งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: " รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1  รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด ใหญ่  รอบ 9 เดือน ประเมินผลการดำเนิน ตามมาตรฐาน  รอบ 12 เดือน สรุปผลการดำเนินงาน และสรุปบทเรียน  รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด ใหญ่  รอบ 9 เดือน ประเมินผลการดำเนิน ตามมาตรฐาน  รอบ 12 เดือน สรุปผลการดำเนินงาน และสรุปบทเรียน 1.สถานการณ์ โรคไข้หวัดใหญ่ 2.มาตรการ เป้าหมาย / ผลงาน ระบบบริการ  ดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด ใหญ่ด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีการเฝ้า ระวังผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ มีแนวทาง การดูแลรักษา การคัดกรองผู้ป่วย การสำรองวัสดุ เวชภัณท์ตามเกณฑ์ การจัดสถานที่พร้อมรับ ผู้ป่วย การป้องกันการแพร่เชื้อ การสื่อสารความ เสี่ยงกับประชาชน การให้ วัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล การบริหาร จัดการ พัฒนาศักยภาพบุคลากร มีเครือข่ายคณะกรรมการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็ง ในระดับจังหวัด/อำเภอ /ตำบล หน่วยบริการจัดทำข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังสถานการณ์ โรค / ILI /การรายงานโรค การสอบสวนควบคุมโรค ความครอบคุมการรับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ มีแผนบูรณาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ ป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ระดับ จังหวัด/อำเภอ/ตำบลแลชุะ ศูนย์ปฏิบัติการมี การประชุม ร่วมแก้ไขปัญหา ด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีความพร้อมรับการ ระบาดทุกแห่ง มีภาคีเครือข่าย และ ศูนย์ ปฏิบัติการทุกอำเภอ Quick win พื้นที่ จังหวัดนคราชสีมา/ปีงบประมาณ 2556 25572558 case 1,2192,403 4,969 อัตราป่วย/100000 Pop. 46.6890190.05 death 02220 อัตราตาย/100000 Pop. 00.820.75 อัตราป่วยตาย (%) 00.920.39 3.เป้าหมาย 4. ผลงาน 3 เดือน ตัวชี้วัด อำเภอผ่านเกณฑ์การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน บุคลากร ยาตานไวรัส /Rapid test Influenza vaccine ยาตานไวรัส /Rapid test Influenza vaccine ยาและเทคโนโลยี ด้านการแพทย์

2

3

4 หน่วยบริการที่มีผลงานดีเด่น 1. โรงพยาบาลประทาย 2. ศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลศีรษะละเลิง 4. โรงพยาบาลบ้านเหลื่อม 5. โรงพยาบาลปักธงชัย 6. โรงพยาบาล กองบิน 1 นครราชสีมา

5 หน่วยบริการที่มีผลงานดีเด่น 7. โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา 8. โรงพยาบาลขามทะเลสอ 9. โรงพยาบาลหนองบุญมาก 10. โรงพยาบาลแก้งสนามนาง 11. คลินิกชุมชนอบอุ่นมหาชัย 12. โรงพยาบาลพระทองคำ เฉลิมพระ เกียรติ ๘๐ พรรษา

6 การบันทึกรายงาน โปรแกรม HOS XP (43 แฟ้ม ) ( รหัสวัคซีนส่งออก 815, ICD10 Z25.1)

7

8 หน่วยงานบทบาท สำนักงานป้องกัน ควบคุมโรค พัฒนาศักยภาพเชิงวิชาการแก่หน่วยงานต่างๆ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการให้วัคซีน ( ระดับเขต ) สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด พัฒนาศักยภาพเชิงวิชาการแก่หน่วยงานต่างๆ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการให้วัคซีน ( ระดับจังหวัด อำเภอ ) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนเป้าหมาย พื้นที่ในจังหวัด / อำเภอ / ตำบล สปสช. เขต ประสานงานกระจายวัคซีนผ่านระบบ VMI วิเคราะห์ผลการนิเทศในภาพรวมเขต

9 การเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ หลังฉีดวัคซีน ระบบเฝ้าระวังปกติ (Passive surveillance) รายงาน 506 รายงานอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค (AEFI1, AEFI2) รายงานผู้ป่วยที่มีอาการไม่พึงประสงค์ร้ายแรงภายหลังได้รับ วัคซีน (Serious AEFI) ภายใน 24 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย โดย ผ่านช่องทาง outbreak notification ระบบเฝ้าระวังกึ่งเชิงรุก / เชิงรุก (Stimulated passive surveillance / active surveillance) การโทรศัพท์ติดตามอาการ AEFI โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข บัตรรายงานอาการ AEFI ด้วยตนเอง (Self-reported card)

10 การติดตามประเมินผล ติดตาม 3 ระยะคือ ก่อนดำเนินการ ขณะดำเนินการและหลังการ ดำเนินงาน - ระบบข้อมูลและทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย - การจัดทำแผน / จัดกิจกรรมดำเนินงาน - การบริหารคลังวัคซีน - การจัดการ - การกำกับ ติดตาม ประเมินผล - อัตราความครอบคลุมวัคซีนร้อยละ - อัตราความสูญเสียวัคซีนร้อยละ

11 งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ สิ่งที่พบข้อเสนอแน่ะ 1.หน่วยบริการบางแห่งได้รับ จัดสรรวัคซีนไปแล้ว ไม่ได้ ฉีดให้กลุ่มเป้าหมาย 2.หน่วยบริการฉีดไม่ได้ตาม เกณฑ์เป้าหมายที่กำหนดคือ ร้อยละ90 อัตราการสูญเสีย เกินร้อยละ 5 3.การบันทึกในโปรแกรม43 แฟ้มของกลุ่มบุคลากรไม่ สามารถบันทึกได้ครบถ้วน ถูกต้อง ควรดำเนินการฉีดกลุ่มเป้าหมาย เพราะวัคซีนที่ได้รับจัดสรรมาให้ เฉพาะกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคและ วัคซีนที่ได้รับมีจำนวนจำกัด ควรดำเนินการให้ได้ตามเกณฑ์ มีประโยชน์ในการป้องกันโรค ให้หน่วยบริการบันทึกผลงานตาม แบบ รายงานของหน่วยบริการจัดทำ ขึ้นเองและรายงานจังหวัด ปํญหาอุปสรรค

12 งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ สิ่งที่พบข้อเสนอแน่ะ 4. กรณีเป็นMultiple dose หน่วยบริการบางแห่งการ ให้บริการไม่ได้บันทึกการ ได้รับวัคซีนร่วมขวดเดียวกัน 5. การรายงานการสอบสวน อาการไม่พึงประสงค์ที่เกิด จากวัคซีนพบการรายงาน น้อย 6. หลังบันทึกข้อมูลแต่ละ ครั้งไม่ได้ print out ข้อมูล มาตรวจสอบความครบถ้วน และเก็บไว้เป็นหลักฐาน การให้วัคซีนควรมีการลงบันทึกการ ได้รับวัคซีนร่วม Lot ร่วมขวดเดียวกัน ของกลุ่มเป้าหมาย เพราะหากเกิด อาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับ วัคซีนสามารถตรวจสอบได้ง่าย ควรรายงานทุกรายที่พบอาการ ผิดปกติและทบทวนระบบการรายงาน print out ข้อมูลมาตรวจสอบ ความถูกต้องครบถ้วน และเก็บไว้เป็น หลักฐานต่อไป ปํญหาอุปสรรค

13


ดาวน์โหลด ppt  รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google