งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ ภูวาเดช โหราเรืองคณะวิทยาการจัดการ Basic Research Methods in Marketing 7 : 2/3 ต.ค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ ภูวาเดช โหราเรืองคณะวิทยาการจัดการ Basic Research Methods in Marketing 7 : 2/3 ต.ค."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ ภูวาเดช โหราเรืองคณะวิทยาการจัดการ Basic Research Methods in Marketing 7 : 2/3 ต.ค. 58 7 : 2/3 ต.ค. 58

3 แนวทางการเรียน/การสอน : 1. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามกันมา (มา อนุสฺสเวน) 2. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสีบๆ กันมา (มา ปรมฺปราย) 3. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ (มา อิติกิราย) 4. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำรา หรือคัมภีร์ (มา ปิฏกสมฺปทาเนน) 5. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะตรรก (มา ตกฺกเหตุ) 6. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะอนุมาน (มา นยเหตุ) 7. อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล (มา อาการปริวิตกฺเกน) 8. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว (มา ทิฏฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา) 9. อย่าปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าจะเป็นไปได้ (มา ภพฺพรูปตาย) 10.อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้เป็นครูของเรา (มา สมโณ โน ครูติ) ฝึกปฏิบัติการ : 1) กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 2) สติ/ใฝ่รู้/แสวงหาความรู้เสมอ 3) ความขยัน/อดทน/มานะพยายาม

4 พื้นฐานการสำรวจและศึกษาวิจัย : ความแตกต่างระหว่าง Social Sciences กับ Natural Sciences 1. หน่วยการศึกษาวิเคราะห์ (Unit of Analysis) - มุ่งที่ศึกษาความสัมพันธ์ของ - มุ่งเน้นที่จะศึกษาหน่วยหรือ มนุษย์ในฐานะมนุษย์จะอยู่ ปรากฎการณ์ต่างๆ ที่ เกิดขึ้น ร่วมกันเป็นกลุ่ม/เป็นสังคม เกิดขึ้น / มีอยู่โดยธรรมชาติ 2. กระบวนการศึกษา (Process of Study) - เน้นใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ - เน้นการศึกษาเชิงปริมาณ (Qualitative approach) มากกว่า (Quantitative approach) มากกว่า 3. ค่านิยมในการศึกษา (Values in Study) - โอกาสที่จะมีอคติในการศึกษา - ความรู้สึกผูกพันกับหน่วย ได้ง่ายกว่า ในการศึกษาน้อยกว่า

5 ความแตกต่างระหว่าง การวิจัยเชิงปริมาณ กับ การวิจัยเชิงคุณภาพ

6

7 การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. วิธีการทดลอง (Experimental Design) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยจะต้องอาศัยการวางแผนการทดลองมาช่วย การวิจัย ทางสังคมส่วนใหญ่จะใช้วิธีนี้ไม่ได้ โดยมากจะใช้กับการทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และวิศวกรรมศาสตร์ 2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงาน (Reporting System) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการเก็บข้อมูลจากรายงาน เอกสาร ผลงานวิจัยหรือ ผลงานอื่นๆ ที่มีการทำไว้ก่อนหน้า ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐาน 3. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทะเบียน (Registration) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยข้อมูลสถิติจากระบบทะเบียนจากแหล่งเบื้องต้นของ ข้อมูลเป็นเอกสารการทะเบียน ซึ่งมีลักษณะต่อเนื่องมีการปรับแก้หรือเปลี่ยนแปลง ให้ถูกต้อง ทันสมัยทำให้ได้สถิติที่ต่อเนื่องเป็นอนุกรมเวลา

8 การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสำมะโน (Census) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยเก็บข้อมูลสถิติของทุกๆ หน่วยของประชากรที่สนใจ ศึกษาภายในพื้นที่ที่กำหนด และระยะเวลาที่กำหนดการเก็บรวบรวม ข้อมูลสถิติด้วยวิธีนี้จะ ทำให้ได้ข้อมูลในระดับพื้นที่ย่อย เช่น หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นค่า จริง 5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสำรวจ (Sample Survey) การเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติจากบางหน่วยของประชากรด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง/การ สำรวจด้วยตัวอย่าง (Sample Survey) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต/โดย การวัดค่าต่างๆ จากบางหน่วยของประชากร จะทำให้ได้ข้อมูลในระดับรวม เช่น จังหวัด ภาค เขตการปกครองและรวมทั่วประเทศ และข้อมูลที่ได้จะเป็นค่าโดยประมาณการสำรวจ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้งบประมาณ เวลาและกำลังคนไม่มากนัก

9

10 การค้นคว้าหาสิ่งใดสิ่งหนึ่งหลายๆ ครั้ง ซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกระทั่งมั่นใจว่า ค้นพบข้อเท็จจริงที่สามารถจะ คาดการณ์ ทำนาย และอธิบายในเรื่องนั้นๆ ได้อย่างถ้วนถี่ และเชื่อถือได้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน (2542) กำหนดให้ ความหมายการวิจัยว่า “การวิจัยเป็นการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตาม หลักวิชา” “การวิจัยเป็นการสะสมและรวบรวม” การวิจัย “Research” ความหมายการวิจัยทั่วไป

11 พจนานุกรม Webster’s New Twentieth Century Dictionary (1966) ให้คำจำกัดความ “Research” - การสอบสวน/ตรวจสอบในความรู้สายใดสายหนึ่งอย่าง ระมัดระวัง อดทน อย่างเป็นระบบ ระเบียบและขันแข็งเพื่อ ให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริง และกฎเกณฑ์ต่างๆ - การแสวงหาความจริงอย่างคร่ำเคร่งและต่อเนื่องความหมายการวิจัยทั่วไป

12 ให้ความหมาย Williams and Stevenson (1963) ให้ความหมาย Research ว่า “การค้นหาโดยวิธีครุ่นคิด/การแสวงหาอย่างคร่ำเคร่งเพื่อให้เกิดความแน่นอน” Plutchick (1968) ให้ความหมายในทำนองว่า การ วิจัยเป็นการสำรวจเพื่อให้เข้าใจธรรมชาติได้ดีขึ้น ซึ่งจะมี ส่วนประกอบ 2 อย่าง : - การพยายามอย่างเข้มแข็งที่จะค้นหาข้อเท็จจริงใหม่ - การพยายามจัดระเบียบข้อเท็จจริงที่ค้นพบให้เป็นแบบแผนที่มี ความหมายความหมายการวิจัยทั่วไป

13 Kerlinger (1986) ให้ความหมายของ “การวิจัย” ว่า การวิจัยเป็นการไต่สวนสืบค้นปรากฏการณ์ตามต่างๆ ธรรมชาติอย่างมีระบบ มีการควบคุม มีการสังเกตการณ์จริง และการวิพากษ์วิจารณ์ โดยใช้ทฤษฎีและสมมติฐานเป็น แนวทางค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์นั้น Schumacher และ Mcmillan (1993) อธิบายถึง “การวิจัย” ว่า การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงระบบในการ รวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างสมเหตุสมผล เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งความหมายการวิจัยทั่วไป

14 - การศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริง = ผู้วิจัยต้องค้นคว้าให้ได้มาทั้ง ข้อเท็จและข้อจริง ศึกษาค้นคว้าครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมทั้งข้อสนับสนุน และข้อคัดค้าน - การศึกษาค้นคว้าต้องทำเป็นระบบระเบียบเป็นขั้นตอนมีเหตุมีผล = วิธีทางวิทยาศาสตร์ - การศึกษาค้นคว้าต้องเป็นการกระทำที่มีจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่าง หนึ่ง/หลายอย่างผสมกัน บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2540) ให้ความหมาย “ การวิจัย ” ว่า กระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ตาม ธรรมชาติอย่างมีระบบและมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนเพื่อให้ ได้ความรู้ที่เชื่อถือได้ความหมายการวิจัยทั่วไป

15 สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธุ์ (2540) ให้ความหมาย การวิจัย ว่า กระบวนการแสวงหาความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องใน สิ่งที่ต้องการศึกษา โดยที่มี… - การเก็บรวบรวมข้อมูล - การจัดระเบียบข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูล - การตีความหมายผลการวิเคราะห์ ทั้งนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบอันถูกต้อง กระบวนการ = กิจกรรมต่างๆ ที่ได้กระทำขึ้นโดยมีความ เกี่ยวโยงต่อเนื่องกันอย่างมีระบบเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย ความหมายการวิจัยทั่วไป

16 ในที่ประชุม Pan Pacific Science Congress ปี 1961 ประเทศสหรัฐ ได้มีการอธิบายถึงความหมายคำว่า “ R E S E A R C H ” R = Recruitment and Relationship E = Education and Efficiency S = Science and Stimulation E = Evaluation and Environment A = Aim and Attitude R = Result C = Curiosity H = Horizon ความหมายการวิจัยทั่วไป

17 ความหมายการวิจัยทางธุรกิจ การวิจัยทางธุรกิจ ---> Business Research จะเป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าที่มีระบบระเบียบ อย่างถูกต้องตามวิธีทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เกิดผลตาม วัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยปราศจากอคติและมี ประสิทธิภาพ ผลวิจัยสามารถนำมาเป็นเครื่องมือในกระบวนการ ตัดสินใจ/การแก้ไขปัญหาการบริหารทุกลักษณะของ ธุรกิจ

18 Zikmund (2000) ให้ความหมาย “การวิจัยทางธุรกิจ” ว่า การรวบรวมข้อมูล / สารสนเทศที่มีกระบวนการ อย่างเป็นระบบระเบียบและมีวัตถุประสงค์ : - การรวบรวม (Gathering) - การบันทึก (Recording) - การวิเคราะห์ข้อมูล (Analyzing Data)ทั้งนี้เพื่อช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ Cooper และ Schindler (2003) อธิบายความหมายว่า เป็นระบบที่มีจุดประสงค์เกี่ยวกับการจัดเตรียมหาคำแนะนำ เพื่อที่จะใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการ ความหมายการวิจัยทางธุรกิจ

19 นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี (2542) ได้ให้ ความหมาย “การวิจัยธุรกิจ” หมายถึง การศึกษาค้นคว้าถึงความจริงเกี่ยวกับธุรกิจด้วยวิธีการที่มีหลักเกณฑ์ (Scientific Method) ถูกต้องตามระบบที่มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนและ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ธุรกิจดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมี ประสิทธิภาพ สถานการณ์ที่ใช้วิจัยทางธุรกิจ ตั้งแต่… การวิจัยด้านการจัดการ การตลาด การเงิน การบัญชี การผลิต เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ และการวิจัยทางสังคมศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ความหมายการวิจัยทางธุรกิจ

20 เกณฑ์การพิจารณาจำแนกประเภท 1. ต้องมีกลุ่มให้ครบถ้วน (mutually exhaustive) 2. แต่ละกลุ่มที่กำหนดเมื่อกำหนดประเภทจะต้องแยกออก จากกันและกันโดยเด็ดขาด (mutually exclusive) 3. กลุ่มแต่ละกลุ่มควรจะมีความหมายที่ชัดเจน และมี จำนวนมากเพียงพอ จำนวนมากเพียงพอ หลักการจำแนกประเภท

21 มิติต่างๆ ของการวิจัย เหตุผลของการทำวิจัยเหตุผลของการทำวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการวิจัยวิธีการวิจัย สถานที่หรือทำเลของการวิจัยสถานที่หรือทำเลของการวิจัย วัตถุหรือสิ่งที่ต้องการวิจัยวัตถุหรือสิ่งที่ต้องการวิจัย ผู้กระทำการวิจัยผู้กระทำการวิจัย

22 การจำแนกตามเหตุผลของการวิจัย การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)การวิจัยพื้นฐาน (Basic research) : การวิจัยแสวงหาความรู้และความเข้าใจประเด็นเรื่องต่างๆ ให้มากขึ้น มุ่งแสวงหาความจริง ใช้ทดสอบ/สร้างทฤษฎี จะไม่มีวัตถุประสงค์ใช้ ประโยชน์ทันที แต่เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการและวิจัยต่อไป การวิจัยประยุกต์ (Applied research)การวิจัยประยุกต์ (Applied research) : การวิจัยที่นำผลการวิจัย/ข้อค้นพบไปใช้ในทางปฏิบัติจริง โดยมุ่ง หาข้อเท็จจริง/ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล/ตัวแปรในการแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นจริง

23 การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research)การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) : การวิจัยมุ่งพรรณนาสภาพที่เป็นอยู่ ลักษณะสำคัญของปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรมเกิดขึ้น การวิจัยเชิงอธิบาย (Explanatory research)การวิจัยเชิงอธิบาย (Explanatory research) : การวิจัยมุ่งอธิบายสาเหตุการเกิดขึ้นสภาพที่เป็นอยู่ของปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรม โดยหาความเป็นเหตุผลการจำแนกตามวัตถุประสงค์การวิจัย

24 การวิจัยแบบอาศัยการทดลอง (Experimental research)การวิจัยแบบอาศัยการทดลอง (Experimental research) : กระบวนการวิจัยที่มีการวางแผน โดยที่มีการกระตุ้นเพื่อก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงภายใต้การควบคุม ควบคุมดูแลและเฝ้าสังเกตอย่างเป็น ระบบ การวิจัยแบบไม่อาศัยการทดลอง (Non-experimental research)การวิจัยแบบไม่อาศัยการทดลอง (Non-experimental research) : กระบวนการวิจัยที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ตามสภาพเป็นจริง โดยไม่มีการจัดกิจกรรม/ การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆการจำแนกตามวิธีการเก็บข้อมูล

25 การวิจัยสภาวะที่ควบคุมเต็มที่ (Highly controlled settings)การวิจัยสภาวะที่ควบคุมเต็มที่ (Highly controlled settings) : การวิจัยที่ควบคุมปัจจัยการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างครบถ้วนเต็มที่ การวิจัยสภาวะที่ควบคุมได้บ้าง (Partially controlled settings)การวิจัยสภาวะที่ควบคุมได้บ้าง (Partially controlled settings) : การวิจัยที่ควบคุมปัจจัยการเปลี่ยนแปลงต่างๆ บางประการเท่านั้น เพื่อสังเกตการกระตุ้นการเปลี่ยนแปลง โดยวิธีการหนึ่งวิธีการใดการจำแนกตามสภาวะการวิจัย การวิจัยสภาวะที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrolled settings)การวิจัยสภาวะที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrolled settings) : การวิจัยที่ไม่มีการควบคุมปัจจัยที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ โดยทำการศึกษาเก็บข้อมูลตามสภาพ ลักษณะหรือพฤติกรรมต่างๆ ตาม ธรรมชาติที่เกิดขึ้น

26 มนุษย์ : บุคคล กลุ่มบุคคล สัตว์ พืช และอื่นๆ : สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่ต้องการศึกษา สิ่งไม่มีชีวิต : สิ่งของ/วัตถุต่างๆ การวิจัยโดยบุคคลเดียว : การวิจัยที่ต้องอาศัยผู้ที่มีความรู้เพียงคนเดียว การวิจัยคณะบุคคล : การวิจัยที่ต้องอาศัยผู้ที่มีความหลากหลายสาขาการจำแนกตามสิ่งที่ทำการวิจัยการจำแนกตามผู้กระทำการวิจัย

27 การวิจัยระดับจุลภาค (Micro level)การวิจัยระดับจุลภาค (Micro level) : การวิจัยปรากฏการณ์เกี่ยวกับลักษณะต่างๆ บุคคลอาจจะเป็น พฤติกรรม ทัศนคติและความคิดเห็น การวิจัยระดับมหภาค (Macro level)การวิจัยระดับมหภาค (Macro level) : การวิจัยปรากฏการณ์เกี่ยวกับลักษณะรวมๆ ระดับชุมชน สังคม หรือ ประเทศในหลายจุดเวลาการจำแนกตามระดับหน่วยวิเคราะห์การจำแนกตามระดับความลึกข้อมูล การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research)การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) : การวิจัยที่อาศัยข้อมูลตัวเลขเพื่อยืนยันพิสูจน์ความถูกต้องของ ข้อค้นพบและข้อสรุปต่างๆ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) : การวิจัยที่ไม่เน้นข้อมูลตัวเลขยืนยันความถูกต้องของข้อค้นพบและ ข้อสรุปต่างๆ

28 แม่นตรง (validity) “ตรงประเด็น” หมายถึง การหาข้อสรุป หรือการดำเนินการ วัดที่ตรงเป้า ตรงประเด็นกับสิ่งที่ ประสงค์จะวัด การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจยิ่งขึ้น เกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่จะไปศึกษา เชื่อถือได้ (reliability) “น่าเชื่อถือ” เกี่ยวกับความคงเส้น คงวา ของคำตอบ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 27

29 กระบวนการวิจัย 28

30 เกณฑ์การพิจารณาความเหมาะสมหรือความสำคัญของปัญหา ความเด่นชัด (explicit) 1 ความชัดเจน (clear) 2 เป็นความคิดริเริ่ม (original) 3 3 ทดสอบได้ (testable) 4 4 มีความสำคัญทางทฤษฎี (theoretically significant) 5 สำคัญต่อสังคม (socially relevant) 6 ขอบข่ายการวิจัยและการตั้งปัญหาการวิจัย

31 30 เกณฑ์การกำหนดประเด็นการวิจัย ความชัดเจนของประเด็น 1 ความไม่ซ้ำซ้อนของประเด็นที่จะวิจัย 2 ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็น 3 3

32 ความสำคัญของปัญหาการวิจัย 1. ปัญหาการวิจัยแต่ละปัญหาจะมีตัวแปร (variables) ที่เปลี่ยนแปลงตามบุคคล เวลาและสถานที่ 2. ข้อเท็จจริงของปัญหาการวิจัยเป็นความจริงเชิง สัมพันธ์ (relative truth) ไม่ใช่ความจริงเชิงสมบูรณ์ (absolute truth) 3. ข้อสรุปทั่วไป แนวคิด ทฤษฎีและกฎต่างๆ ต้องการ การยืนยัน (confirm) และตรวจสอบ (verify)การกำหนดประเด็นปัญหาการวิจัย

33 ทำให้ผู้วิจัยเกิดความชัดเจนว่าต้องการศึกษาในเรื่อง อะไรบ้างเกี่ยวกับหัวข้อนั้นๆ ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าจะต้องเก็บข้อมูลที่สำคัญในเรื่อง อะไรบ้าง ทำให้ผู้อ่านรายงานผลของการวิจัย สามารถติดตามและ ประเมินผลของการวิจัยได้ ประโยชน์กำหนดประเด็นการวิจัย

34 5.ความสามารถที่จะทำให้บรรลุผล 4.ความสนใจของผู้ที่จะวิจัย 3. ความน่าสนใจและการทันต่อเหตุการณ์ 2.ความเป็นไปได้ 1.ความสำคัญของปัญหา การกำหนดหัวข้อการวิจัย หลักเกณฑ์ใน การเลือก หัวข้อการวิจัย 33

35 สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 1 ลักษณะของการเก็บข้อมูล 2 ประชากรเป้าหมายหรือสถานที่ 3 3 การกำหนดประเด็นสาระสำคัญ 4 4 การผสมผสานหลายประการ 5 มิติการกำหนดหัวข้อการวิจัย

36 กระบวนการต่างๆ ที่ใช้ในการระบุให้ชัดเจนว่า ผู้ที่จะ ทำการวิจัย หรือผู้วิจัยมีความประสงค์จะศึกษาเรื่องอะไร ที่มาของหัวข้อสำหรับการวิจัย ผู้ที่จะทำการวิจัย วรรณกรรมในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ผู้นำทางวิชาการ แหล่งทุนอุดหนุนการวิจัย หน่วยที่ผู้วิจัยทำอยู่ การกำหนดหัวข้อการวิจัย

37 หลักการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย (Research Objective) การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยเป็นการคาดหวังจาก ผลการศึกษาและค้นคว้าข้อเท็จเกี่ยวกับปรากฏการณ์และ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นตามที่ประเด็นสาระในปัญหาการวิจัย (Research Questions) ซึ่งจะถูกนำมาเป็นแนวทางการ แสวงหาคำตอบ ผลการวิจัยต้องตอบสนองวัตถุประสงค์ การวิจัยทั้งหมด ลักษณะวัตถุประสงค์การวิจัย : - สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย - ความชัดเจน - ความเฉพาะเจาจง การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย

38 หลักเกณฑ์การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 1.การเขียนให้สั้น กระชับและใช้ภาษาง่าย (วิชาการ) 2.ประเด็นปัญหาชัดเจน ศึกษาอะไร แง่มุมใดและอยู่ ภายในกรอบหัวข้อเรื่อง 3.วัตถุประสงค์ที่กำหนดต้องสามารถศึกษาหาคำตอบ 4.ประโยคที่ใช้เป็นประโยคบอกเล่า ไม่น่าเกิน 5 ข้อ : 4.1 ข้อเดียวเป็นภาพรวม (Overall Objective) 4.2 หลายข้อแยกรายข้อ (Specific Objectives) 5.การเรียงลำดับตามความสำคัญของปัญหา/ระดับ ปัญหา รวมทั้งไม่ควรนำประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ/ ข้อเสนอแนะเป็นวัตถุประสงค์ การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย

39 ลักษณะของงานวิจัยที่ดี : มาตรฐานที่ดีถูกต้องตามวิธีการ - มีจุดประสงค์จำกัดความอย่างชัดเจน - มีรายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการวิจัย - มีการออกแบบวางแผนการวิจัยอย่างถี่ถ้วน - ข้อจำกัดถูกแสดงอย่างเปิดเผย - มีมาตรฐานเกี่ยวกับหลักจริยธรรมสูง

40 ลักษณะของงานวิจัยที่ดี : มาตรฐานที่ดีถูกต้องตามวิธีการ - มีการวิเคราะห์ที่เหมาะสมสำหรับความต้องการของ ผู้ทำ ผู้ทำ -การค้นคว้าถูกแสดงอย่างไม่คลุมเครือ -บทสรุปที่พิสูจน์ว่าถูกต้อง - สะท้อนประสบการณ์ของการวิจัย

41 ข้อพึงระวังเกี่ยวกับงานวิจัย 1. เมื่อคำแนะนำไม่สามารถประยุกต์ให้ตัดสินใจเกี่ยวกับ การจัดการขั้นวิกฤตได้ 2. เมื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการที่มีการเสี่ยง เล็กน้อย 3. เมื่อการจัดการมีทรัพยากรไม่เพียงพอที่จะ ทำการศึกษาวิจัย 4. เมื่อราคาของการศึกษาวิจัยมีค่าเกินระดับของการเสี่ยง ในตัดสินใจ


ดาวน์โหลด ppt 01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ ภูวาเดช โหราเรืองคณะวิทยาการจัดการ Basic Research Methods in Marketing 7 : 2/3 ต.ค.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google