วน และอายุ 19 ปี มี ส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ ----- สูงสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 - ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 19 ปี ชาย เท่ากับ 174 ซม. และหญิง เท่ากับ 160 ซม. เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม 17

18 เป้าประสงค์ที่ 1 วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม กลยุทธ์ 1.เร่งรัดการออกกฎกระทรวง แนวปฏิบัติ และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง (ปรับเป็น เร่งรัดการบริหารและขับเคลื่อนกฎหมาย) 2.สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายและพัฒนาต่อยอดให้กลายเป็นการทำงาน ในลักษณะของ Partnership มากขึ้น 3.ส่งเสริมการตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) ให้มากขึ้น 4.สนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ฯ ภายใต้ พ.ร.บ.การ ป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.3 ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 18

19 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.4 ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพวัยทำงานที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 9) ร้อยละของวัยทำงาน ช่วงอายุ 15-29, 30-44, และ 45-49 ปี มี BMI ปกติ ร้อยละ 36.5ร้อยละ 37ร้อยละ 38ร้อยละ 39ร้อยละ 40 10) ร้อยละของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์ ตามหลัก 5อ 2ส 1ฟ 1น *ให้วิจัย พัฒนาก่อน เลือก 1.บริโภค 2.กิจกรรม ทางกาย และ 3.นอน --ร้อยละ 50-ร้อยละ 60 เป้าประสงค์ที่ 1 ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี กลยุทธ์ 1.พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ของกลุ่มวัยทำงาน 2.เสริมสร้างศักยภาพภาคีเครือข่ายทุกระดับในการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์ (Health Leader) 3.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและช่องทางการสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์ (Health Data Center) *เพิ่มกลยุทธ์ เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (เริ่มอายุ 50-59 ปี ) 19

20 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย 1.5 ส่งเสริมผู้สูงอายุไทยเพื่อเป็นหลักชัยของสังคม (THAI ACTIVE AGING: Strong Social and Security) เป้าประสงค์ที่ 1 ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีดี ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 11) อายุคาดเฉลี่ยของ การมีสุขภาพดี (Health- Adjusted Life Expectancy : HALE) ----ไม่น้อยกว่า 69 ปี (ภายใน 5ปี) กลยุทธ์ 1.เตรียมความพร้อมระบบสนับสนุนและคนในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Social มีส่วนร่วมในสังคม) 2.พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Strong : Healthy มีสุขภาพดี) 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อ ผู้สูงอายุสู่ความยั่งยืน (Secure) 20

21 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 12) ตำบลมีชุมชนที่มี ศักยภาพในการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมใน ชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน --ร้อยละ 100 ของตำบล มีชุมชนที่มีศักยภาพ ตามเกณฑ์ฯ (7,255 ตำบล) -ร้อยละ 100 ของตำบลที่มี ชุมชนที่มีศักยภาพ ตาม เกณฑ์ฯ แล้วเมื่อปี 2560- 2562 มีนวัตกรรมชุมชน การจัดการ อวล.ชุมชน (7,255 ตำบล) เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) เป้าประสงค์ที่ 1 ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่าง ยั่งยืน กลยุทธ์/มาตรการ 1.เสริมสร้างการมีส่วนร่วมประชาชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการ อนามัย สิ่งแวดล้อม 2.เสริมสร้างศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินงานอนามัย สิ่งแวดล้อม ให้ได้มาตรฐานและตามที่กฎหมายกำหนด 3.ขับเคลื่อนกลไกการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 4.พัฒนาระบบการบริหาร 21

22 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 13) ร้อยละของภาคีเครือข่าย ประชารัฐที่นำสินค้าและ บริการ (Product) ของกรม อนามัยไปใช้ ร้อยละ 80 14) ร้อยละความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายประชารัฐที่ นำสินค้าและบริการ (Product Champion) ของกรมอนามัย ไปใช้ ร้อยละ 80 เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายประชารัฐผนึกกำลังอย่างมีเอกภาพ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product) ของกรมอนามัยไปใช้อย่างเหมาะสม *ตัวชี้วัดที่ 13 ให้ระบุกลุ่มเป้าหมายให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งว่าจะวัดเครือข่ายใด โดยให้เลือก Proxy ที่สะท้อนบทบาทหลัก ของกรมอนามัย (Core Business) แต่ควรอยู่ใกล้ End User - ปรับค่าเป้าหมายแต่ละปี โดยต้องรวบรวมข้อมูล Baseline Data ของหน่วยงานกรมอนามัยก่อนเพื่อดูภาพรวม - มอบ กผ.+ ทีม Change หารืออธิบดี *ตัวชี้วัดที่ 13 ให้ระบุกลุ่มเป้าหมายให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งว่าจะวัดเครือข่ายใด โดยให้เลือก Proxy ที่สะท้อนบทบาทหลัก ของกรมอนามัย (Core Business) แต่ควรอยู่ใกล้ End User - ปรับค่าเป้าหมายแต่ละปี โดยต้องรวบรวมข้อมูล Baseline Data ของหน่วยงานกรมอนามัยก่อนเพื่อดูภาพรวม - มอบ กผ.+ ทีม Change หารืออธิบดี 22

23 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป้าประสงค์ที่ 1 ภาคีเครือข่ายประชารัฐผนึกกำลังอย่างมีเอกภาพ สามารถนำสินค้าและบริการ (Product) ของกรมอนามัยไปใช้อย่างเหมาะสม กลยุทธ์ 1.เร่งรัดการสร้างหุ้นส่วน (Partnership) ระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 2.พัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการของกรมอนามัย 3.สนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของหุ้นส่วนการ ทำงานด้านส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม (Partnership capacity building) 23

24 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 15) จำนวนนวัตกรรมที่ เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ชิ้น ต่อ 1 หน่วยงาน 16) ร้อยละของนวัตกรรม ที่ถูกนำไปใช้ ไม่น้อยกว่าร้อย ละ80 ของ นวัตกรรมที่มีอยู่ 17) จำนวนงานวิจัยที่ เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ชิ้น ต่อ 1 หน่วยงาน 18) ร้อยละของงานวิจัย ที่ถูกนำไปใช้ ไม่น้อยกว่าร้อย ละ80 ของ งานวิจัยที่มีอยู่ เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (จากบุคคลสู่กลุ่มคนสู่องค์กร) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิ บาล 24 *ให้นิยาม คำว่า นวัตกรรม และ ถูกนำไปใช้ หมายถึงอะไร *ให้ กผ. รวบรวมข้อมูลวิจัยและนวัตกรรมของกรมอนามัย โดยประสานงานกับสำนัก คกก.ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงให้ คาดการณ์เป้าหมายในปี 64 ว่าเป็นกี่เท่าของข้อมูลปัจจุบัน และ Cascade เป้าหมาย *ให้นิยาม คำว่า นวัตกรรม และ ถูกนำไปใช้ หมายถึงอะไร *ให้ กผ. รวบรวมข้อมูลวิจัยและนวัตกรรมของกรมอนามัย โดยประสานงานกับสำนัก คกก.ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงให้ คาดการณ์เป้าหมายในปี 64 ว่าเป็นกี่เท่าของข้อมูลปัจจุบัน และ Cascade เป้าหมาย

25 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 19) การผ่านเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) ได้รับ Thailand Quality Award เป้าประสงค์ที่ 2 เป็นองค์กรคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงและมีธรรมาภิ บาล ตัวชี้วัด เป้าหมาย 6061626364 20) ระดับคุณธรรมและ ความโปร่งใสในการ ดำเนินงานของกรม อนามัย หน่วยงานใน สังกัดกรม อนามัยผ่าน เกณฑ์ ITA ร้อยละ 50 หน่วยงานใน สังกัดกรม อนามัยผ่าน เกณฑ์ ITA ร้อยละ100 เป้าประสงค์ที่ 3 เป็นองค์กรที่มีคุณธรรม 25 ปรับเป้าหมาย เช่น ปี 59 = 1 หมวด, ปี 60 = 3 หมวด, ปี 61-62 ทุกหมวด เป็นต้น

26 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูประบบงานสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง และมีธรรมาภิบาล กลยุทธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนองค์กรสู่การเป็นองค์กรที่มี สมรรถนะสูงและมีธรรมาภิบาล *ปรับ กลยุทธ์ให้สอดคล้องกับเป้าประสงค์ โดยกำหนดเป้าประสงค์ละ 3 กลยุทธ์ และ 1 กลยุทธ์ มีมาตรการไม่เกิน 3 มาตรการ 26

27 DOH Strategy Implementation Process DOH Strategic Plan Monitoring & Evaluation Strategic review 6 Clusters + 3 Supporting Groups 6 Clusters + 3 Supporting Groups Action plan Project risk management Strategy Cascade ส่วนกลาง Area strategic plan/Action plan Project risk management Strategy cascade ส่วนภูมิภาค Functions Strategic communication แนวทางการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ Implementation Health & Envi. Health Committee Health & Envi. Health Committee

28 กลุ่มสนับสนุน (Cluster Scorecard) หน่วยงาน (Division Scorecard) หน่วยงาน (Division Scorecard) กลุ่มงาน/บุคคล (Individual Scorecard) กลุ่มงาน/บุคคล (Individual Scorecard) เป้าประสงค์ของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่และภารกิจ ของหน่วยงานที่สนับสนุน ต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ระดับ Cluster บทบาทหน้าที่และภารกิจ ในงานประจำของ หน่วยงาน งานที่ได้รับมอบหมายเป็น พิเศษ เป้าประสงค์ระดับบุคคล บทบาทหน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์ และตัวชี้วัดของหน่วยงาน บทบาทหน้าที่งานของ บุคคล (Job Description) งานที่ได้รับมอบหมายเป็น พิเศษ กลไกการถ่ายทอด 6 Clusters และ 3 กลุ่ม สนับสนุน (Cluster Scorecard) 6 Clusters และ 3 กลุ่ม สนับสนุน (Cluster Scorecard) เป้าประสงค์ของ 6 Clusters และ 3 กลุ่มสนับสนุน บทบาทหน้าที่ของ Cluster และกลุ่ม สนับสนุน ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ระดับกรม งานที่ได้รับมอบหมาย เป็นพิเศษ กรมอนามัย (Department Scorecard) กรมอนามัย (Department Scorecard) เป้าประสงค์ของกรม นโยบายระดับชาติ ระดับ กระทรวง ระดับกรม ภารกิจ และพันธกิจตาม กฎหมาย  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง กรมกับกระทรวง  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง Cluster กับกรม  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำคำรับรองฯ ระหว่าง หน่วยงานกับ Cluster  ประเมินผลการปฏิบัติงาน  จัดทำใบมอบหมายงาน ระหว่างหกลุ่มงาน/บุคคล กับหน่วยงาน  ประเมินผลการปฏิบัติงาน กรอบแนวทางการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายกรมอนามัยสู่ระดับ Cluster ระดับ หน่วยงานและระดับบุคคล 28

29 การติดตามและประเมินผล กรมอนามัย การติดตาม (Monitoring) การติดตาม (Monitoring) การประเมินผล (Evaluation) การประเมินผล (Evaluation) การรายงาน การประชุม การตรวจราชการ และนิเทศงาน e-report -DOC -Data Center -GFMIS Manual โครงการ ตามที่ กำหนด ระดับ กระทรวง - KPI กระทรวง ระดับกรม -KPI กรม -โครงการ สำคัญ -การใช้จ่าย งบประมาณ รายเดือน รายไตรมาส รายสัปดาห์ 2 ครั้ง/ปี รายไตรมาส ประชุม ติดตาม ผลรอบ 6 และ 12 เดือน -ประชุมรอง อธิบดี -ประชุม หน่วยงาน ส่วนกลาง -ประชุมกรม อนามัย -ประชุม ผู้ทรงคุณวุฒิ /ผู้เชี่ยวชาญ -ประชุม ยุทธศาสตร์ 2 ครั้ง/ปี ประเมิน ประจำปี ประเมิน ระยะกลาง แผน ประเมิน ระยะสิ้นสุด แผน ประเมิน ประจำปี ประเมิน ระยะกลาง แผน ประเมิน ระยะสิ้นสุด แผน ศึกษาวิจัย สำรวจ จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ประเมินความ พึงพอใจ ประเมินความ พึงพอใจ ประเมินโครงการ ตามที่กำหนด ประเมินโดย ตนเอง หน่วยงานภายนอก ประเมินโดย ตนเอง หน่วยงานภายนอก ตามความเหมาะสม ของงาน ประเมินแผน ยุทธศาสตร์ แนวทางการติดตาม และประเมินผล

30 การทำประชาพิจารณ์ วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม 2559 1.จัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม 2559 2.ผู้เข้าร่วมประชาพิจารณ์ ประมาณ 40-60 คน 1) เน้นที่ เครือข่ายภาคประชาชนและเอกชน 2) หน่วยงานภายนอก  กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์  กระทรวงศึกษาธิการ  กระทรวงมหาดไทย  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  กระทรวงแรงงาน 3. กรมอนามัยทำหน้าที่เก็บประเด็น และรับคำแนะนำ 30 ติดตามความคืบหน้าของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ได้ที่เว็บไซต์กองแผนงาน  ดาวน์โหลดเอกสาร  กลุ่มพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ หรือ http://planning.anamai.moph.go.th/main.php?filename=Menu_Down1

31 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง (ต่อ) 31 3.2 รายงานความก้าวหน้าระบบเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

32 1. ตัวชี้วัด 2. มิติ Risk Factors (ปัจจัยเสี่ยง) Protective Factors (ปัจจัยการป้องกัน) Promoting Intervention (กิจกรรมการส่งเสริม) Health Outcomes (ผลลัพธ์ทางสุขภาพ) Life impact (ผลกระทบต่อชีวิต) 3.ความสำคัญของตัวชี้วัด (SDGs, Global Target, นโยบายรัฐบาล, กระทรวง, กรม, อื่นๆ) 4. ชนิดตัวชี้วัด (KPI, PI) 5.การรวบรวมข้อมูล (แหล่งข้อมูลจาก รายงานที่มีอยู่เดิม, สำรวจใหม่) รายละเอียดรายการข้อมูล (template) เพื่อการเฝ้าระวัง 32

33 ตัวชี้วัดในระบบเฝ้าระวังกรมอนามัย จำแนกตาม cluster 33

34 จำนวนตัวชี้วัดจำแนกตาม 6 Cluster และ 5 มิติประเด็นเฝ้าระวัง Cluster 5 มิติ Risk Factors Protective Factors Promoting Intervention Health Outcomes Life impactรวม จำนวน% % % % % % แม่และเด็ก 715.22350.036.51123.924.446100 วัยเรียน 15.3526.3421.1736.8210.519100 วัยรุ่น 1229.3819.524.91229.3717.041100 วัยทำงาน 214.31071.417.11 0014100 วัยสูงอายุ 00541.7433.3325.00012100 สิ่งแวดล้อม 725.91763.013.727.40027100 รวม 2918.26842.8159.436 22.7 116.9159100 34

35 จำนวนตัวชี้วัดจำแนกตาม 6 Cluster และเหตุผลความสำคัญของตัวชี้วัด Cluster เหตุผลความสำคัญของตัวชี้วัด (rationale) SDGs Global Target นโยบาย รัฐบาล กระทรวงกรม หน่วยงาน รวม จำนวน% % % % % % % แม่และเด็ก 1626.71118.3711.77 1931.700.060 100 วัยเรียน 937.5312.528.3416.7625.000.024 100 วัยรุ่น 919.11225.512.148.52144.700.047 100 วัยทำงาน 216.72 00.018.3758.300.012 100 วัยสูงอายุ 210.500.0315.8421.1526.35 19 100 สิ่งแวดล้อม 1122.4510.21734.7816.348.24 49 100 รวม 4923.23315.63014.22813.36229.494.3211 100 หมายเหตุ : ตัวชี้วัดสามารถอยู่ได้หลาย rationale 35

36 จำนวนตัวชี้วัดจำแนกตาม 6 Cluster และชนิดตัวชี้วัด Cluster ลักษณะสำคัญตัวชี้วัด KPIPIรวม จำนวน% % % แม่และเด็ก 1737.02963.046 100 วัยเรียน 526.31473.719 100 วัยรุ่น 512.23687.841 100 วัยทำงาน 642.9857.114 100 วัยสูงอายุ 650.06 12 100 สิ่งแวดล้อม 1451.91348.127 100 รวม 5333.310666.7159 100 36

37 จำนวนตัวชี้วัดจำแนกตาม 6 Cluster และการรวบรวมข้อมูล Cluster การรวบรวมข้อมูล รายงานที่มีอยู่เดิมสำรวจใหม่รวม จำนวน% % % แม่และเด็ก 3371.71328.346 100 วัยเรียน 1263.2736.819 100 วัยรุ่น 3892.737.341 100 วัยทำงาน 642.9857.114 100 วัยสูงอายุ 1083.3216.712 100 สิ่งแวดล้อม 1140.71659.327 100 รวม 11069.24930.8159 100 37

38 จำนวนตัวชี้วัดจำแนกตาม 6 Cluster และความถี่รวบรวมข้อมูล Cluster ความถี่รวบรวมข้อมูล ภาคการศึกษาไตรมาส6 เดือน1 ปี3 ปีขึ้นไปรวม จำนวน% % % % % % แม่และเด็ก 001532.6613.02350.024.346 100 วัยเรียน 421.11263.215.300210.519 100 วัยรุ่น 24.900002868.31126.841 100 วัยทำงาน 0000001285.7214.314 100 วัยสูงอายุ 0000325.0975.000.012 100 สิ่งแวดล้อม 00311.1002488.900.027 100 รวม 63.8159.4106.39660.41710.7159 100 38

39 แม่และเด็ก แม่และเด็ก : แม่ตาย, เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย, สูงดีสมส่วน วัยเรียน วัยเรียน : เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ, สูงดีสมส่วน วัยรุ่น วัยรุ่น : วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม, สูงดีสมส่วน วัยทำงาน วัยทำงาน : ประชากรวัยทำงานหุ่นดี สุขภาพดี วัยสูงอายุ วัยสูงอายุ : ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี อนามัยสิ่งแวดล้อม อนามัยสิ่งแวดล้อม : ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการด้านอนามัย สิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities) ประเด็นการเฝ้าระวัง 39

40 แผนปฏิบัติการดำเนินงานเฝ้าระวังการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่ กิจกรรม Feb-59Mar-59Apr-59May-59Jun-59Jul-59Aug-59Sep-59 1เสนอโครงสร้างคณะกรรมการดำเนินงานระบบเฝ้าระวัง 23 2จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ 23-26 3กำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงาน 31 4จัดทำแบบบันทึกรายละเอียดรายการข้อมูล (Template) 1-5 5สำนัก/กองวิชาการ และ Cluster ทบทวน ตัวชี้วัด 27 - สำนัก/กองวิชาการ และCluster ส่งข้อมูล 3 - วิเคราะห์สรุปผล 8-17 6สำนัก/กองวิชาการ รายงานข้อมูลตัวชี้วัดย้อนหลัง 5 ปี 9-30 7เรียบเรียง วิเคราะห์ แปลผลข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี และ จัดทำรายงานสรุป 1-15 8สำนัก/กองวิชาการ และ Cluster ให้รายละเอียด งบประมาณ และวิธีการสำรวจ ตัวชี้วัดที่ต้องสำรวจเอง 1-15 9ศึกษาข้อมูลรายการข้อมูลตัวชี้วัดที่มีอิทธิพลต่อประเด็น การเฝ้าระวัง 18-31 10จัดทำเอกสารมาตรฐานคู่มือระบบเฝ้าระวัง 1-31 11นำเสนอขอข้อเสนอแนะจากผู้บริหาร 13 12วิเคราะห์ออกแบบระบบสารสนเทศเฝ้าระวังการส่งเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 1-311-30 40

41 41

42 วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง (ต่อ) 42 3.3 รายงานความก้าวหน้าระบบการคลัง และงบประมาณ กรมอนามัย

43 ประเด็นการนำเสนอ 2. ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 1. สถานการณ์ปัจจุบัน 3. Next Step 43

44 1. สถานการณ์ปัจจุบัน 1.1 มีการประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการบริหารการ เปลี่ยนแปลงด้านระบบการคลังและงบประมาณ (Fin) 2 ครั้ง เมื่อ วันที่ 10 และ 16 มิถุนายน 2559 โดยมีท่านรองณัฐพร เป็น ประธานการประชุม 1.2 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 (8.00-9.00 น.) คณะกรรมการฯ Fin ได้มีการประชุมกับท่านอธิบดี เพื่อรายงานผลความก้าวหน้า การดำเนินงานและปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานระบบการคลัง และงบประมาณ 44

45 2.1 ได้มีการทบทวนกระบวนการคลังและงบประมาณ กรณีเงิน งบประมาณ โดยยังคงมีกระบวนการหลัก 3 ส่วนสำคัญ เหมือนเดิม คือ * ส่วนที่ 1 : การจัดทำงบประมาณ * ส่วนที่ 2 : การจัดสรร และการบริหารงบประมาณ * ส่วนที่ 3 : การติดตามประเมินผล แต่ได้มีการปรับปรุงกระบวนงานย่อยของส่วนที่ 2 ซึ่งขณะนี้ทาง ทีม Fin กำลังดำเนินงานปรับปรุงอยู่ 2. ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 45

46 3. Next Step กระบวนการหลัก 3 ส่วนสำคัญกระบวนงานย่อย ส่วนที่ 1 : การจัดทำงบประมาณ- การจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมอนามัย (มีการปรับปรุงกระบวนงานย่อย และระบบ) ส่วนที่ 2 : การจัดสรรงบประมาณ- การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย (หลักการและแนวทางการจัดสรร งบประมาณฯ) : การบริหารงบประมาณ-กำหนดแผนการจัดหาตามแบบฟอร์ม อิเล็กทรอนิกส์ พร้อมจัดทำแผนกระบวนการพัสดุกรม อนามัยเชิงรุก (พ.ศ.2560) - จัดทำแนวทางกระบวนการกำกับและเร่งรัดการใช้จ่าย งบประมาณ (พ.ศ.2560) ส่วนที่ 3 : การติดตามประเมินผล- จัดทำแนวทางการติดตามประเมินผลการใช้จ่าย งบประมาณและการดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติงาน (พ.ศ.2560) สื่อสาร ชี้แจง ทำความเข้าใจต่อผู้เกี่ยวข้อง เป็นระยะ 46

47 Core Business การจัดทำคำขอ งบประมาณ (สำนัก/กอง/ ศูนย์) Screen & Select Production คำขอ งบประมาณ แต่ละ Cluster Screen & Select Production คำขอ งบประมาณ กรมอนามัย Sale & Service 1. สธ. 2. สงป. Output/ Outcome งบประมาณ รายจ่าย ประจำปี การจัดสรรงบประมาณ งบประมาณที่ ได้รับแต่ละ Cluster (Agenda) กระบวนการบริหารการคลังและงบประมาณ (ปรับปรุงตามมติที่ประชุม 16 มิถุนายน 2559) การจัดทำงบประมาณ การบริหารงบประมาณ Cluster Committee (รองอธ ประธาน) Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) Cluster Committee (รองอธ ประธาน) 3. สนช. IT งบประมาณ (Function) กลุ่ม Fin กลุ่ม Fin (งบประมาณ ภาพรวม) Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) งบประมาณที่ ได้รับ (สำนัก/กอง/ ศูนย์) จัดทำแผนปฏิบัติการและ แผนการใช้จ่าย งบประมาณ (สำนัก/กอง/ศูนย์) ระบบ DOC จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง บัญชี การเบิกจ่าย การตรวจสอบ ภายใน Health& Env H Committee (อธิบดี ประธาน) (รองอธ. เลขา) (กองผ.ผช.เลขา) ดำเนินการ กลุ่ม Fin แผนปฏิบัติการ และแผนการ ใช้จ่าย งบประมาณ กรมอนามัย ? การติดตามประเมินผล รายงานผลการใช้ จ่ายงบประมาณ (สำนัก/กอง/ศูนย์) กลุ่ม Fin ระบบติดตามงบประมาณ ในที่ประชุมกรม

48 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ 48 4.1 การเตรียมการชี้แจงงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย เสนอต่อสภา นิติบัญญัติแห่งชาติ 4.3 การนิเทศงานกรมอนามัย รอบที่ 2/2559 4.3 ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์กรมอนามัย (E-Service) 4.2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี ของกระทรวงสาธารณสุข

49 4.1 การเตรียมการชี้แจงงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย เสนอต่อสภานิติบัญญัติ 4.1 การเตรียมการชี้แจงงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมอนามัย เสนอต่อสภานิติบัญญัติ วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ) 49

50 ประเด็นการนำเสนอ สถานการณ์ปัจจุบัน Next Step 1. 2. 50

51 51 ประเทศ กระทรวง สาธารณสุข กรมอนามัย 6 ยุทธศาสตร์+ 1 รายการค่าดำเนินการ ภาครัฐ แผนงานยุทธศาสตร์ 45 แผนงาน (บูรฯ 25 /ไม่บูรฯ 20) แผนงานพื้นฐาน 6 แผนงานหลัก 45 แผนงานรอง แผนงานบุคลากรภาครัฐ 1 แผนงานหลัก/ แผนงานรอง 45 ด้าน / งบกลาง 5 รายการ 2,733,000.00 ล้านบาท 6 ยุทธศาสตร์+ 1 รายการค่าดำเนินการ ภาครัฐ แผนงานยุทธศาสตร์ 15 แผนงาน (บูรฯ 13/ไม่บูรฯ 2) แผนงานพื้นฐาน 4 แผนงานหลัก 4 แผนงานรอง แผนงานบุคลากรภาครัฐ 1 แผนงานหลัก/ แผนงานรอง 3 ด้าน 130,728.53 ล้านบาท (ไม่รวมกองทุน) 5 ยุทธศาสตร์+ 1 รายการค่าดำเนินการ ภาครัฐ แผนงานยุทธศาสตร์ 6 แผนงาน (บูรฯ 5/ไม่บูรฯ 1) แผนงานพื้นฐาน 1 แผนงานหลัก 1 แผนงานรอง แผนงานบุคลากรภาครัฐ 1 แผนงานหลัก/ แผนงานรอง 1 ด้าน 2,010.48 ล้านบาท 1. 51

52 ลำดับงบรายจ่ายงบประมาณที่ ได้รับปี 2559 คำของบประมาณ ฯปี 2560 (Pre-Ceiling) (ร่าง) พรบ. งบประมาณ รายจ่าย ปี 2560 เพิ่ม-ลด จากปี 2559 จำนวน% 1งบบุคลากร1,242.761,279.801,208.68 -34.08-2.74 2งบดำเนินงาน494.571,218.46599.71 105.1421.26 3งบลงทุน205.70388.76172.18 -33.52-16.29 4งบอุดหนุน6.448.265.36 -1.08-16.77 5งบรายจ่ายอื่น30.1933.7124.55 -5.64-18.68 รวม1,979.662,928.992,010.48 30.821.56 หน่วย : ล้านบาท (ร่าง) พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2560 เทียบกับงบประมาณที่ได้รับปี พ.ศ. 2559 กรมอนามัย (ร่าง) พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2560 เทียบกับงบประมาณที่ได้รับปี พ.ศ. 2559 กรมอนามัย 1. 52

53 Next Step 2. 2.1 กำหนดตารางเวลาการประชุม : จะมีการประชุมวันจันทร์-วันศุกร์ - วันจันทร์ วันพุธ วันพฤหัสบดี และวันศุกร์ เวลา 9.00-18.00 น. - สำหรับวันอังคาร เวลา 13.00-18.00 น. 2.2 ลำดับและวิธีการพิจารณา ปีนี้จะมีการพิจารณาจากกลุ่มภารกิจ 4 กลุ่ม (ด้านเศรษฐกิจ สังคม มั่นคง และด้านบริหาร) โดยแผนงานบูรณาการ 25 แผนงาน อยู่ ภายใต้กลุ่มภารกิจอยู่ในกระทรวง/กรม และมีเจ้าภาพหลักในแต่ละบูรณาการ โดยในส่วนที่กรมอนามัยเกี่ยวข้อง มีดังนี้ 53

54 Next Step 2. ลำดับกระทรวง/หน่วยงานแผนงานบูรณาการ 1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม -บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (กรมควบคุมมลพิษ) 12 กระทรวงสาธารณสุข-พัฒนาระบบประกันสุขภาพ (สนง. หลักประกันสุขภาพ) 15 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ -การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย (สป. พัฒนาสังคมฯ) - สร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ (กรมกิจการผู้สูงอายุ) 23 ส่วนราชการที่ไม่สังกัดสำนัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง - ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (วช./สป. วิทยาศาสตร์) 24 หน่วยงานอิสระของรัฐ- ป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ปปช.) 54

55 ปฏิทินสำนักงบประมาณปฏิทินกรมอนามัย วัน/ เดือน /ปีกิจกรรมวัน/ เดือน /ปีกิจกรรมผู้รับผิดชอบ 24 มิ.ย.-30 ส.ค.59 - คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ พิจารณาร่าง พรบ. งปม. 60 24 มิ.ย.-30 ส.ค.59-เข้าร่วมชี้แจงคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ พิจารณา ร่าง พรบ.งปม.ปี 60 24 มิ.ย.- 15 ส.ค.59 - ส่วนราชการและสำนักงบประมาณ เตรียมข้อมูลและเข้าร่วมชี้แจง รายละเอียด งปม.60 ต่อคณะกรรมาธิการฯ *คาดว่าวันที่ 4 ก.ค.- 15 ส.ค.59 กรมเข้าชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯและคณะอนุกรรมาธิการฯ 4 -6 ก.ค.59 - แผนบูรณาการบริหารจัดการ ขยะและสิ่งแวดล้อม -รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย -กองแผนงาน -หน่วยงานเจ้าภาพ 26-28 ก.ค.59 -ภาพรวมกระทรวง สาธารณสุขและหน่วยงานในกำกับ -อธิบดี รองอธิบดีทุกท่าน -กองแผนงาน -ทุกหน่วยงาน 29 ก.ค.-1ส.ค.59 - แผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย -รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย -กองแผนงาน -หน่วยงานเจ้าภาพ - แผนบูรณาการสร้างความเสมอ ภาคผู้สูงอายุ 11 ส.ค.59 - แผนบูรณาการส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา -รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย -กองแผนงาน -หน่วยงานเจ้าภาพ 11-15 ส.ค.59 - แผนบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ -รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย -กองแผนงาน -หน่วยงานเจ้าภาพ Next Step 2. 55

56 ปฏิทินสำนักงบประมาณปฏิทินกรมอนามัย วัน/ เดือน /ปีกิจกรรมวัน/ เดือน /ปีกิจกรรมผู้รับผิดชอบ 13-21 ก.ค.59- ส่วนราชการฯ จัดทำรายละเอียด การเพิ่มงบประมาณรายจ่ายฯ ปี 2560 ตามหลักเกณฑ์ที่ครม.ให้ความ เห็นชอบ นำเสนอรมว. เจ้าสังกัดให้ ความเห็นชอบและส่งสำนัก งบประมาณ (แปรญัตติ) 13-21 ก.ค. 59-จัดทำรายละเอียดการเพิ่ม งบประมาณรายจ่ายฯ ปี 2560 ตาม หลักเกณฑ์ที่ครม.ให้ความเห็นชอบ นำเสนอรมว. เจ้าสังกัดให้ความ เห็นชอบและส่งสำนักงบประมาณ (แปรญัตติ) -6 Clusters -คณะกรรมการฯ -กองแผนงาน 9 ส.ค.59- ครม. ให้ความเห็นชอบรายการเพิ่ม หรือเปลี่ยนแปลง งปม.60 แจ้งกรม 17 ส.ค.59- คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ พิจารณารายการแปรญัตติเพิ่มและ เปลี่ยนแปลงงบประมาณ ปี 60 8 ก.ย.59- วาระที่ 2-3 สภานิติบัญญัติฯ ให้ ความเห็นชอบร่าง พรบ. งบประมาณ ปี 60 8 ก.ย.59-Stand by ให้ข้อมูลที่สภาฯ -Stand by ให้ข้อมูลที่หน่วยงาน -กองแผนงาน -ทุกหน่วยงาน 16 ก.ย.59- สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นำ ร่างพรบ.งบประมาณปี 60 ขึ้น ทูลเกล้าฯ 16 ก.ย.59-ทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณปี 2560 กรม อนามัย (แผน สงป.) -กองแผนงาน -กองคลัง Next Step 2. 56

57 57 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ) 4.2 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี ของกระทรวงสาธารณสุข

58 แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พ.ศ.2560-2579 58

59 แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี พ.ศ.2560-2579 59

60 60

61 61

62 เป้าหมายที่2 : เจ้าหน้าที่มีความสุข ดัชนีวัดความสุขด้วยตนเองของ คนทำงานในองค์กร (Happinometer) ดัชนีสุขภาวะองค์องค์กร (Happy Workplace Index) 62

63 AccessCoverageQualityGovernance การเพิ่มจำนวน แพทย์ใน โรงพยาบาลเขต เมืองและชนบท การเพิ่มบุคลากร สหวิชาชีพ อัตราความ ครอบคลุมของ ประชาชนได้รับ วัคซีนครบตาม โปรแกรม EPI HA/PCAITA Expenditure of GDP การเพิ่มจำนวน เตียงใน สถานพยาบาลให้ เพียงพอต่อความ ต้องการ มีบริการแพทย์ แผนไทยในสถาน บริการสุขภาพทุก ระดับ อัตราการคัดกรอง ผู้ป่วย (Screening) พัฒนามาตรฐานยา และวัคซีน พัฒนาเทคโนโลยีใน การผลิตยา/ สมุนไพร/วัคซีน/ เครื่องมือทาง การแพทย์ ระยะเวลาที่ ประชาชนรอคอย รับการรักษาจาก สถานพยาบาล (Waiting Time) อัตราการเข้ารับ บริการผู้ป่วยในซ้ำ (Readmission rate) Satisfaction Index Finance Restructuring IT on system เป้าหมายที่3 : ระบบสุขภาพยั่งยืน 63

64 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ) 4.3 การนิเทศงานกรมอนามัย รอบที่ 2/2559 4.3 การนิเทศงานกรมอนามัย รอบที่ 2/2559 64

65 2. วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และให้ข้อเสนอแนะ การแก้ปัญหาทั้งด้านวิชาการและการบริหารจัดการ 2. วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และให้ข้อเสนอแนะ การแก้ปัญหาทั้งด้านวิชาการและการบริหารจัดการ 3. เรียนรู้ความสำเร็จร่วมกัน 4. รับทราบแผนการดำเนินงาน ปี งปม. 60 65

66 กำหนดการนิเทศงานกรมอนามัย รอบที่ 2/2559 โครงการสำคัญของกรมอนามัย ตัวชี้วัดตามข้อตกลงการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) ปี งปม.2559 งานตามพันธกิจ/การเบิกจ่ายเงิน งปม. และเงินบำรุง ความก้าวหน้าการดำเนินงาน Change ปัญหาอุปสรรค และข้อขัดข้องในด้านวิชาการและด้าน บริหารจัดการ การให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนางาน 3 6 5 4 2 1 66

67 นพ.ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ศอ. 11 นศ. 21 ก.ค. ศอ. 12 ยล.28 - 30 ก.ค. ศอ. 13 กทม.1 ก.ค. ศอ. 11 นศ. 21 ก.ค. ศอ. 12 ยล.28 - 30 ก.ค. ศอ. 13 กทม.1 ก.ค. ศอ.7 ขก./ศอ.8 อด. 17 ส.ค. ศอ.9 นม.27 ก.ค. ศอ.10 อบ.22 ก.ค. ศอ.4 สบ.31 ก.ค. - 1 ส.ค. ศอ.5 รบ.9 - 10 ส.ค. ศอ.6 ชบ.14 - 15 ส.ค. กทป.ชม. 18 - 19 ส.ค. ศอ.4 สบ.31 ก.ค. - 1 ส.ค. ศอ.5 รบ.9 - 10 ส.ค. ศอ.6 ชบ.14 - 15 ส.ค. กทป.ชม. 18 - 19 ส.ค. ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ นพ.ดนัย ธีวันดา ศอ.1 ชม./ศพส.ลป. 25 - 26 ส.ค. ศอ.2 พล. 25 - 26 ก.ค. ศอ.3 นว. 10 - 11 ส.ค. ศอ.1 ชม./ศพส.ลป. 25 - 26 ส.ค. ศอ.2 พล. 25 - 26 ก.ค. ศอ.3 นว. 10 - 11 ส.ค. กำหนดการนิเทศงานกรม รอบที่ 2/2559 67

68 1. รองอธิบดีกรมอนามัยที่ได้รับมอบหมาย หัวหน้าทีม 5. ผู้อำนวยการกองแผนงาน เลขานุการทีม 4. ผู้ที่หัวหน้าทีมนิเทศพิจารณาให้ร่วมทีมนิเทศ 3. ผู้อำนวยการสายส่งเสริมสุขภาพ/ อนามัย สิ่งแวดล้อม/ อำนวยการ 3. ผู้อำนวยการสายส่งเสริมสุขภาพ/ อนามัย สิ่งแวดล้อม/ อำนวยการ 2. ผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการกรมส่วนกลาง เขต 1-13 68

69 3) ให้ข้อเสนอแนะเพื่อเสริมจุดแข็ง ลบจุดอ่อน ของหน่วยรับการนิเทศ และร่วมกำหนดแนว ทางการแก้ไขปัญหา อุปสรรคและ ข้อขัดข้อง 3) ให้ข้อเสนอแนะเพื่อเสริมจุดแข็ง ลบจุดอ่อน ของหน่วยรับการนิเทศ และร่วมกำหนดแนว ทางการแก้ไขปัญหา อุปสรรคและ ข้อขัดข้อง 1)ศึกษาสถานการณ์/ผลงานของหน่วยรับการนิเทศ 2) จัดเตรียมข้อมูลพื้นฐาน/ข้อมูลสารสนเทศ ตามกรอบการนิเทศงาน 2) จัดเตรียมข้อมูลพื้นฐาน/ข้อมูลสารสนเทศ ตามกรอบการนิเทศงาน 4) ประมวล วิเคราะห์ และสรุปผลการ นิเทศงานพร้อมข้อเสนอแนะ 4) ประมวล วิเคราะห์ และสรุปผลการ นิเทศงานพร้อมข้อเสนอแนะ 69

70 1)ศึกษาสถานการณ์/ผลงานของหน่วยรับการนิเทศ 2) เตรียมพื้นที่เพื่อรับการตรวจเยี่ยม (ถ้ามี) 3) รับการนิเทศงานของทีมนิเทศ อำนวยความ สะดวกแก่ทีมในการติดตามการดำเนินงานโครงการ 4) นำเสนอข้อมูลและตอบข้อซักถามในประเด็นทีม นิเทศมีข้อสงสัย 5) รับฟังการสรุปผลและการให้ข้อเสนอแนะเพื่อรับ ไปดำเนินการต่อ 6) ส่งข้อมูลบางส่วนให้ทีมนิเทศ (ถ้ามี) 70

71 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ) 4.4 ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์กรมอนามัย (E-Service) 71

72 วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ ของหน่วยงานสังกัดกรม อนามัย ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด กิจกรรมการดำเนินงาน 1.จัดการประชุมชี้แจง/ติดตามการดำเนินงานของโครงการ 2. จัดการประชุมวิชาการ เรื่อง “การพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรม อนามัย” 3. จัดการประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย 4. เผยแพร่ผลงานการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย กรมอนามัยอนุมัติโครงการ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 โครงการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 72

73 การประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2559 ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service) เป็นระบบการบริการ ของหน่วยงาน ที่พัฒนาโดยการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อให้บริการแก่ประชาชน/ชุมชน กลุ่มเป้าหมายต่างๆ และ/หรือ บุคลากรและองค์กรต่างๆ ทั้ง ภายในและภายนอกหน่วยงาน โดยเฉพาะ การให้บริการผ่านระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต และ การให้บริการผ่านคอมพิวเตอร์แบบ แท็ปเล็ตและโทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟน เป็นองค์ประกอบสำคัญ ของการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 73

74 หัวข้อการประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปี 2559 แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อ ได้แก่ หัวข้อที่ 1 ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน (โดยความสมัครใจ) แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 2 ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่หน่วยงานเป็นผู้พัฒนา โดยเขียนหรือ จัดทำโปรแกรมเอง ประเภทที่ 3 ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่หน่วยงานเป็นผู้พัฒนาเอง แต่เป็นการ พัฒนาโดยการ ประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่าง ๆ ได้แก่ Easy Web Time, Joomla, Wordpress, Facebook, Line ฯลฯ สำหรับระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่หน่วยงานไม่ได้เป็นผู้พัฒนาเอง แต่เป็นการ จ้างผู้อื่นให้พัฒนาให้ ซึ่งมีในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ไม่จัดการประกวด อย่างไรก็ตาม ระบบบริการฯดังกล่าวจะได้รับเชิญ เข้าร่วมการประชุมวิชาการ การพัฒนาระบบ บริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ด้วย เพื่อนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ หน่วยงานต่าง ๆ นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ทั้งนี้ให้นำเสนอ “ต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา” ด้วย 74

75 หลักเกณฑ์การตัดสินการประกวด หัวข้อที่ 1 แบ่งออกเป็น 2 ข้อ คะแนนรวม 100 คะแนน โดยแต่ละข้อมีคะแนน ดังนี้ 1. ผู้ใช้บริการได้ประโยชน์ ( 50 คะแนน) 1.1 การเข้าถึงและการใช้บริการ ง่าย สะดวก รวดเร็ว และ ลดค่าใช้จ่ายของ ผู้ใช้บริการ 1.2 ผู้ใช้บริการได้รับบริการที่มีคุณภาพตามที่ต้องการ 1.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 2. ประสิทธิภาพของระบบบริการฯ ( 50 คะแนน) 2.1 ลดขั้นตอน ลดระยะเวลา ลดจำนวนผู้ปฏิบัติงาน ประหยัดทรัพยากร การ ให้บริการ 2.2 ลดค่าใช้จ่ายการให้บริการ 2.3 มีความมั่นคงปลอดภัย 2.4 มีแนวทางที่สามารถนำไปพัฒนาเพิ่มเติมต่อยอดได้ สำหรับหลักเกณฑ์ เรื่อง ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการพัฒนามีความเหมาะสม ได้ตัดออกไป เนื่องจากได้ตัดการประกวดประเภทหน่วยงานจ้างพัฒนา ออกไป เหลือแต่การประกวดประเภท หน่วยงานพัฒนาเอง ซึ่งส่วนใหญ่จะมีต้นทุนค่าใช้จ่ายในการพัฒนาที่ไม่แตกต่างกัน ไม่เป็น หลักเกณฑ์ที่ดีสำหรับการประกวด 75

76 รางวัลสำหรับหน่วยงานที่ชนะการประกวด หัวข้อที่ 1 ประเภทที่ 1 รางวัลที่ 1 เงินรางวัลมูลค่า 7,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลที่ 2 เงินรางวัลมูลค่า 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลที่ 3 เงินรางวัลมูลค่า 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลสำหรับหน่วยงานที่ชนะการประกวด หัวข้อที่ 1 ประเภทที่ 2 รางวัลที่ 1 เงินรางวัลมูลค่า 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลที่ 2 เงินรางวัลมูลค่า 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลที่ 3 เงินรางวัลมูลค่า 2,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ 76

77 หัวข้อที่ 2 การพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน (โดยปริยาย) หัวข้อที่ 2 การพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน (โดยปริยาย) รายละเอียดหลักเกณฑ์การตัดสินการประกวด คะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งเป็น 1. ส่วนบนของเว็บไซต์ 35 คะแนน ประกอบด้วย 1.1 Logo กรมอนามัย ชื่อหน่วยงาน ระบบสืบค้นข้อมูล เป็นต้น (5 คะแนน) 1.2 เมนูหลักและเมนูย่อย (30 คะแนน) ประกอบด้วย 1.2.1 หน้าหลัก 1.2.2 รู้จักหน่วยงาน (10 คะแนน) ประกอบด้วยเมนูย่อย ได้แก่ ประวัติความเป็นมา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผู้บริหารหน่วยงาน เกี่ยวกับซีไอโอ โครงสร้างหน่วยงาน ภารกิจและหน้าที่ความรับชอบของหน่วย งาน หน่วยงานในสังกัด แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ แผนงาน/โครงการและงบประมาณ รายจ่ายประจำปี คำรับรองและรายงานผลการปฏิบัติราชการ และ กฎระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น 1.2.3 บริการประชาชนของหน่วยงาน (15 คะแนน) ประกอบด้วยเมนูย่อย ได้แก่ ข้อมูลบริการประชาชน : กลุ่มความรู้สุขภาพ (8 คะแนน) แจ้งเรื่องร้องเรียน (2 คะแนน) กระดานถาม-ตอบ (2 คะแนน) และ การบริการออนไลน์ (e-Service) (3 คะแนน) เป็นต้น 1.2.4 สำหรับเจ้าหน้าที่ (3 คะแนน) ประกอบด้วยเมนูย่อย ได้แก่ ระบบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ เป็นต้น 1.2.5 ติดต่อหน่วยงาน ( 2คะแนน) ได้แก่ เบอร์โทรศัพท์ โทรสาร และ แผนที่ตั้งของหน่วยงาน เป็นต้น 77

78 2. ส่วนกลางของเว็บไซต์ 5 คะแนน ประกอบด้วย แบบสำรวจออนไลน์ การจัดซื้อจัดจ้าง ระเบียงคุณธรรม ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ดาวน์โหลดเอกสาร ข่าวประชาสัมพันธ์ และ ข่าวหนังสือพิมพ์ เป็นต้น 3. ส่วนล่างของเว็บไซต์ 5 คะแนน ประกอบด้วย แบนเนอร์ Link ของหน่วยงานภายนอก ผังเว็บไซต์ ช่องทางการติดต่อกับผู้ใช้บริการ เช่น ที่อยู่, E-Mail, Facebook,Twitter และ แผนที่หน่วยงาน เป็นต้น 4. การให้บริการของหน่วยงานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) 25 คะแนน ประกอบด้วย 4.1 การบริการออนไลน์ (e-Service) (10 คะแนน) 4.2 การลงทะเบียนออนไลน์ (Register Online) (5 คะแนน) 4.3 e-Forms / Online Forms (5 คะแนน) 4.4 การให้บริการเฉพาะบุคคล (Personalized e-Services) (5 คะแนน) 5. คุณลักษณะที่ควรมี (Recommended Features) 30 คะแนน ประกอบด้วย 5.1 การแสดงผลเว็บไซต์อย่างน้อย 2 ภาษา (10 คะแนน) 5.2 มีการนำเสนอเนื้อหาในรูปแบบของเสียงและวีดีโอ (4 คะแนน) 5.3 มีการใช้งาน Really Simple Syndication (RSS) (4 คะแนน) 5.4 มีเครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูลการเยี่ยมชมเว็บไซต์ (Web Analytic) (2 คะแนน) 5.5 การพัฒนาเว็บไซต์ให้ทุกคนเข้าถึงได้ตามแนวทางของ W3C (10 คะแนน) 78

79 รางวัลสำหรับหน่วยงานผู้ชนะการประกวด หัวข้อที่ 2 การพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน  รางวัลชนะเลิศที่ 1 เงินรางวัลมูลค่า 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ  รางวัลชนะเลิศที่ 2 เงินรางวัลมูลค่า 2,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ  รางวัลชนะเลิศที่ 3 เงินรางวัลมูลค่า 1,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ 79

80 หัวข้อที่ 3. การพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงานให้รองรับอุปกรณ์พกพา (โดยปริยาย) รายละเอียดหลักเกณฑ์การตัดสินการประกวด คะแนนเต็ม 100 คะแนน แบ่งเป็น 1. ส่วนบนของเว็บไซต์ 5 คะแนน ประกอบด้วย Logo กรมอนามัย ชื่อหน่วยงาน หน้าหลัก เป็น ต้น 2. ส่วนกลางของเว็บไซต์ 95 คะแนน ประกอบด้วย 2.1 รู้จักหน่วยงาน (30 คะแนน) ประกอบด้วยเมนูย่อย ได้แก่ ประวัติความเป็นมา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผู้บริหารหน่วยงาน โครงสร้างหน่วยงาน หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงาน หน่วยงานในสังกัด และ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น 2.2 บริการประชาชนของหน่วยงาน (60 คะแนน) ได้แก่ ข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงาน/ ข้อมูลสุขภาพ/สาระความรู้สุขภาพ (30 คะแนน) ระบบการบริการออนไลน์ (e-Service) บนอุปกรณ์พกพา (20 คะแนน) และ ข่าวประชาสัมพันธ์ (10 คะแนน) เป็นต้น 2.3 ติดต่อหน่วยงาน (5 คะแนน) ได้แก่ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ โทรสาร และ แผนที่ตั้ง หน่วยงาน เป็นต้น รางวัลสำหรับหน่วยงานผู้ชนะการประกวด หัวข้อที่ 3 รางวัลที่ 1 เงินรางวัลมูลค่า 2,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลที่ 2 เงินรางวัลมูลค่า 1,500 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลที่ 3 เงินรางวัลมูลค่า 1,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ 80

81 การดำเนินงานของโครงการ 1. การประชุม เรื่อง “การประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย” เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2559 ระหว่างเวลา 10.00 – 11.30 น. ณ ห้องประชุมกองแผนงาน และ ระบบการประชุมทางไกล GIN Conference ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ - บุคลากรที่รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน สังกัดกรมอนามัย ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สาระสำคัญของการประชุม - ชี้แจง โครงการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำ ปีงบประมาณ 2559 - กำหนดหัวข้อ ประเภท หลักเกณฑ์การตัดสิน รางวัล และ ขั้นตอนกำหนดการ ของการประกวดฯ ร่วมกัน - กองแผนงาน รวบรวมความเห็นและจัดทำหัวข้อ ประเภท หลักเกณฑ์การตัดสิน รางวัล และ ขั้นตอนกำหนดการของการประกวดฯ แจ้งหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อขอ ความร่วมมือและการมีส่วนร่วมในการประกวดฯ 81

82 2. กองแผนงานแจ้งขอความร่วมมือจากหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย ทั้งใน ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ส่งระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์เข้าร่วมการ ประกวดฯ บันทึกฯกองแผนงาน เลขที่ สธ 0905.05 / ว 641 ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2559 สาระสำคัญ - โครงการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2559 - รายละเอียดการประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปี 2559 - หัวข้อ ประเภท หลักเกณฑ์การตัดสิน และ รางวัล - กรอกแบบฟอร์ม “รายละเอียดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งเข้าร่วมการ ประกวด” ของหน่วยงาน ส่งกองแผนงาน ภายในวันที่ 18 มิถุนายน 2559 2. กองแผนงานแจ้งขอความร่วมมือจากหน่วยงานสังกัดกรมอนามัย ทั้งใน ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ส่งระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์เข้าร่วมการ ประกวดฯ บันทึกฯกองแผนงาน เลขที่ สธ 0905.05 / ว 641 ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2559 สาระสำคัญ - โครงการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2559 - รายละเอียดการประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปี 2559 - หัวข้อ ประเภท หลักเกณฑ์การตัดสิน และ รางวัล - กรอกแบบฟอร์ม “รายละเอียดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งเข้าร่วมการ ประกวด” ของหน่วยงาน ส่งกองแผนงาน ภายในวันที่ 18 มิถุนายน 2559 82

83 3. การประชุม เรื่อง การชี้แจงและทบทวนการประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2559 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2559 - หน่วยงานส่วนกลาง ณ ห้องประชุมกองแผนงาน ระหว่างเวลา 10.30 – 11.45 น. - หน่วยงานส่วนภูมิภาค ผ่านระบบการประชุมทางไกล ระหว่างเวลา 14.30 – 15.30 น. ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ - บุคลากรที่รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน สังกัดกรมอนามัย ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สาระสำคัญของการประชุม - รายงานระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน ที่ส่งเข้าร่วมการประกวดฯ ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2559 - ทบทวนหัวข้อ ประเภท หลักเกณฑ์การตัดสิน รางวัล และ ขั้นตอนกำหนดการ ของการประกวดฯ รวมทั้งปัญหาอุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ - กองแผนงาน รวบรวมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อดำเนินการต่อไป 3. การประชุม เรื่อง การชี้แจงและทบทวนการประกวดระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2559 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2559 - หน่วยงานส่วนกลาง ณ ห้องประชุมกองแผนงาน ระหว่างเวลา 10.30 – 11.45 น. - หน่วยงานส่วนภูมิภาค ผ่านระบบการประชุมทางไกล ระหว่างเวลา 14.30 – 15.30 น. ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ - บุคลากรที่รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน สังกัดกรมอนามัย ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สาระสำคัญของการประชุม - รายงานระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน ที่ส่งเข้าร่วมการประกวดฯ ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2559 - ทบทวนหัวข้อ ประเภท หลักเกณฑ์การตัดสิน รางวัล และ ขั้นตอนกำหนดการ ของการประกวดฯ รวมทั้งปัญหาอุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ - กองแผนงาน รวบรวมข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อดำเนินการต่อไป 83

84 รายชื่อระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงาน ที่ส่งเข้าร่วมการประกวด หัวข้อที่ 1 (โดยความสมัครใจ) ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2559 1. ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย ประเภทที่ 1 1.1 ระบบรายงานผลทดสอบ บนอุปกรณ์พกพา โดย นายชาลี วุฒิสรรค์ 2. ศูนย์อนามัยที่ 5 จังหวัดราชบุรี ประเภทที่ 1 2.1 โปรแกรมกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ โดย นายดิษฎา ภัทรพงศาเศรษฐ์ 2.2 โปรแกรม Fitness Center โดย นายจิรเดช 3. ศูนย์อนามัยที่ 6 จังหวัดชลบุรี ประเภทที่ 2 3.1 ระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ศูนย์อนามัยที่ 6 โดย นายวิษณุ คุณากรธำรง 4. ศูนย์อนามัยที่ 7 จังหวัดขอนแก่น ประเภทที่ 1 4.1 ระบบรายงานโครงการป้องกันและควบคุมกลุ่มอาการดาวน์ โดย นายสุกัณฑ์ เจียรวาปี 5. ศูนย์อนามัยที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช 5.1 ระบบรับรองมาตรฐาน setting ประเภทที่ 1 โดย นายภากร ช่วยสกุล 5.2 สา'สุขเขต 11 ไร้พุง ประเภทที่ 1 โดย นายธชนรรทน์ ตั้งตรีตระกูล 5.3 ระบบติดตามงานสารบรรณร่วมกับ Line ประเภทที่ 2 โดย นายภากร ช่วยสกุล 84 จำนวนระบบบริการ อิเล็กทรอนิกส์ที่ส่ง เข้าร่วมการประกวด รวม ๘ ระบบ

85 หน่วยงานที่กำลังพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อส่งเข้าร่วมการประกวด ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2559 1. ศูนย์อนามัยที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 ระบบ 2. ศูนย์อนามัยที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 2 ระบบ 3. ศูนย์อนามัยที่ 4 จังหวัดสระบุรี จำนวน 1 ระบบ 4. ศูนย์อนามัยที่ 7 จังหวัดขอนแก่น จำนวน 1 ระบบ 5. ศูนย์อนามัยที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 2 ระบบ 6. ศูนย์อนามัยที่ 12 จังหวัดยะลา จำนวน 1 ระบบ จำนวนระบบบริการทอิเล็กทรอนิกส์ที่กำลังพัฒนา เพื่อส่งเข้าร่วมการประกวด รวม 8 ระบบ หน่วยงานส่วนภูมิภาคที่ไม่ได้ร่วมการประชุม และ ไม่ได้ส่งระบบบริการฯเข้าร่วมการประกวด - ศูนย์อนามัยที่ 2, 8, 9, 13 - ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง - กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ **กองแผนงาน แจ้งขยายระยะเวลาการส่งระบบบริการฯเข้าร่วมการประกวดฯออกไป เป็น วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 (บันทึกกองแผนงาน ที่ สธ 0905.05/ว 889 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2559) 85

86 การประชุมวิชาการ เรื่อง การพัฒนาระบบบริการ อิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย และการประกวดระบบบริการ อิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย  ระยะเวลาและสถานที่ ระหว่างวันที่ 27 – 29 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องประชุมสมบูรณ์ วัชโรทัย อาคาร 1 ชั้น 2 กรมอนามัย  ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย - บุคลากรที่รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของ หน่วยงานงกัดกรมอนามัย ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - บุคลากรที่รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งเข้าร่วม การประกวด 86

87 วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ 87

88 ขอบคุณ 88


ดาวน์โหลด ppt การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 3/2559 ห้องประชุมกองแผนงาน กรมอนามัย 30 มิถุนายน 2559 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google