งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

3 พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาองค์กร

4

5

6 พันธกิจ 1. พัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวง และเชื่อมโยงระบบขนส่ง เพื่อสนับสนุนระบบ โลจิสติกส์ภาคการขนส่ง 2. พัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวง และเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อรองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน 3. กำกับ ดูแล ปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานทางด้านการก่อสร้างและบำรุงรักษาทาง หลวง เพื่อให้เกิดระบบขนส่งที่มีประสิทธิภาพ 4. กำกับ ดูแล และปรับปรุงทางหลวง ให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้เส้นทาง 5. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้องค์กรสามารถ ตอบสนองต่อพลวัตของการเปลี่ยนแปลงในเชิงบูรณาการ ทั้งทางด้านเทคโนโลยี การ บริการ สังคมและสิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์กรมทางหลวง ๕๕-๕๙ วิสัยทัศน์ “มุ่งสู่ความเป็นองค์กรชั้นนำด้านงานทาง เชื่อมโยงการขนส่ง อย่างยั่งยืน”

7 ยุทธศาสตร์ 1.การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงเพื่อรองรับระบบโลจิสติกส์ ภาคการขนส่ง การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงเพื่อรองรับระบบโลจิสติกส์ ภาคการขนส่ง 2.การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3.การดูแลรักษา ปรับปรุง และพัฒนาประสิทธิภาพโครงข่าย ทางหลวงให้กระจายทั่วทุกภูมิภาค การดูแลรักษา ปรับปรุง และพัฒนาประสิทธิภาพโครงข่าย ทางหลวงให้กระจายทั่วทุกภูมิภาค 4.การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงให้ได้มาตราฐานความ ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงให้ได้มาตราฐานความ ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง 5.การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร ตอบสนองสังคมและสิ่งแวดล้อมตามหลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร ตอบสนองสังคมและสิ่งแวดล้อมตามหลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี

8 กลยุทธ์ 1.การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากโครงข่ายทางหลวง การปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากโครงข่ายทางหลวง 2.การเพิ่มความคล่องตัวในการสัญจรบนโครงข่ายทางหลวง การเพิ่มความคล่องตัวในการสัญจรบนโครงข่ายทางหลวง 3.พัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ พัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ 4.พัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงการขนส่งหลายรูปแบบ พัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงการขนส่งหลายรูปแบบ 5.การให้ความสำคัญต่องานอำนวยความปลอดภัยทางถนนเพื่อป้องกันและแก้ไข อุบัติเหตุบนโครงข่ายทางหลวง การให้ความสำคัญต่องานอำนวยความปลอดภัยทางถนนเพื่อป้องกันและแก้ไข อุบัติเหตุบนโครงข่ายทางหลวง 6.การบูรณะบำรุงรักษาทางหลวงให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน การบูรณะบำรุงรักษาทางหลวงให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 7.การเพิ่มความสำคัญของการลดผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก กิจกรรมงานทางบนโครงข่ายทางหลวง การเพิ่มความสำคัญของการลดผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก กิจกรรมงานทางบนโครงข่ายทางหลวง 8.บูรณาการแผนงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตและรักษาสิ่งแวดล้อมบนโครงข่ายทางหลวง บูรณาการแผนงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตและรักษาสิ่งแวดล้อมบนโครงข่ายทางหลวง 9.พัฒนาและปรับปรุงองค์กรตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ พัฒนาและปรับปรุงองค์กรตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ 10.การปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตามแนว ทางการเพิ่มคุณภาพการบริหารภาครัฐการปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตามแนว ทางการเพิ่มคุณภาพการบริหารภาครัฐ

9 ค่านิยม ๔ G GOOD KNOWLEDGE AND EXPERIENCE : องค์กรที่มีความรู้ความชำนาญด้านงานทางสูง GOOD TECHNOLOGY AND COMMUNICATION : ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ ทันสมัย GOOD TECHNOLOGY AND COMMUNICATION : ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ ทันสมัย GOOD GOVERNANCE : ยึดหลักธรรมาภิบาล GOOD GOVERNANCE : ยึดหลักธรรมาภิบาล ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี GOOD SERVICE AND ENVIRONMENT : ใส่ใจการให้บริการผู้ใช้ทาง และรักษาสิ่งแวดล้อม

10 3.1 มุ่งมั่นและส่งเสริมการบริหารจัดการให้กรมทาง หลวงเป็นองค์กรชั้นนำด้านงานทางที่มีสมรรถนะสูงและ ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล 3) ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการถ่ายทอด ความรู้และประสบการณ์ นโยบายหลัก 3. นโยบาย ด้าน องค์การ แนวทางปฏิบัติ 3 นโยบายกรมทางหลวง 2558 นโยบายหลัก 4. นโยบาย ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน แนวทางปฏิบัติ 4.1 สนับสนุนทรัพยากรบุคคลและการแลกเปลี่ยน เรียนรู้อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2)มุ่งเน้นความสำคัญของการจัดการองค์ความรู้ (KM) 2

11 1) ให้ทุกหน่วยงานทบทวนและจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานในแต่ ละกระบวนงานหลัก 2) ให้ทุกหน่วยงานมีการรวบรวมและจัดเก็บคู่มือ การปฏิบัติงานไว้ในคลังความรู้ของหน่วยงาน 3) ให้ทุกหน่วยงานมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ในหน่วยงานอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง 4) ให้ทุกหน่วยงานมีการกำหนดแนวทางเสริมสร้าง แรงจูงใจ ในการดำเนินการจัดการความรู้ในหน่วยงาน นโยบายกรมทางหลวงด้านการจัดการความรู้ ปี 2556 - 2557 เป้าหมาย ต้องการให้กรมทางหลวงมีคู่มือการปฏิบัติงาน ครบถ้วนทุกกระบวนงาน ภายในระยะเวลา 2 ปี

12 1. ให้ทุกหน่วยงานมีการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการความรู้ให้กับบุคลากร ทุกคนในหน่วยงาน เป้าหมาย - มีการจัดกิจกรรมในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการความรู้ ให้กับบุคลากรทุกคนในหน่วยงานโดยพร้อมเพรียงกันอย่างน้อย 1 ครั้ง 2. ให้ทุกหน่วยงานกำหนดนโยบายการดำเนินการจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติ หน้าที่ของบุคลากร เป้าหมาย – มีการกำหนดนโยบายและแผนการจัดการความรู้ของหน่วยงาน รวมทั้ง กำหนดให้การจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งในการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ทุกคนในหน่วยงาน 3. ให้ทุกหน่วยงานดำเนินการจัดการความรู้ให้อยู่รูปแบบที่สามารถเผยแพร่และจัดเก็บใน คลังความรู้ได้ เป้าหมาย - มีองค์ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อย่างน้อย 1 เรื่อง 4. ให้ทุกหน่วยงานนำความรู้จากคลังความรู้กรมทางหลวงมาใช้ในการปฏิบัติงานหรือพัฒนา งานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เป้าหมาย - พิจารณาเลือกองค์ความรู้จากคลังความรู้กรมทางหลวงมาใช้ในการ ปฏิบัติงานหรือพัฒนางาน อย่างน้อย 1 เรื่อง 5. ให้ทุกหน่วยงานกำหนดแนวทางเสริมสร้างแรงจูงใจในการดำเนินการจัดการความรู้ให้กับ บุคลากร เป้าหมาย - มีการเสริมสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรในหน่วยงานที่มีผลงานด้านการจัดการ ความรู้อย่างน้อย 1 แนวทาง

13 โครงสร้างระบบบริหารการจัดการความรู้กรมทางหลวง CKO Chief Knowledge Officer ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ รองอธิบดีฝ่ายวิชาการ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กรกรมทางหลวง คณะทำงานการจัดการความรู้ ในองค์กรกรมทางหลวง 10 ด้าน ด้านที่ 1 แผนพัฒนาทางหลวง ด้านที่ 2 งานสำรวจและออกแบบ ด้านที่ 3 งานก่อสร้าง ด้านที่ 4 งานบำรุงทาง ด้านที่ 5 ความปลอดภัยในการใช้ทาง ด้านที่ 6 วิเคราะห์และวิจัยงานทาง ด้านที่ 7 เครื่องกลและสื่อสาร ด้านที่ 8 การพัฒนาองค์กร ด้านที่ 9 ระเบียบการบริหาร ด้านที่ 10 กฎหมาย ด้านที่ 1 แผนพัฒนาทางหลวง ด้านที่ 2 งานสำรวจและออกแบบ ด้านที่ 3 งานก่อสร้าง ด้านที่ 4 งานบำรุงทาง ด้านที่ 5 ความปลอดภัยในการใช้ทาง ด้านที่ 6 วิเคราะห์และวิจัยงานทาง ด้านที่ 7 เครื่องกลและสื่อสาร ด้านที่ 8 การพัฒนาองค์กร ด้านที่ 9 ระเบียบการบริหาร ด้านที่ 10 กฎหมาย คณะทำงานการจัดการความรู้ประจำ สำนักงานทางหลวง 18 คณะ คณะทำงาน การจัดการความรู้ ประจำหน่วยงาน ส่วนกลาง (36 ศูนย์สร้างทาง ศูนย์สร้างและ บูรณะสะพาน คณะทำงานการจัดการความรู้ ประจำหน่วยงานแขวงทางหลวง กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ กองฝึกอบรม วิทยากรที่ปรึกษา (162 หน่วยงาน)

14 คณะทำงานการจัดการความรู้ประจำหน่วยงาน - จัดทำนโยบายและแผนการจัดการความรู้ - จัดทำชุดความรู้และรวบรวมจัดเก็บในคลัง - จัดกิจกรรมส่งเสริมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - สนับสนุนการนำความรู้มาใช้ประโยชน์ - กำหนดแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ/ กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ กองฝึกอบรม กำกับดูแลและพัฒนา คลังความรู้กรมทางหลวง (KM Website) กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ กองฝึกอบรม - จัดทำแผนจัดการความรู้ของกรมทางหลวง - จัดโครงการ/กิจกรรมสนับสนุน - รวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้ - ติดตามความก้าวหน้า และวิเคราะห์ผล คณะทำงานการจัดการความรู้ใน องค์กรกรมทางหลวง 10 ด้าน - พิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง รับรององค์ความรู้กรมทางหลวง - จัดทำองค์ความรู้มาตรฐาน - พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ - พิจารณาองค์ความรู้ที่ต้องมีการ เผยแพร่ในระดับนโยบายกรมฯ คณะกรรมการพัฒนา ระบบบริหาร ความรู้ในองค์กรกรม ทางหลวง กำหนดนโยบาย แนวทางพัฒนา คณะทำงานการจัดการความรู้ประจำ สำนักงานทางหลวง กระตุ้นและส่งเสริมการจัดการความรู้ ตามนโยบาย พิจารณากลั่นกรองความ ถูกต้องของชุดความรู้ และเผยแพร่ ความรู้ที่เป็นประโยชน์อย่างทั่วถึง

15 การดำเนินการจัดการความรู้ของกรมทางหลวง วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกำหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ จัดทำแผนจัดการความรู้ ดำเนินการโครงการตามแผนจัดการความรู้ ติดตามความก้าวหน้าและวิเคราะห์ผล แผนพัฒนา ทรัพยากรบุคคล กรมทางหลวง ประจำปี แผนจัดการ ความรู้ประจำ หน่วยงาน กำกับดูแลคลังความรู้ กรมทางหลวง KM Website ประชาสัมพันธ์ การจัดการความรู้ กรมทางหลวง ให้คำปรึกษา แนะนำในด้าน การจัดการ ความรู้

16 จัดเก็บองค์ความรู้ ในคลังความรู้ (KM Website) การพิจารณารับรององค์ความรู้กรมทางหลวง เสนอ คณะกรรมการพัฒนา ระบบบริหารความรู้ใน องค์กรกรมทางหลวง เพื่อพิจารณาให้ความ เห็นชอบ

17 1. การประชุมเพื่อพัฒนาระบบบริหารการจัดการความรู้ 2. โครงการจัดทำคลังข้อมูลงานทาง 3. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนนักปฏิบัติ 4. โครงการวิทยากรที่ปรึกษาการจัดการความรู้ 5. โครงการเผยแพร่องค์ความรู้ (ตลาดนัดความรู้) 6. โครงการประเมินผลและติดตามผลการจัดการความรู้ 7. โครงการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมเพื่อการเรียนรู้ 8. โครงการกำกับดูแลและพัฒนาระบบสารสนเทศ KM Website 9. โครงการประชาสัมพันธ์การจัดการความรู้

18 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียรู้ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs) กิจกรรมหมวดสัญจร กิจกรรม KM Cafe’ หรือสภากาแฟ เพื่อพูดคุยนำเสนอแนวคิดการพัฒนา กิจกรรม Dialogue การนำเสนอความรู้โดยวิธีการเล่าเรื่อง (Story Telling) การซักซ้อมความเข้าใจก่อนเริ่มทำงานและสรุปหลังเสร็จงาน (BAR-AAR) การสอนงาน (Coaching) การพูดคุยระดมความคิดเห็นเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาในงาน การตรวจเยี่ยมและนำเสนอผลงานของแขวงการทางในสังกัด การหมุนเวียนงาน Rotation การประชุมประจำเดือน โดยให้นำเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ไข การติดตามผลของผู้บริหารในการแก้ไขปัญหาตามที่ได้นำเสนอในที่ประชุม การจัดทำชุดความรู้ที่เล็งเห็นแล้วว่าเป็นประโยชน์กับหน่วยงานอย่างแท้จริง การจัดทำห้องสมุดของหน่วยงานหรือเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้ การจัดฝึกอบรม/สัมมนาภายในหน่วยงาน กิจกรรมส่งเสริมการจัดการความรู้ในหน่วยงาน

19 โครงการสร้างวิทยากรที่ปรึกษา การจัดการความรู้ การสำรวจทางด้วยกล้อง Total Station ร่วมกับโปรแกรม Auto CAD Civil 3D โครงการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการเรียนรู้ กอง การพัสดุ พิจารณาความถูกต้องของชุดความรู้ คู่มือระเบียบการเบิกค่าใช้จ่ายในการ ฝึกอบรม โครงการจัดทำคลังข้อมูลงานทาง เรื่อง ความรู้พื้นฐานการขับและควบคุม เครื่องจักรกล

20 ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 “นิทรรศการร้อยความรู้ 99 สู่ 100 ปี กรมทางหลวง” ระหว่างวันที่ 8 – 9 กันยายน 2554 ณ ห้องเทิดศักดิ์ เศรษฐมานพ กองฝึกอบรม กรมทางหลวง ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 “นิทรรศการร้อยความรู้ 99 สู่ 100 ปี กรมทางหลวง” ระหว่างวันที่ 8 – 9 กันยายน 2554 ณ ห้องเทิดศักดิ์ เศรษฐมานพ กองฝึกอบรม กรมทางหลวง

21 ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 4 ปีงบประมาณ 2555 “ร้อยปีแห่งภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 12 กันยายน 2554 ณ ห้องเทิดศักดิ์ เศรษฐมานพ กองฝึกอบรม กรมทางหลวง ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 4 ปีงบประมาณ 2555 “ร้อยปีแห่งภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 12 กันยายน 2554 ณ ห้องเทิดศักดิ์ เศรษฐมานพ กองฝึกอบรม กรมทางหลวง

22 ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 5 ปีงบประมาณ 2556 “สู่ศตวรรษใหม่แห่งภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 19 กันยายน 2554 ณ ชั้น 1 อาคารเฉลียว วัชรพุกก์ และลานรอบพิพิธภัณฑ์กรมทางหลวง ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 5 ปีงบประมาณ 2556 “สู่ศตวรรษใหม่แห่งภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 19 กันยายน 2554 ณ ชั้น 1 อาคารเฉลียว วัชรพุกก์ และลานรอบพิพิธภัณฑ์กรมทางหลวง

23 ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 6 ปีงบประมาณ 2557 “เวทีเผยแพร่ภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 8 กันยายน 2554 ณ ชั้น 1 อาคารเฉลียว วัชรพุกก์ และลานรอบพิพิธภัณฑ์กรมทางหลวง ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 6 ปีงบประมาณ 2557 “เวทีเผยแพร่ภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 8 กันยายน 2554 ณ ชั้น 1 อาคารเฉลียว วัชรพุกก์ และลานรอบพิพิธภัณฑ์กรมทางหลวง

24 ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 7 ปีงบประมาณ 2558 “ขุมทรัพย์ความรู้แห่งภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 8 กันยายน 2558 ณ ชั้น 1 อาคารเฉลียว วัชรพุกก์ และลานรอบพิพิธภัณฑ์กรมทางหลวง ตลาดนัดความรู้ ครั้งที่ 7 ปีงบประมาณ 2558 “ขุมทรัพย์ความรู้แห่งภูมิปัญญาชาวทาง” วันที่ 8 กันยายน 2558 ณ ชั้น 1 อาคารเฉลียว วัชรพุกก์ และลานรอบพิพิธภัณฑ์กรมทางหลวง

25 KM Doh Facebook 1. เข้า Facebook  กด search  พิมพ์ KM Doh ช่องทางการประชาสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

26 2. กด Friend เพื่อเป็นเพื่อนกับ Km Doh จากนั้น ถึงจะสามารถดูข้อมูลและPost ข้อความต่างๆ ได้ KM Doh Facebook

27 3. ตัวอย่างข้อมูล ข่าวสาร กิจกรรมต่างๆ ใน KM Doh KM Doh Facebook

28 2. Click ไอคอน KM 1. Click เข้าสู่หน้าหลัก KM Website

29 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ (KM Website) 1.คลังความรู้ 2.ผู้เชี่ยวชาญ 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.โครงการ 5.ร่วมสนุก KM 6.ปฏิทิน KM 7.เครือข่าย 8.บริหารจัดการ

30

31

32 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข 1) ขาดความรู้ความเข้าใจขั้นตอนในการดำเนินการจัดการความรู้ - กำหนดนโยบายให้มีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเรื่อง KM - สร้างและพัฒนาวิทยากรที่ปรึกษาการจัดการความรู้ประจำหน่วยงาน 2) เวลาในการจัดกิจกรรมน้อย เนื่องจากภารกิจงานประจำที่ค่อนข้างมาก อัตรากำลังบุคลากรน้อย - กำหนดนโยบายให้ KM เป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงาน - ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้เนียนไปกับเนื้องาน 3) ขาดความร่วมมือของบุคลากรบุคลากรไม่เห็นความสำคัญของการจัดการ ความรู้ไม่ใส่ใจที่จะทำ หากไม่โดนบังคับให้ทำ ขาดแรงจูงใจในการ ดำเนินการทัศนคติของบุคลากรถือว่าการจัดทำองค์ความรู้เป็นภาระ - พัฒนาความรู้ความเข้าใจ KM เน้นให้เห็นประโยชน์ในงาน ช่วยพัฒนา งาน แก้ไขปัญหา - ผู้บังคับบัญชาควรมีการเสริมแรงจูงใจ ให้ความสำคัญ และติดตามผล อย่างจริงจังสม่ำเสมอ

33 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ท้าทาย PMQA Model 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 33

34 PMQA หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประเด็นการพิจารณา A (0.4) - แนวทางและวิธีการคัดเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นและเป็น ประโยชน์แก่องค์การ 1)มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารการจัดการความรู้ คณะทำงานการจัดการความรู้ในองค์กร 10 ด้าน คณะทำงานการจัดการ ความรู้ประจำสำนักงานทางหลวง และคณะทำงานการจัดการความรู้ประจำ หน่วยงาน 2)มีนโยบายการจัดการความรู้ที่ชัดเจนถ่ายทอดลงสู่การปฏิบัติ และแผนงาน โครงการจัดการความรู้ประจำปี 3)มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบริหารความรู้ในองค์กร และ คณะทำงานการจัดการความรู้ในองค์กร 10 ด้าน ร่วมกันพิจารณาจัดทำองค์ ความรู้ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ และนโยบายของกรมทางหลวง รวมทั้งมีการพิจารณาคัดเลือกองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ที่หน่วยงานต่างๆ จัดทำขึ้นมากำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติของกรมทางหลวง IT 3

35 PMQA หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประเด็นการพิจารณา A (0.4) - แนวทางการค้นหาวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ 1)มีการประชุมคณะทำงานการจัดการความรู้ประจำสำนักงานทางหลวง เพื่อพิจารณาคัดเลือกองค์ความรู้จากแขวงทางหลวงในสังกัด มา แสดงในงานตลาดนัดความรู้ประจำปี 2)มีการพิจารณาผลงานความรู้ดีเด่นของกรมทางหลวงตามเกณฑ์ มาตรฐาน โดยคณะทำงานการจัดการความรู้ในองค์กรกรมทางหลวง IT 3

36 PMQA หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประเด็นการพิจารณา D/L (0.3) - มีการแบ่งปันและถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีอยู่ 1)มีการจัดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนนักปฏิบัติ 2)มีเวทีนำเสนอผลงานความรู้ และการจัดนิทรรศการแสดงผลงาน ความรู้ที่จำเป็นและเป็นประโยชน์ในงานจากหน่วยงานต่างๆ ในสังกัด กรมทางหลวง 3)มีการจัดทำคลังความรู้ KM Website เพื่อจัดเก็บและเผยแพร่องค์ ความรู้ภายในและภายนอกกรมทางหลวง IT 3

37 PMQA หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประเด็นการพิจารณา D/L (0.3) - มีการนำวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศไปถ่ายทอดและขยายผล 1)มีนโยบายการจัดการความรู้ที่ชัดเจนในข้อ 4 ให้ทุกหน่วยงานนำ ความรู้จากคลังความรู้กรมทางหลวงมาใช้ในการปฏิบัติงานหรือ พัฒนางานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โดยมีเป้าหมายพิจารณาเลือง องค์ความรู้จากคลังความรู้กรมทางหลวงมาใช้ในการปฏิบัติงานหรือ พัฒนางานอย่างน้อย 1 เรื่อง และการติดตามผลการดำเนินการ จัดการความรู้ประจำปี 2)มีการนำองค์ความรู้ทีเป็นเลิศไปใช้ในการฝึกอบรมเพื่อพัฒนา บุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น IT 3

38 PMQA หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประเด็นการพิจารณา D/L (0.3) - แสดงถึงการมีองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่องค์กร และ นำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้ รวมถึงการพัฒนา กระบวนการที่เพิ่มคุณค่าให้กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 1)มีคลังความรู้ที่สามารถค้นหาความรู้ที่ใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ได้ 2)มีการนำองค์ความรู้เข้าสู่กระบวนการฝึกอบรม และการสัมมนา เพื่อ พัฒนาบุคลากรทั้งภายในกรมทางหลวง และขยายผลสู่บุคลากร ภายนอก ทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ลดข้อผิดพลาด ในงาน ทำให้ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจในการประสานงานที่ สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น เกิดความปลอดภัยต่อประชาชนผู้ใช้ทาง และ สร้างอาชีพให้กับประชาชน IT 3

39 PMQA หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประเด็นการพิจารณา R/I (0.3) - เกิดวัฒนธรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับองค์การและ ระดับบุคคล 1)มีการจัดโครงการส่งเสริมการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการ ปฏิบัติงานในองค์กรให้กับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้บุคลากรมีทัศนคติที่ ดีในการทำงาน มีความสามัคคีร่วมมือร่วมใจกันทำงานเป็นทีม เห็นถึง ความสำคัญของการจัดการความรู้ ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2)มีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดขึ้นใน หน่วยงานอย่างสม่ำเสมอ เช่น สภากาแฟ Morningtalk เสวนาผ่าน ไลน์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการประชุมประจำเดือน COP 3)มีเครือข่ายวิทยากรที่ปรึกษาประจำทุกหน่วยงาน เพื่อส่งเสริมและ กระตุ้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในหน่วยงานอย่างทั่วถึงและ ต่อเนื่อง IT 3

40 รู้จักตนเอง มีความรอบรู้ เรียนรู้เป็นทีม มีวิสัยทัศน์ ร่วมกัน รูปแบบการคิด เข้าใจผู้อื่น คิดเป็นระบบ องค์กรแห่งการเรียนรู้

41 กลุ่มส่งเสริมการเรียนรู้ กองฝึกอบรม โทร. 02 354 6668 – 76 ต่อ 25420-21


ดาวน์โหลด ppt พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google