งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office ความร่วมมือของอุดมศึกษาไทยในการแก้ปัญหาของประเทศ ศาสตราจารย์ ดร.วัลลภ สุระกำพลธร สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง (THAIST) การเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัย ต่อการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน 18 ธันวาคม 2558 การประชุมวิชาการที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย ประจำปี 2558 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

2 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office ลำดับการบรรยาย 1.สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ และ สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง 2.ยุทธศาสตร์ของประเทศ 3.ปัญหาของประเทศที่เกี่ยวกับ วทน. บางประการ 4.ประเทศไทยติดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง 5.การวิจัยเชิงพาณิชย์ 6.การแก้ปัญหาภาคผลิตและบริการ 7.มาตรการที่ สวทน. ดำเนินการ

3 ปัญหาของประเทศบางประการ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับ วทน. 3

4 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 4 ค่าเฉลี่ยของประเทศ (ยกเว้น กทม.) = 12,045 บาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อประชากร (พันบาท / หัว / เดือน) 20 จังหวัด ที่ได้ค่าชี้วัด (หรือ 26%) สุงกว่า ค่าเฉลี่ยของประเทศ (ยกเว้น กทม.) 56 จังหวัด ที่ได้ค่าชี้วัด (หรือ 74%) ต่ากว่า ค่าเฉลี่ยของประเทศ (ยกเว้น กทม.) ที่มา: อรพงษ์ เทียนเงิน GPPการกระจายความเจริญเป็นไปอย่างไม่ทั่วถึง - มหาวิทยาลัย ควรมีส่วนในการกระจายความเจริญได้อย่างไร ? - มหาวิทยาลัย ควรมีส่วนร่วมในการเพิ่ม GDP ของประเทศได้อย่างไร ?

5 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 5 จุดอ่อนและปัญหาของประเทศโดยเฉพาะด้าน วทน. ขาดความต่อเนื่องและความสนใจจากผู้บริหารประเทศและระบบงบประมาณ ภาคเอกชนยังรับจ้างผลิตและนำเข้าเทคโนโลยี ปีละกว่า 200,000 ล้านบาท โครงสร้างพื้นฐาน ห้องแล็บ ห้องทดสอบ ขาดการปรับปรุง และขาดการใช้งานอย่างเต็มศักยภาพ ผลงานวิจัยไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ ขาดการ ร่วมวิจัยกับผู้ใช้ประโยชน์ ขาดยุทธศาสตร์ต่างประเทศด้าน วทน. เพื่อเชื่อมการค้า การลงทุน

6 การปรับตัวเพื่อรองรับสังคมสูงอายุ ประชากรสูงอายุมีสัดส่วนและจำนวนสูงขึ้น ปี 2568 สังคมไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว ส่งกระทบโดยตรงต่อศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ ต้องปรับหรือปฏิรูปการศึกษา เพื่อให้ประชากรที่ลดลงเป็นแรงงานที่มีคุณภาพ วางแนวทางในการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาว ที่มา: สศช. 2556 6

7 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 7 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 7 กำลังแรงงานที่ จบการศึกษา ระดับมัธยมต้น หรือต่ำกว่า กำลังแรงงานที่ จบการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือ ปวช.และ ปวส. กำลังแรงงานที่ การศึกษาระดับ ปริญญาตรีขึ้นไป กำลังแรงงานวุฒิปริญญาตรีส่วน ใหญ่จบด้านสังคมศาสตร์ (67%) มากกว่าสายวิทยาศาสตร์ แรงงาน 39 ล้านคน ส่วนใหญ่จบการศึกษา ระดับมัธยมต้นหรือต่ำกว่า ทำอย่างไรให้มีการศึกษาสาย วทน. มากขึ้น ? - การสอนให้เกิดแรงบันดาลใจ - จ่ายครบจบอย่างมีคุณภาพแน่

8 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 8 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 8 การจดสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ในประเทศมีน้อย ซึ่งสะท้อนขีดความสามารถด้าน วทน. ของประเทศ (ปี 2555 มีการจด 1008 รายการ เมื่อเทียบกับประเทศเกาหลีใต้ 113,467 รายการ) มหาวิทยาลัย ควรให้ความสำคัญต่อการสร้างนวัตกรรมอย่างไร ?

9 ประเทศไทยติดอยู่ใน กลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง (Middle Income Trap) 9

10 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 10 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 10 ประเทศไทยจะออกจาก Middle Income Trap ต้องเพิ่มรายได้ประชาชาติจาก $5,000 เป็น $13,000 ต่อคนต่อปี ที่มา สวทน. ข้อมูลจาก UN Statistics Division and the World Bank - ตั้งแต่ปี 1987 เป็นต้นมาไทยอยู่ในประเทศกลุ่ม middle income trap มากว่า 28 ปี - เราใช้เวลากว่า 24 ปี จาก lower middle income ไปสู่ upper middle income (2011) - มหาวิทยาลัย ควรมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนให้ประเทศออกจาก MIT ได้อย่างไร ?

11 11 ประเทศไทยติดอยู่ในกับดัก ‘Middle-Income’ Trap Leaders Technology and Design Followers Low Cost Competitive Advantage Differentiation Japan China Design/ differentiation based competition Low Cost-based competition Vietnam Korea Thailand Pressures from high- income economies Pressures from lower- wage economies Innovation Technology Capabil it y

12 Stuck in the Middle of Global Value Chain Rising wages Declining cost competitiveness hig h lo w Developing economy Advanced economy Assembling/OEM Module Part Production Parts Production Sales After-sales service Middle Income Trap 12 Low wage Cheap manufacturing High productivity High innovation จะก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลางได้อย่างไร หากยังรับจ้างผลิตและนำเข้าเทคโนโลยี (OEM)

13 เศรษฐกิจที่พึ่งพา ความรู้และ นวัตกรรม ทำน้อยได้ มาก ศักยภาพทางธุรกิจ นวัตกรรม เศรษฐกิจที่ พึ่งพา ปัจจัยการผลิต ทำมากได้ น้อย ปัจจัยเชิงโครงสร้าง (Institution) โครงสร้างพื้นฐานเชิงการภาพ ความมีเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขั้น พื้นฐาน เศรษฐกิจที่พึ่งพา ประสิทธิภาพการ ผลิต การศึกษาและฝึกอบรมขั้นสูง ประสิทธิภาพของตลาดสินค้า ประสิทธิภาพของ ตลาดแรงงาน ประสิทธิภาพตลาดเงิน ความพร้อมทางเทคโนโลยี ขนาดตลาด ที่มา: Suvit Maesincee, Grand Strategy Moving Thailand Towards the Next Decade ต้องอาศัยการลงทุนเพื่อ การศึกษาที่มีคุณภาพและการ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ที่ เป็นพื้นฐานของนวัตกรรมและ การเพิ่มผลิตภาพ 13 ก่อนปี 2520 ปี 2520 - ปัจจุบัน Factor Driven Economy Investment Driven Economy Innovation Driven Economy เศรษฐกิจไทยยังไม่สามารถก้าวข้ามไปสู่ระบบเศรษฐกิจ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ต้นทุน ปัจจัยการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตด้วยการ ลงทุนจำนวนมาก สร้างคุณค่า ที่เป็นเอกลักษณ์

14 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 14ปัจจัยที่ช่วยให้ประเทศหลุดพ้นจากกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง วิสัยทัศน์ในการพัฒนาประเทศและความมุ่งมั่น ของผู้นำทางการเมือง การกำหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายและสร้างความ เข้มแข็งให้ภาคอุตสาหกรรม - ทำให้เกิดบริษัทผลิตเทคโนโลยีของประเทศที่มีขีดความ สามารถในการแข่งขันสูงจำนวนมากพอ การสร้างความเข้มแข็งให้ระบบ วทน. - R & D (รัฐ + เอกชน) - Tech. Transfer - Innovation - HRD - STI Infra. - Enabling Environment การศึกษามีคุณภาพสูงทุกระดับ การใช้ประโยชน์จากนักวิทยาศาสตร์ และวิศวกร โดยเฉพาะที่ทำงานในต่างประเทศ ประชากรมีวัฒนธรรมทำงานหนักและทุ่มเท ที่มา ศ.ดร.นักสิทธิ์ คูวัฒนาชัย เรื่องบทบาทของสถาบันอุดมศึกษาในการออกจาก Middle Income Trap ของประเทศไทย ความสำเร็จในการ ออกจาก Middle Income Trap ของ เกาหลีใต้ และ ไต้หวัน

15 ควรมีระบบวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ที่เข้มแข็ง การวิจัยและพัฒนา (Research & Development) นวัตกรรม (Innovation) การถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) การนำเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงพาณิชย์ (Commercialization) การพัฒนาและผลิตกำลังคน (Human Resource) โครงสร้างพื้นฐาน วทน. (STI Infrastructure) ปัจจัยสนับสนุน (Enabling Environment) 15

16 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 16 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 16 การวิจัยและพัฒนา และ นวัตกรรม “ นวัตกรรม ” หมายความว่า การใช้ความรู้ ทักษะการบริหารจัดการและประสบการณ์ ทางด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี เพื่อการคิดค้น การประดิษฐ์ การพัฒนา การ ผลิตสินค้า การบริการ กระบวนการผลิต และ การจัดการองค์กรในรูปแบบใหม่ “ การวิจัยและพัฒนา ” หมายความว่า การ ค้นคว้าโดยการทดลอง สำรวจหรือศึกษาตาม หลักวิชาการเพื่อให้ได้ข้อมูล ความรู้ รวมทั้ง การพัฒนาผลของการค้นคว้าเพื่อนำมาใช้ใน การยกระดับความ สามารถทางการผลิตและ การบริการหรือทางวิชาการหรือประโยชน์ อย่างอื่นในทางเศรษฐกิจและสังคม หรือ ในทางวิชาการ เพื่อเป็นพื้นฐานของการ พัฒนาประเทศ

17 ยุทธศาสตร์ของประเทศ 17

18 18 การบูรณาการยุทธศาสตร์เพื่อสร้างฐานเศรษฐกิจที่มั่งคงและยั่งยืน การบูรณาการยุทธศาสตร์เพื่อสร้างฐานเศรษฐกิจที่มั่งคงและยั่งยืน ปรับสมดุล และพัฒนา ระบบการ บริหารจัดการ ภาครัฐ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) การสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และ เท่าเทียมทางสังคม (Inclusive Growth) คน / คุณภาพชีวิต / ความรู้ / ยุติธรรรม โครงสร้างพื้นฐาน / ผลิตภาพ / วิจัยและพัฒนา กฎระเบียบ ลดความ เลื่อมล้ำ หลุดพ้นจาก ประเทศ รายได้ปานกลาง เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม จาก สำนักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

19 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 19 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 19 ยุทธศาสตร์การปฏิรูปเชิงโครงสร้าง อุตสาหกรรมเป้าหมาย โครงการขนาดใหญ่ รัฐร่วมเอกชน “อภิวัฒน์ประเทศไทยด้วยนโยบายนวัตกรรม” ระบบขนส่งทางราง การจัดสรรน้ำ พลังงาน PPP 30:70 วิจัยร่วม ม. และภาคการผลิต ยางล้อ อาหารและเกษตรแปรรูป พลังงานหมุนเวียน อุตสาหกรรมสุขภาพ ชิ้นส่วนยานยนต์ ท่องเที่ยวและบริการ แผนยุทธศาสตร์ วทน. 5 ปี SMEs Regional Development Community Development อบต. อบจ. NaSTIC กรอ. วทน. เสริมสร้างขีดความสามารถ การลดความเลื่อมล้ำ การพัฒนาอย่างยั่งยืน กลไกระดับท้องถิ่น อุตสาหกรรมรายสาขา อุดมศึกษา

20 พันธกิจของสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาภาคการผลิต และบริการ Researcher/Scientist/Technologist/ Designers/ STI Managers/Engineers Industrial Innovation (Product / Process / Radical Innovation) International ↔ Local Academy ↔ Industry Public University/Research Institute/Overseas/Industry Networking ST HRD Excellent Centers Technology Transfer Knowledge Diffusion

21 การวิจัยเชิงพาณิชย์ 21

22 ข้อจำกัดการผลักดันเทคโนโลยีไปสู่เชิงพาณิชย์ The Valley of death ที่มา : Bringing Investors to R&D and Innovation Exploitation Prof. Dr.-Ing. José L. Encarnação NI-GraphicsNet Foundation ฿ พิสูจน์แนวคิดทาง เทคนิคและ การตลาด Proof of Concept การทำต้นแบบ Prototype การทดลองผลิต Pilot Production ห้องปฏิบัติการ Lab การผลิตเชิง พาณิชย์ Commercial Production ฿ ฿ Pre- Commercial Stage การพัฒนาต่อยอดผลงานวิจัยสู่ผลิตภัณฑ์หรือบริการเชิงพาณิชย์ครอบคลุมหลายขั้นตอน: การพิสูจน์ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (proof of concept), การทำต้นแบบผลิตภัณฑ์ (prototype) และการทดลองผลิต (pilot production) เป็นช่วงที่ต้องการเงินลงทุนสูงและมีความเสี่ยงสูง บริษัทเอกชนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถแบกรับภาระได้โดยลำพัง การสนับสนุนทางการเงินจากภาครัฐสำหรับการพัฒนาต่อยอดผลงานวิจัยไปเป็นผลิตภัณฑ์และบริการเชิงพาณิชย์ยังมีปริมาณจำกัด

23 ภาคผลิตและบริการ 23

24 บริษัทข้ามชาติ จากกิจกรรมการประกอบชิ้นส่วน ไปสู่การวิจัย ออกแบบ และ วิศวกรรมมากขึ้น 24

25 บริษัทไทยขนาดกลาง - ใหญ่ จากกิจกรรมการผลิต / บริการใช้แรงงาน เข้มข้น ไปสู่กิจกรรมใช้ความรู้เข้มข้นมากขึ้น 25

26 ยกระดับเทคโนโลยี/ วิศวกรรมย้อนรอย การเสาะหาเทคโนโลยี / การดูด ซับเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยี แหล่งที่มา: สวทช. /Arnold (2000) 26 วิจัย และพัฒนา (พบน้อยมาก ) (พบน้อยแม้ในบริษัทชั้นนำ) (พบเห็นบ้างแต่ยังไม่ชำนาญ ในบางทักษะที่สำคัญ) (ค่อนข้างจำกัดและขาดการพัฒนา) ความอ่อนแอทางเทคโนโลยีของ SMEs ส่วนใหญ่ในประเทศไทย SMEs ส่วนใหญ่ มีการใช้เทคโนโลยีในระดับ ต่ำ และล้าสมัย  ขาดการสื่อสารและเชื่อมโยงกับ หน่วยงานภาครัฐ และ สถาบันการศึกษา ซึ่งเป็นแหล่ง ความรู้ และการสนับสนุนต่างๆ  ขาดการบริหารจัดการ และ การตลาดที่ดี  ความสามารถในการเข้าถึงแหล่ง เงินทุนที่ต่ำ

27 ที่มา: สวทน. พ.ศ. 2557 27 ในปี 2554 ค่าใช้จ่ายวิจัยและพัฒนาในภาคการผลิตสูงสุด 5 อันดับแรกมาจาก อุตสาหกรรมเคมี อาหาร ปิโตรเลียม เครื่องจักรและยางและพลาสติก (รวมกัน 10,489 ล้านบาท หรือ 65% ของทั้งหมด)*

28 สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน 28 - ระบบขนส่งทางราง - อินเทอร์เน็ต (อุตสาหกรรม 4.0) - ระบบการจัดสรรน้ำ - ความมั่นคงทางพลังงาน -

29 การลงทุนด้านระบบรางของประเทศ  เงินทุนหมุนเวียน  การจ้างงานในประเทศ  พัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ รถไฟทางคู่ รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน  การพัฒนา เทคโนโลยี  ผู้เชี่ยวชาญใน ประเทศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ 29 คิดเป็นการลงทุนด้านระบบรางมูลค่า 1.07 ล้านล้านบาท ภายในระยะเวลา 8 ปี (2558-2565)* ที่มา : กระทรวงคมนาคม (2558)

30 ความต้องการบุคลากรด้านปฏิบัติการเดินรถ และซ่อมบำรุงภายใต้แผนคมนาคมของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2565 ที่มา : สวทน. (2557)  วิศวกร 1,698 คน  ช่างเทคนิค 3,396 คน  สาขาอื่นๆ 4,168 คน 2558 2563 2564 โครงการรถไฟทาง คู่ เสร็จสิ้น โครงการรถไฟฟ้า เสร็จสิ้น  วิศวกร 2,865 คน  ช่างเทคนิค 5,729 คน  สาขาอื่นๆ 7,031 คน รวมบุคลากรที่ ต้องการ  วิศวกร 4,563 คน  ช่างเทคนิค 9,125 คน  สาขาอื่นๆ 11,199 คน 30

31 การดำเนินการพัฒนากำลังคนโดยเครือข่ายฯ กำลังคนระดับวิศวกร กำลังคนระดับช่างเทคนิค ผู้สอน นักวิจัย และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง พัฒนารายวิชา นำร่องสอนใน 5 มหาวิทยาลัย หลักสูตรวิศวกรรมขนส่งทางราง พัฒนารายวิชา นำร่องสอนใน 4 วิทยาลัย วศร. ฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี 31 การพัฒนากำลังคนด้านระบบขนส่งทางราง

32 32 งานประชุมวิชาการระบบขนส่งทางราง จัดโดย เครือข่ายพัฒนากำลังคนและความเชี่ยวชาญเทคโนโลยีด้าน ระบบขนส่งทางรางของประเทศ 19 หน่วยงาน วันที่ 28-29 สิงหาคม 2557 มีผู้เข้าร่วมงานประมาณ 400 คน จากทั้ง ภาครัฐ เอกชน ผู้ประกอบการเดินรถ มหาวิทยาลัย และหน่วยงานวิจัย Thailand Rail Academy Symposium 2014 (TRAS 1)

33 33 การประชุมวิชาการด้านระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 2 The 2nd Thailand Rail Academic Symposium (TRAS 2) งานประชุมวิชาการด้านระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2558 ระหว่างวันที่ 26-28 สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมท็อปแลนด์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก Proceedings ได้รับความสนใจโดยมีผู้เข้าร่วมงานจากทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา และสถาบันวิจัย ภาคการเดินรถ ภาคอุตสาหกรรม และประชาชน ทั่วไป กิจกรรมภายในงาน การแสดงปาฐกถา การเสวนา การบรรยายวิชาการโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ การนำเสนอบทความวิชาการ การจัดแสดงทางเทคโนโลยี ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร และ Korean Railroad Research Institute (KRRI)

34 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 34 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 34 อินเทอร์เน็ตสรรพสิ่ง หรือInternet of Things (loT) The Internet of Things (IoT) is the network of physical objects that contain embedded technology to communicate and sense or interact with their internal states or the external environment. (Gartner) ที่มา : Freescale 34

35 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 35 สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 35 เซ็นเซอร์ด้านการแพทย์และสุขภาพ 35 ไบโอเซนเซอร์

36 36 Sensor Applications: ด้านการเกษตร และอาหาร Smart Farm

37 ที่มา : http://rippleffectgroup.com/

38 38 แหล่งที่มา : Kamolbhan Sangmahachai, Director Kasetsart Energy and Technology Management Center

39 Industry 4.0 1.เป็นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและอินเตอร์เน็ตมาใช้ในกระบวนการผลิตสินค้า. 2. เชื่อมความต้องการผู้บริโภคกับกระบวนการผลิต หรือผลิตตามความต้องการ ของผู้บริโภคแต่ละรายได้ (ทำตามสั่ง) 3. Industry 3.0 เน้นการผลิตแบบเดียวกันจำนวนมาก 4. ใช้กระบวนการผลิตที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพ (Smart Factory). 39

40 ความคาดหวังของประเทศ ต่อมหาวิทยาลัย 40

41 บุคลากรวิจัยและพัฒนาของไทยส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในภาครัฐเป็นหลัก หน่วยงานบุคลากรวิจัย (หน่วย: คน) บุคลากรวิจัย (หน่วย: FTE) สัดส่วนบุคลากร วิจัย (FTE) ต่อ ประชากร 10,000 คน ภาคอุดมศึกษา และสถาบันวิจัย ของรัฐ 66,535 (73%) 30,877 (58%) 5.5 ภาคเอกชน 24,938 (27%) 22,245 (42%) 3.5 รวมทั้งหมด 91,473 (100%) 53,122 (100%) 9 ที่มา: สวทน. 41 จำนวนบุคลากรวิจัยและพัฒนาปี 2554

42 1.เพิ่ม GDP ของประเทศ ทำให้มีนวัตกรรมในภาคผลิตและบริการ 2.ประเทศไทยมีบริษัทขนาดยักษ์ใหญ่อยู่น้อยมาก งานวิจัยพัฒนาจึงมีไม่มาก 3.บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชนไม่เพียงพอ 4.โจทย์วิจัยในภาคเอกชนส่วนมากเป็นการแก้ปัญหาในกระบวนการผลิต 5.การวิจัยและพัฒนามักเป็นแบบ วิศวกรรมย้อนกลับ (reverse engineering) หรือ copy and development 6.เอกชนอยากทำวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แต่ไม่รู้จะไปปรึกษาหน่วยงานใด เพราะกลัวคู่แข่งจะรู้และพัฒนาแข่ง 7.ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม การแก้ปัญหาภาคเกษตรกรรมก็สำคัญ ต้องการ วทน. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งอีกมาก ประเด็นปัญหาการทำวิจัยของภาคอุตสาหกรรม

43 1.สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่ยังเน้นด้านการเรียนการสอน 2.สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่มุ่งการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นลูกจ้าง มากกว่า เป็นผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ 3.การวิจัยของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่มุ่งเน้น Basic research อาจ เนื่องจากทุนวิจัยจาก สกว. หรือ สกอ. 4.มีอาจารย์จำนวนไม่มากที่ทำงานวิจัยโดยมีโจทย์จากภาคอุตสาหกรรม 5.อาจมีอาจารย์ทำงานวิจัยเชิงพาณิชย์ แต่ส่วนใหญ่เป็นเพียง ตัวต้นแบบ 6.ขาดการสนับสนุนทุนวิจัยเชิงพาณิชย์ 7.สถาบันการศึกษาและภาคอุตสาหกรรมไม่มีความเชื่อมโยงกัน มหาวิทยาลัยอาจ สร้างให้มี Industrial Liaison Office ประเด็นปัญหาการทำวิจัยร่วมภาคอุดมศึกษา

44 Thank You for your attention 44


ดาวน์โหลด ppt สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google