งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สพม.1-42 สพป.1-183 รองศาสตราจารย์ ดร.สุพักตร์ พิบูลย์..นักวิชาการอิสระ อดีต.. อาจารย์ มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่ฯ นนทบุรี 2, กทม.2, สพม.3 ปัจจุบัน...

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สพม.1-42 สพป.1-183 รองศาสตราจารย์ ดร.สุพักตร์ พิบูลย์..นักวิชาการอิสระ อดีต.. อาจารย์ มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่ฯ นนทบุรี 2, กทม.2, สพม.3 ปัจจุบัน..."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 สพม.1-42 สพป.1-183 รองศาสตราจารย์ ดร.สุพักตร์ พิบูลย์..นักวิชาการอิสระ อดีต.. อาจารย์ มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่ฯ นนทบุรี 2, กทม.2, สพม.3 ปัจจุบัน... กพท.สพป.ปทุมธานี 2,กรรมการสภาฯ NSTRU, สภาวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ กรรมการคณะครุศาสตร์ และบัณฑิตวิทยาลัย ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี,ที่ปรึกษาอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้ ศธ. การขับเคลื่อนคุณภาพ สพท. : บทบาทร่วมขององค์คณะบุคคล

3 ส่วนที่ 1 ปัญหาคุณภาพการศึกษา -ทุกข์ -สมุทัย

4

5 Input -สมรรถนะครู ผู้บริหาร( การผลิต การส่งเสริม ควบคุมคุณภาพครู ) -สมรรถนะพื้นฐานนักเรียน -ความพร้อมด้านงบประมาณ(การกระจายงบประมาณ) -อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้(หนังสือเรียน) -นโยบาย,ความพร้อมด้านแผนและมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพ ภายใน(การใช้แผนเป็นเครื่องมือ) Financial -ใช้ทรัพยากรไม่คุ้มค่า/ไม่มีประสิทธิภาพ -กคศ./ อกคศ -คุรุสภา สพฐ/ สำนัก สพม. สพป. องค์คณะ/ เครือข่าย

6 Input -ความแตกฉานของทีมงานประกันคุณภาพและงานแผน(ระดับเขต, ร.ร. ) -ความพร้อมด้านแผนปฏิบัติการ/แผนประกันคุณภาพในรอบปี,รอบ 5 ปี -ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนงานประกันคุณภาพ -มาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ระยะ 5 ปี ระบบประกันคุณภาพภายในองค์กร สพม. สพป. สพฐ/ สช./ สำนัก สพม. สพป. องค์คณะ/ เครือข่าย

7 6 ส่วนที่ 2 ระบบองค์คณะบุคคล ----------------...”เราเป็นกรรมการให้หน่วยงานต่าง ๆ หลายชุด..เราต้องเป็นกรรมการแบบมุ่ง สัมฤทธิ์....หากคุณภาพงานไม่ดีขึ้น เรา จะวางมือ หรือให้โอกาสคนอื่นเข้ามา แทน....เพราะหากเป็นต่อไปอาจเป็นการ ทำลายโอกาสของเด็ก เยาวชน และ ประเทศ”...

8 องค์คณะบุคคล ที่ทำงานร่วมกับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพของเขตฯ   คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา(ก.พ.ท.)   คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา(ก.ต.ป.น.)   คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา(อ.ก.ค.ศ.)   กรรมการเครือข่าย/สหวิทยาเขต   กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

9 บทบาท หน้าที่ กพท.   จัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่   กำกับ ดูแลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่ (กำกับติดตาม ส่งเสริม คุณภาพสถานศึกษา)   ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชน ในเขตพื้นที่   ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถจัดการศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐาน

10 หน้าที่กรรมการ(ต่อ)   ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นที่ จัดการศึกษา ในรูปแบบที่หลากหลาย   งานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

11 หน้าที่ ตามกฏกระทรวง 2550 เรื่อง การกระจายอำนาจทางการศึกษา   ให้ความเห็นชอบ หรือไม่เห็นชอบ เกี่ยวกับงาน ด้านวิชาการ บุคลากร งบประมาณ และ การ บริหารงานทั่วไป ตามที่สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเสนอ

12 ก.ต.ป.น. องค์คณะบุคคลเพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา องค์คณะบุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ทำงาน ร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใน การ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย นิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลการบริหารและการ ดำเนินการ โดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขต พื้นที่การศึกษา เพื่อการปรับปรุงและ เตรียมรับการประเมินผลจากหน่วยงาน ภายนอก

13 12 1. พิจารณากำหนดนโยบายการบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการ ก.ค.ศ.ในเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งการกำหนดจำนวนและอัตรา ตำแหน่ง และเกลี่ยอัตรากำลังให้สอดคล้องกับนโยบาย การบริหารงาน บุคคล ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด 2. พิจารณาให้ความเห็นชอบการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา อำนาจหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ฯ (มาตรา 23)

14 13 3. ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการพิจารณาความดีความชอบ ของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาในหน่วยงาน การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา และข้าราชการ ก.ค.ศ.ใน เขตพื้นที่การศึกษา 4. พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทางวินัย การออก จากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ตามที่กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัตินี้

15 14 5. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา การเสริมสร้างขวัญ กำลังใจ การปกป้องคุ้มครองระบบคุณธรรม การจัดสวัสดิการ และการยกย่องเชิดชูเกียรติข้าราชการ ก.ค.ศ. ในหน่วยงาน การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา 6. กำกับ ดูแล ติดตามและประเมินผลการบริหารงานบุคคล ของ ก.ค.ศ. ในหน่วยงานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

16 15 7. จัดทำและพัฒนาฐานข้อมูลข้าราชการ ก.ค.ศ. ในหน่วยงาน การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 8. จัดทำรายงานประจำปีที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของ ข้าราชการ ก.ค.ศ. ในหน่วยงานการศึกษาเพื่อเสนอ ก.ค.ศ. 9. พิจารณาให้ความเห็นชอบเรื่องการบริหารงานบุคคลในเขตพื้นที่ การศึกษาที่ไม่อยู่ในอำนาจและหน้าที่ของผู้บริหารของหน่วยงาน การศึกษา 10. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามที่ ก.ค.ศ.มอบหมาย

17 ปัญหาการปฏิบัติงาน ในบทบาทของคณะกรรมการ (ทุกชุด)

18 ปัญหาการทำงานในรูปกรรมการ  วิสัยทัศน์ แนวคิดในการบริหารจัดการ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่  ความรู้ องค์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิควิธีการทำงาน(เชื่อประสบการณ์ มากกว่า การบริโภคความรู้/ผลการวิจัยใหม่ๆ)  สารสนเทศเพื่อการพัฒนางาน(การตัดสินใจไม่อยู่บนพื้นฐานของ สารสนเทศ)  เวลาในการประชุมสัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปฏิทินการประชุมในรอบปี ไม่แน่นอน ไม่ชัดเจน ไม่มีวาระการประชุมแบบรายปี การใช้เทคโนโลยีช่วยในการประชุม/จัดการ ยังมีน้อย

19 ปัญหาการทำงานในรูปกรรมการ(ต่อ)  ประสิทธิภาพการประชุม( กรรมการแบบค่าตัวแพง ) กรรมการ รับทราบวาระการประชุมในห้องประชุม ไม่มีเวลาเตรียมแนวคิด (ข้อเสนอแนะจึงไม่ได้ผ่านการกลั่นกรองอย่างรอบคอบ) ไม่ได้จำแนกเรื่องแจ้งเพื่อทราบประเภท “อดีต” กับ “อนาคต” ทำให้ใช้เวลาเพื่อ เรื่องอดีตมากเกินไป ใช้เวลากับเรื่องอดีต มากกว่า เรื่องอนาคต(เรื่อง “พิจารณา หารือ”) ไม่ได้ใช้บันทึกการประชุมเป็นเครื่องมือในการกำกับงาน แต่ใช้เป็นบันทึก ประวัติศาสตร์ ทำให้ผลการประชุมไม่ได้นำไปสู่การปฏิบัติแบบทันทีทันใด

20 ปัญหาการทำงานในรูปกรรมการ(ต่อ)  ปฏิทินสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ : เดือนใด ควร เตรียมข้อมูลใด พร้อมที่จะเสนอต่อที่ประชุม  ไม่มีปฏิทิน – ไม่ชัดเจน – ไม่ทำตามปฏิทิน

21 20 ส่วนที่ 3 การขับเคลื่อนคุณภาพ เขตพื้นที่การศึกษา ----------------- -The Balanced Scorecard -Empowerment Approach

22 Learning & Growth พนักงาน/บุคลากร/องค์กร Financial องค์กรมีรายได้ กำไร

23 Taking Stock -กำหนดภาพความสำเร็จ -วิเคราะห์ Baseline ณ วันรับมอบงาน/แยกเขต Setting Goal -กำหนดเป้าหมาย คุณภาพระยะ 3-5 ปี Developing Strategies -กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ Implementing -ขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ -กำกับติดตาม นิเทศงาน Documenting Progress -ประเมิน รวบรวมหลักฐาน (15-20 ฐานข้อมูลสำคัญ) วงจร Empowerment Approach Mission Analysis -วิเคราะห์พันธกิจ

24 23 สพท. มีพันธกิจอะไรบ้าง สร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับพันธกิจ ขององค์กร : วิเคราะห์พันธกิจของ สพท. 1 Mission Analysis ช่วยให้เราทำงาน ครอบคลุมพันธกิจ

25 24 กำหนดมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสำหรับสถานศึกษาในเขตพื้นที่ (รวมทั้งกำหนดมาตรฐานการบริหารจัดการ สพท.) เสริมสร้างสมรรถนะของผู้เกี่ยวข้องในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดทำแผนงาน โครงการ ให้รองรับ- สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา กำกับ ติดตาม นิเทศ เพื่อให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานที่กำหนด ประเมินคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ กำหนด(คะแนนสูงขึ้น ต่อเนื่อง) พัฒนาฐานข้อมูล องค์ความรู้ Best Practices เพื่อ สนับสนุนและผลักดันให้สถานศึกษาเกิดการพัฒนา ต่อเนื่อง ไม่หยุดยั้ง เกิดวัฒนธรรมคุณภาพใน สถานศึกษาและ สพม./สพป. Goal

26 เลือก Final Indicators ที่สำคัญ ๆ (เพื่อควบคุมทิศทางและส่งมอบงาน)  ร้อยละครูชำนาญการพิเศษ-เชี่ยวชาญในเขตพื้นที่การศึกษา  สัดส่วนครูที่ผ่านการประเมินคุณภาพการสอนระดับดี-ดีมาก  ร้อยละของครู คศ.3-4 ที่สร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง มากกว่า 2 รายการต่อปี  ร้อยละของครูบรรจุใหม่ ที่ก้าวสู่ชำนาญการพิเศษภายใน 9 ปี ------------------------  คะแนนผลการประเมินมาตรฐาน สพท.(ประเมินตนเอง/ประเมินโดย สพฐ.)  คะแนนความพึงพอใจต่อระบบองค์คณะบุคคล(กพท. อ.ก.ค.ศ. ก.ต.ป.น.) -----------------------  ร้อยละของสถานศึกษาที่คะแนนเฉลี่ย O-NET สูงกว่าค่ากลางประเทศ  ร้อยละของโรงเรียนที่ปรากฏคะแนนประกันคุณภาพภายในสูงกว่า 90 %  ร้อยละสถานศึกษาที่ผ่านการประเมินจาก สมศ.ระดับดี-ดีมาก  ร้อยละของสถานศึกษาที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก สมศ.  ร้อยละของสถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานสากลในระดับ “ดีมาก” ------------------------ 25

27 2

28 วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการจำเป็น(Baseline) ของ สพท.  ร้อยละของครูที่มี “มาตรฐานการสอน” ระดับ ดีมาก = 68 %  คะแนนผลการประเมินมาตรฐาน สพท.= 3.75 จากระบบ 5 คะแนน  ร้อยละของครูที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ = 37 % ร้อยละของโรงเรียนที่คะแนนโอเน็ตสูงกว่าค่ากลางประเทศ= 32.68 ร้อยละของโรงเรียนที่ปรากฏคะแนนประกันคุณภาพภายในสูงกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของโรงเรียนที่ปรากฏคะแนนประกันคุณภาพภายในสูงกว่าร้อยละ 90 ร้อยละโรงเรียนที่ผลประเมิน สมศ. อยู่ในระดับดี-ดีมาก = 14 % ร้อยละโรงเรียนที่ผลประเมิน สมศ. อยู่ในระดับดี-ดีมาก = 14 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการรับรองจาก สมศ. = 64 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการรับรองจาก สมศ. = 64 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานสากล = 8 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานสากล = 8 %  ร้อยละของครู คศ.3-4 ที่สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง= 8 %  ร้อยละของครู ที่ก้าวสู่ชำนายการพิเศษ ไม่เกิน 10 ปี= 0 %  คะแนนความพึงพอใจต่อระบบองค์คณะบุคคล(3.76, 3.52,2.98) คุณภาพโดยรวมของ สพม. อยู่ลำดับที่ 27 ในจำนวน 42 เขตพื้นที่การศึกษา คุณภาพโดยรวมของ สพม. อยู่ลำดับที่ 27 ในจำนวน 42 เขตพื้นที่การศึกษา

29 กำหนดเป้าหมายความสำเร็จ และมุ่งมั่นนำการเปลี่ยนแปลงสู่ องค์กร..(เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง) Sense of Excellent V.S Sense of Survival. ต้อง...มุ่งสัมฤทธิ์ มุ่งความเป็นเลิศ Setting Goals กำหนดเป้าประสงค์ 3

30 Setting Goals : Image of success, Indicators & Criteria  ร้อยละของครูที่มี “มาตรฐานการสอน” ระดับ ดีมาก = 90 %  คะแนนผลการประเมินมาตรฐาน สพท.= 4.50 จากระบบ 5 คะแนน  ร้อยละของครูที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ = 70 % ร้อยละของโรงเรียนที่คะแนนโอเน็ตสูงกว่าค่ากลางประเทศ= 60 ร้อยละของโรงเรียนที่ปรากฏคะแนนประกันคุณภาพภายในสูงกว่าร้อยละ 90= 70 % ร้อยละของโรงเรียนที่ปรากฏคะแนนประกันคุณภาพภายในสูงกว่าร้อยละ 90= 70 % ร้อยละโรงเรียนที่ผลประเมิน สมศ. อยู่ในระดับดี-ดีมาก = 50 % ร้อยละโรงเรียนที่ผลประเมิน สมศ. อยู่ในระดับดี-ดีมาก = 50 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการรับรองจาก สมศ. = 90 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการรับรองจาก สมศ. = 90 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานสากล = 30 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานสากล = 30 %  ร้อยละของครู คศ.3-4 ที่สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง= 70 %  ร้อยละของครู ที่ก้าวสู่ชำนาญการพิเศษ ไม่เกิน 10 ปี= 80 %  คะแนนความพึงพอใจต่อระบบองค์คณะบุคคล(4.50 ทั้ง 3 องค์คณะ)  คุณภาพ สพม....โดยรวม จัดอยู่ใน 15 อันดับแรก ภายใน 2560

31 -ระบบ MOU ต้องถูกนำมาใช้ ในขั้น Setting Goal -ครู คศ.3-4 ต้องทำ MOU เป็นกรณีพิเศษ

32 Developing Strategies ใช้แผนกลยุทธ์ เป็นเครื่องมือสำคัญ แผนงาน โครงการ ต้องรองรับมาตรฐาน/สอดคล้องกับมาตรฐาน บริหารจัดการแบบอิงหลักวิชา (Theory Driven Approaches) กำหนดกลยุทธ์ คิดค้น Action Model ที่สร้างสรรค์ เป็น ระบบ เทียบเคียงกับองค์กรมาตรฐาน กำหนดปฏิทินงาน/ปฏิทินขับเคลื่อนในรอบ 1-3 ปี อย่าง ชัดเจน 4

33 ยึดมั่นในพันธกิจ บริหารงานด้วย วิสัยทัศน์ นโยบาย และยุทธศาสตร์ พันธกิจ ขององค์กร แผน ยุทธศาสตร์ นโยบาย แผนงาน โครงการ วัตถุประสงค์/ เป้าประสงค์ ขององค์กร เปลี่ยนแปลง อะไร-อย่างไร วิสัยทัศน์

34 -ทีมบริหาร/บุคลากรบริโภคองค์ความรู้ เรียนรู้ Best Practices ตลอดเวลา -ใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ กำหนดปฏิทินสารสนเทศ 12 เดือน(เดือนใดต้องมีข้อมูลอะไรมาสนับสนุนการตัดสินใจ) -Benchmarking...เทียบเคียงและเลียนแบบ ขับเคลื่อนองค์กรด้วยองค์ความรู้ (ยุคสังคมฐานความรู้)

35 -ทุกครั้งที่เราดำเนินการเรื่องใด ๆ สามารถอธิบาย วิธีการ ขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน(Action Model) -สามารถอธิบายหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่สอดแทรก ในกระบวนการทำงาน(Theory-Driven Approach) Action Model

36 Benchmarking การพัฒนาสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ หรือ มาตรฐานได้ โดยยึดองค์กรที่มีการปฏิบัติงานได้มาตรฐานหรือ มีความเป็นเลิศ เป็นตัวอย่างหรือเป็นจุดอ้างอิงเพื่อเทียบเคียง โดยมีการพิจารณาในเรื่องต่อไปนี้ คือ เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ หรือ มาตรฐานได้ โดยยึดองค์กรที่มีการปฏิบัติงานได้มาตรฐานหรือ มีความเป็นเลิศ เป็นตัวอย่างหรือเป็นจุดอ้างอิงเพื่อเทียบเคียง โดยมีการพิจารณาในเรื่องต่อไปนี้ คือ Benchmarking WHAT? WHO/WHAT is the best? How do we do it? How do they do it? How Should we do it to meet the Benchmark?

37 ในระดับอาเซียน...มุ่งเทียบเคียงสิงค์โปร์ เขายอดเยี่ยม...เรื่องอะไร สิงค์โปร์ -ทักษะภาษา คณิตศาสตร์ ทักษะชีวิต -การเป็นนักอ่าน ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน -อารมณ์ บุคลิกภาพ -ความซื่อสัตย์ จิตสาธารณะ

38 กลยุทธ์ มาตรการสร้างสรรค์

39

40

41

42

43 ทุกกลยุทธ์ มีแผนงาน โครงการ รองรับ (ระยะ 3 ปี 1ปี)

44  บริหารแบบอิงมาตรฐาน  ทำงานอย่างเป็นระบบ ครบวงจร  ให้ความสำคัญกับ งานป้องกันปัญหา และงานยกระดับคุณภาพ ผู้เรียน/ชุมชน พอ ๆ กับ หรือมากกว่างานแก้ปัญหา  ใช้ ICT หนุนการบริหารจัดการ  ใช้พลังเครือข่ายในการขับเคลื่อน  สร้างความพร้อมด้านบุคลากร/ส่งเสริมศักยภาพ อย่างต่อเนื่อง 5

45 Plan DoDo C heck A ct/Action/ Adjust

46 บริหารจัดการแบบป้องกันความเสี่ยง ปฏิทินความเสี่ยง : ระบุ ปัญหา ความเสี่ยง เหตุการณ์ วิกฤติ ที่อาจเกิดขึ้น ในแต่ละ เดือน ตลอด 12 เดือน (คาดการณ์) ปฏิทินป้องกันปัญหา/ลด ความเสี่ยง : จัดทำกำหนดการประชุม ปรึกษาหารือ ทบทวน ความก้าวหน้า หรือการเตรียม การณ์เพื่อลดปัญหา ตลอด 12 เดือน( ประชุมเดือนละครั้ง )

47 วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการจำเป็น ประกาศจุดเน้น ทิศทางการพัฒนาประจำปี วางแผน / จัดทำแผนงาน โครงการ กำกับ ติดตาม นิเทศ และ ประเมินความก้าวหน้า ประเมิน สรุปผลการดำเนินงาน ปฏิทินงาน การศึกษาของ สพป. ปี 2558-59 (ประชุมกรรมการเขตฯ/ก.ต.ป.น./เครือข่าย) กุมภาพันธ์-มีนาคม 2558 มีนาคม-เมษายน 2558 เมษายน-พฤษภาคม 2558 มิถุนายน 58-กุมภาพันธ์ 59 กุมภาพันธ์-มีนาคม 2559

48 วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการจำเป็น ปรับปรุง ระบบฐานข้อมูลงานบุคลากร ประกาศจุดเน้น นโยบายบริหารงานบุคคล วางแผน/จัดทำ โครงการเสริมสมรรถนะ บุคลากร ทุกสายงาน กำกับ ติดตาม นิเทศ และ ประเมินความก้าวหน้างานบุคลากร ประเมิน สรุปผลการดำเนินงาน ปฏิทินงาน การบริหารงานบุคคล ปี 2558-59 (ประชุมกรรมการ อ.ก.ค.ศ.เขตฯ) กุมภาพันธ์-มีนาคม 2558 มีนาคม-เมษายน 2558 เมษายน-พฤษภาคม 2558 มิถุนายน 58-กุมภาพันธ์ 59 กุมภาพันธ์-มีนาคม 2559

49 นักบริหาร/ทีมบริหาร  แตกฉาน เกี่ยวกับมาตรฐานและตัวชี้วัดความสำเร็จ ขององค์กร แตกฉานในแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร  แม่น ในหลัก Monitoring  จริงจังในงานประกันคุณภาพภายใน

50 เชื่อมั่นในเรื่อง Social Network Capital : พลังเครือข่าย-การทำงานเป็นทีม -บทบาทการร่วมมือระหว่างผู้เกี่ยวข้อง -การสร้างเครือข่ายวิชาการ จัดให้มีศูนย์พัฒนาวิชาการ โรงเรียนต้นแบบ/โรงเรียนแกนนำของโรงเรียนในเครือ -เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา ร่วมศึกษา วิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ใช้พลังเครือข่ายในการพัฒนางาน

51 -กรรมการเขตพื้นที่(ก.พ.ท.) -ก.ต.ป.น. -อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ -กรรมการสถานศึกษา -อปท. -เครือข่ายผู้ปกครองจังหวัด -สมัชชาการศึกษาจังหวัด/สภาการศึกษาจังหวัด ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน

52  บุคลากรในสังกัด(Man):Learning & Growth  Money Material Management (แนวดำเนินการ และฐานข้อมูล) สร้างความพร้อม ด้านทรัพยากร เพื่อการพัฒนา : พิเศษ เรื่อง “คน”

53 ต้นทุนบุคลากร/ต้นทุนการพัฒนา  Degree Capital  Intellectual Capital  Social-Network Capital Intellectual Capital เกิดจาก “วัฒนธรรมการทำงานแบบสั่งสมความรู้”

54  พัฒนาแบบมีแผน แบบยกองค์กร(กำหนดเป้าหมาย)  เน้นให้ทุกคนจัดทำแผนพัฒนาตนเอง ระยะ 1-39 ปี  พัฒนาระบบนิเทศภายใน ระบบแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง On- the-job Training(1 ใน 9 วิธีการขยายพันธุ์มะม่วง)  สร้างค่านิยมในการทำงานหนัก /สร้างวัฒนธรรมคุณภาพ  สร้างวัฒนธรรมการทำงานแบบสั่งสมความรู้  ประเมินการปฏิบัติงานแบบเน้นผลงานเพื่อผลักดันให้เกิดการพัฒนา พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง จริงจัง

55  ทักษะ ICT ของนักบริหาร/ครู/บุคลากรทางการศึกษา  ระบบฐานข้อมูล Website เว็บไซต์ 2 ภาษา พัฒนาระบบ ICT เพื่อเสริม ประสิทธิภาพงาน “ด้อยทักษะ ICT เสียโอกาสในชีวิต”

56 ตรวจสอบประสิทธิภาพงาน เป็นระยะ ๆ 6

57 ประเมินผลการดำเนินงานรอบ 1-3 ปี : สร้างนิสัยด้านการประเมิน  รายงานการพัฒนารายบุคคล  รายงานการพัฒนาคุณภาพรายกลุ่มสาระ รายโรงเรียน  รายงานการพัฒนาคุณภาพของศูนย์พัฒนาวิชาการ/สหวิทยาเขต/กลุ่มโรงเรียน  รายงานการพัฒนาคุณภาพการการประถมศึกษา/การมัธยมศึกษาจังหวัด ในรอบ 1 ปี และระยะ 3 ปี  สรุปผลงาน Best Practices  ประเมินพัฒนาการ/ความก้าวหน้าในวิชาชีพของครู ----------------------------- “เน้นตรวจสอบผลงานตามเป้าหมาย หรือ ภาพความสำเร็จที่กำหนด” “เน้นตรวจสอบผลงานตามเป้าหมาย หรือ ภาพความสำเร็จที่กำหนด”------------------------------------

58 การประเมินผลงานองค์คณะบุคคล จัดตั้งคณะกรรมการประเมินผลงานของบอร์ดต่อไปนี้ จัดตั้งคณะกรรมการประเมินผลงานของบอร์ดต่อไปนี้  ผลงานของ ก.พ.ท.  ผลงานของ ก.ต.ป.น.  ผลงานของ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่  กรรมการสหวิทยาเขต  กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน -ประเมินทุกสิ้นปี เพื่อการปรับปรุงพัฒนาบทบาทหรือทิศทางการทำงาน และ -ประเมินเมื่อครบวาระ เพื่อการตัดสินใจต่ออายุ-ไม่ต่ออายุ เป็นรายบุคคล.... -ประเมินเมื่อครบวาระ เพื่อการตัดสินใจต่ออายุ-ไม่ต่ออายุ เป็นรายบุคคล.... 57 1)ความมุ่งมั่น/สิ่งที่ได้ดำเนินการในการยกระดับคุณภาพงาน 2)ผลสำเร็จของงานตามบทบาทหน้าที่ 3)ผลกระทบต่อคุณภาพการจัดการศึกษา และ 4)แนวทางการพัฒนางานในโอกาสต่อไป

59 สรุปบัญชีผลงาน..แสดงความ รับผิดชอบ ก่อนมอบหมายงาน (ผลงาน 1-3 ปี...หรือ เมื่ออยู่ครบ 3 ปี)  ร้อยละของครูที่มี “มาตรฐานการสอน” ระดับ ดีมาก = 91 %  คะแนนผลการประเมินมาตรฐาน สพท.= 4.58 จากระบบ 5 คะแนน  ร้อยละของครูที่มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ/เชี่ยวชาญ = 76 % ร้อยละของโรงเรียนที่คะแนนโอเน็ตสูงกว่าค่ากลางประเทศ= 43 % ร้อยละของโรงเรียนที่ปรากฏคะแนนประกันคุณภาพภายในสูงกว่าร้อยละ 90= 58 % ร้อยละของโรงเรียนที่ปรากฏคะแนนประกันคุณภาพภายในสูงกว่าร้อยละ 90= 58 % ร้อยละโรงเรียนที่ผลประเมิน สมศ. อยู่ในระดับดี-ดีมาก = 32 % ร้อยละโรงเรียนที่ผลประเมิน สมศ. อยู่ในระดับดี-ดีมาก = 32 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการรับรองจาก สมศ. = 92 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการรับรองจาก สมศ. = 92 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานสากล = 35 % ร้อยละโรงเรียนที่ผ่านการประเมินมาตรฐานสากล = 35 %  ร้อยละของครู คศ.3-4 ที่สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง= 65 %  ร้อยละของครู ที่ก้าวสู่ชำนาญการพิเศษ ไม่เกิน 10 ปี= 62 %  คะแนนความพึงพอใจต่อระบบองค์คณะบุคคล(4.53,4.61,4.59)  คุณภาพ สพป....โดยรวม จัดอยู่ในอับดับ 18 ใน 2560

60 Taking Stock -กำหนดภาพความสำเร็จ -วิเคราะห์ Baseline ณ วันรับมอบงาน/แยกเขต Setting Goal -กำหนดเป้าหมาย คุณภาพระยะ 3-5 ปี Developing Strategies -กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ Implementing -ขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ -กำกับติดตาม นิเทศงาน Documenting Progress -ประเมิน รวบรวมหลักฐาน (15-20 ฐานข้อมูลสำคัญ) วงจร Empowerment Approach Mission Analysis -วิเคราะห์พันธกิจ

61

62 การติดต่อ รศ. ดร. สุพักตร์ พิบูลย์ ที่บ้าน โทร/Fax 02-580 9100 Mobile 081-750 3380 ที่บ้าน โทร/Fax 02-580 9100 Mobile 081-750 3380 e-mail address : Supak_pibool@hotmail.com drsuphak@gmail.com e-mail address : Supak_pibool@hotmail.com drsuphak@gmail.com drsuphak@hotmail.com drsuphak@hotmail.com http://drsuphak.com สำนักงาน ดร.สุพักตร์ พิบูลย์


ดาวน์โหลด ppt สพม.1-42 สพป.1-183 รองศาสตราจารย์ ดร.สุพักตร์ พิบูลย์..นักวิชาการอิสระ อดีต.. อาจารย์ มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่ฯ นนทบุรี 2, กทม.2, สพม.3 ปัจจุบัน...

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google