งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การมอบนโยบาย/แนวทาง เรื่อง โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท และ โครงการสร้างชุมชนเกื้อกูล เพิ่มพูนน้ำใจ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การมอบนโยบาย/แนวทาง เรื่อง โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท และ โครงการสร้างชุมชนเกื้อกูล เพิ่มพูนน้ำใจ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การมอบนโยบาย/แนวทาง เรื่อง โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท และ โครงการสร้างชุมชนเกื้อกูล เพิ่มพูนน้ำใจ สร้างวิถีไทยสามัคคี โดย อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

2 โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท ที่มา และกระบวนการ/ขั้นตอน

3 ยุทธศาสตร์ที่ 1 กระทรวง ศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานหลัก ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 กรมประชา- สัมพันธ์ เป็นหน่วยงานหลัก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์ที่ 7 แผนยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (พ.ศ. 2557 - 2560) ของรัฐบาล โดยสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี(สปน.) กำหนดแผนยุทธศาสตร์การบูรณาการ 7 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ กรอบวงเงินงบประมาณ ตามยุทธศาสตร์ สามารถขอใช้ได้ในปัจจุบัน - งบอุดหนุน กลุ่ม องค์กรภาคประชาชนนิติบุคคล ภาคเอกชน 6,000 ล้านบาท - สนับสนุนส่วนราชการ(เบิกจ่ายแทนกัน) 1,300 ล้านบาท ในภาคการเกษตร และชนบท ในภาค การศึกษา ในภาคธุรกิจ บริการการท่องเที่ยว อุตสาหกรรม และ ผู้ประกอบการ รายย่อย ด้านการ ต่างประเทศ เพิ่มบทบาท ประชาสัมพันธ์ ในเชิงรุกฯ สู่สาธารณชน ในวงกว้าง ด้านความ มั่นคง สร้างกลไก การบริหาร จัดการฯ ไปสู่ภาค การปฏิบัติ กระทรวงการ ต่างประเทศ เป็นหน่วยงานหลัก สำนักงาน คณะกรรมการ- พัฒนาการ เศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลัก กองทัพไทย เป็นหน่วยงานหลัก สำนักงานปลัด สำนักนายก- รัฐมนตรี เป็นหน่วยงานหลัก สำนักงาน คณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงาน โครงการอัน เนื่องมาจาก พระราชดำริ (กปร.) เป็นหน่วยงานหลัก (รองปลัด มท. เป็นรองประธาน และอธิบดี พช. เป็นอนุกรรมการ)

4 แผนยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคลื่อนการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (พ.ศ. 2557 - 2560) มี 7 ยุทธศาสตร์ คณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนฯตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกฯ เป็นประธาน, ปลัด มท. เป็นกรรมการ คณะอนุกรรมการอนุมัติ โครงการและงบประมาณ คณะอนุกรรมการฯ 6 คณะ ยุทธศาสตร์ที่ 1 - 6 คณะอนุกรรมการติดตาม และประเมินผล ยุทธศาสตร์ที่ 1 ในภาคเกษตรและชนบท  เลขาธิการ กปร. : ประธาน  ปลัด มท. : รองประธาน  อธิบดี พช. : อนุกรรมการ  เลขาธิการ กปร. : ประธาน  ปลัด มท. : รองประธาน  อธิบดี พช. : อนุกรรมการ โครงการ ส่งเสริมการขับเคลื่อนฯ ในภาคเกษตรและชนบท 2 กิจกรรม 479,432,800 บาท (ก.พ.-เม.ย.59) กระทรวงฯ มอบกรมการพัฒนาชุมชน  ปลัด สปน. ประธาน  ผู้แทน ยุทธ์ 1 อนุกรรมการ  รองปลัด สปน. ประธาน  ผู้แทน ยุทธ์ 1 อนุกรรมการ

5 การขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท งบประมาณ 479,432,800 บาท  ถ่ายทอดสด ผ่าน NBT  จัดประชุมชี้แจงในพื้นที่ (จังหวัด/อำเภอ) กิจกรรม Kick off งบ 7,652,800 บาท 11 ก.พ. 2559  จัดเวทีชุมชน 2 เวที เวทีที่ 1 ชี้แจงระบบการจัดเก็บข้อมูล เวทีที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลและปรับแผนชุมชน กิจกรรมให้การศึกษาชุมชน จัดเวทีประชาคมทำแผนชุมชน จำนวน 23,589 หมู่บ้านๆ ละ 20,000 บาท งบประมาณ 471,780,000 บาท ก.พ. – เม.ย. 2559 เน้นโครงการ 2 ด้าน 1. ด้านพัฒนาแหล่งน้ำ 2. ด้านอาชีพเพื่อลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ เสนอโครงการของบฯ สปน. เริ่มต้นตั้งแต่เดือน มี.ค.59 เป็นต้นไป เงื่อนไขโครงการ  สนับสนุนเฉพาะค่าวัสดุอุปกรณ์  ชาวบ้านสมทบแรงงาน เงื่อนไขโครงการ  สนับสนุนเฉพาะค่าวัสดุอุปกรณ์  ชาวบ้านสมทบแรงงาน 1 2 3

6 โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท งบประมาณ 479,432,800 บาท  ส่วนกลางดำเนินการ ถ่ายทอดสดทาง NBT  พื้นที่จัดประชุมที่จังหวัด/ อำเภอ  หมู่บ้านๆ ละ 20,000 บาท (จำนวน 23,589 หมู่บ้าน) 2. กิจกรรมให้การศึกษาชุมชนฯ ทำแผนชุมชน (471,780,000 บาท) ก.พ. – เม.ย. 2559 1. ประชุมชี้แจงคณะทำงานฯ (Kick off) และถ่ายทอดสด ผ่าน NBT (7,652,800 บาท) 11 ก.พ. 2559

7 ภาคบ่าย 13.00 – 17.00 น. - ศึกษาแบบจัดเก็บข้อมูล - รับฟังนโยบายทาง NBT - ทำแผนปฏิบัติการกิจกรรมที่ 2 ภาคบ่าย 13.00 – 17.00 น. - ศึกษาแบบจัดเก็บข้อมูล - รับฟังนโยบายทาง NBT - ทำแผนปฏิบัติการกิจกรรมที่ 2 1. กิจกรรมจัดประชุมชี้แจงคณะทำงานฯ (Kick Off) ผ่าน NBT วันที่ 11 ก.พ. 2559 ภาคบ่าย 14.00 -16.00 น. - ถ่ายทอดสดการมอบนโยบาย ผ่าน NBT โดย มท. 1 : - นโยบายขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ของรัฐบาล : รองเลขาฯ กปร. - การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 1 ในภาคเกษตรและชนบท : ปมท. - การปฏิบัติในการขับเคลื่อนเชิงบูรณาการ : อพช. - การจัดเก็บข้อมูลและปรับแผนชุมชน ภาคบ่าย 14.00 -16.00 น. - ถ่ายทอดสดการมอบนโยบาย ผ่าน NBT โดย มท. 1 : - นโยบายขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ของรัฐบาล : รองเลขาฯ กปร. - การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 1 ในภาคเกษตรและชนบท : ปมท. - การปฏิบัติในการขับเคลื่อนเชิงบูรณาการ : อพช. - การจัดเก็บข้อมูลและปรับแผนชุมชน ภาคเช้า 09.00 – 12.00 น. 1. ทบทวนการขับเคลื่อนปรัชญาฯ 2. ศึกษาคู่มือฯ ภาคเช้า 09.00 – 12.00 น. 1. ทบทวนการขับเคลื่อนปรัชญาฯ 2. ศึกษาคู่มือฯ กิจกรรมระดับพื้นที่ กิจกรรมส่วนกลาง กลุ่มเป้าหมาย รวม 43,429 คน  ระดับจังหวัด ณ ห้องประชุมจังหวัด - คณะกรรมการจังหวัดๆ ละ 30 คน  ระดับอำเภอ ณ ห้องประชุมอำเภอ - คณะกรรมการอำเภอๆ ละ 20 คน - ผู้นำหมู่บ้านเป้าหมาย 23,589 หมู่บ้านๆละ 1 คน - เพิ่มผู้นำหมู่บ้านความมั่นคง 39 จังหวัด 497 หมู่บ้านๆละ 1 คน กลุ่มเป้าหมาย รวม 43,429 คน  ระดับจังหวัด ณ ห้องประชุมจังหวัด - คณะกรรมการจังหวัดๆ ละ 30 คน  ระดับอำเภอ ณ ห้องประชุมอำเภอ - คณะกรรมการอำเภอๆ ละ 20 คน - ผู้นำหมู่บ้านเป้าหมาย 23,589 หมู่บ้านๆละ 1 คน - เพิ่มผู้นำหมู่บ้านความมั่นคง 39 จังหวัด 497 หมู่บ้านๆละ 1 คน ภาคเช้า -

8 2. กิจกรรมการให้การศึกษาชุมชนและจัดเวทีประชาคมทำแผนชุมชน เป้าหมาย 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 20,000 บาท (รวม 471,780,000 บาท) เวทีที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล และปรับแผนชุมชน เน้นแผนชุมชน 2 ด้าน 1. ด้านพัฒนาแหล่งน้ำ 2. ด้านอาชีพเพื่อลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ เวทีที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูล และปรับแผนชุมชน เน้นแผนชุมชน 2 ด้าน 1. ด้านพัฒนาแหล่งน้ำ 2. ด้านอาชีพเพื่อลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้  นำโครงการเสนอของบฯ สปน. - พัฒนาแหล่งน้ำ - พัฒนาอาชีพเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ เริ่มต้นตั้งแต่เดือน มี.ค.59 เป็นต้นไป * เงื่อนไขโครงการ - สนับสนุนเฉพาะค่าวัสดุอุปกรณ์ - ชาวบ้านสมทบแรงงาน  นำโครงการเสนอของบฯ สปน. - พัฒนาแหล่งน้ำ - พัฒนาอาชีพเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ เริ่มต้นตั้งแต่เดือน มี.ค.59 เป็นต้นไป * เงื่อนไขโครงการ - สนับสนุนเฉพาะค่าวัสดุอุปกรณ์ - ชาวบ้านสมทบแรงงาน เวทีที่ 1 ชี้แจงและวางแผน การจัดเก็บข้อมูล  บัญชีครัวเรือน (7 หน้า)  แหล่งน้ำ (6 หน้า)  เศรษฐกิจ (2 หน้า) - รายได้/หนี้สิน  สังคม (2 หน้า) - ปราชญ์ชาวบ้าน/ ต้องการฝึกอาชีพ เวทีที่ 1 ชี้แจงและวางแผน การจัดเก็บข้อมูล  บัญชีครัวเรือน (7 หน้า)  แหล่งน้ำ (6 หน้า)  เศรษฐกิจ (2 หน้า) - รายได้/หนี้สิน  สังคม (2 หน้า) - ปราชญ์ชาวบ้าน/ ต้องการฝึกอาชีพ คณะทำงาน ระดับหมู่บ้าน แกนนำ/ อาสาสมัคร (ไม่น้อยกว่า30 คน) คณะทำงานฯ แกนนำ/ อาสาสมัครและ ผู้แทนครัวเรือน (ไม่น้อยกว่า 50 คน)  เวที 1 วัน  จัดเก็บข้อมูล 1-2 เดือน (ก.พ.-มี.ค.59)  เวที 1 วัน  จัดเก็บข้อมูล 1-2 เดือน (ก.พ.-มี.ค.59) 1 วัน (มี.ค.-เม.ย.59) กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา ดำเนินการ ผลผลิต  มีแผนชุมชน บนฐานข้อมูลจริง  มีโครงการพัฒนา แหล่งน้ำและอาชีพ เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ผลผลิต  มีแผนชุมชน บนฐานข้อมูลจริง  มีโครงการพัฒนา แหล่งน้ำและอาชีพ เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ผลผลิต  มีข้อมูลฯ สำหรับ วิเคราะห์ ในเวทีที่ 2

9 การนำแผนชุมชนไปสู่การปฏิบัติ ทำร่วม โครงการประเภท ทำเอง โครงการประเภท ทำให้ โครงการประเภท ชุมชนเกื้อกูล ประชารัฐ อปท./สปน./ หน่วยงานอื่นๆ

10 แบบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อปรับแผนชุมชน แบบจัดเก็บข้อมูล มี 4 ส่วน จำนวน 7 หน้า ข้อมูลบัญชีครัวเรือน ใช้แบบของ สกว. 1 รายได้/หนี้สิน จำนวน 2 หน้า ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ใช้แบบของมูลนิธิปิดทองฯ 3 จำนวน 6 หน้า ข้อมูลแหล่งน้ำ ใช้แบบของ สสนก. 2 1) ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน 2) ข้อมูลความต้องการ ฝึกอาชีพของคนในชุมชน จำนวน 2 หน้า ข้อมูลด้านสังคม ใช้แบบของ พช. 4 จัดเก็บข้อมูล 1 – 2 เดือน หมายเหตุ  กรณีที่มีในข้อมูล จปฐ. และ กชช.2ค ไม่ต้องจัดเก็บใหม่

11 แบบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อปรับแผนชุมชน จำนวน 7 หน้า ข้อมูลบัญชีครัวเรือน ใช้แบบของ สกว. 1 ลักษณะการจัดเก็บ  23,589 หมู่บ้าน  อย่างน้อย 1 เดือน ยกเว้นหมู่บ้าน ที่จดบัญชีครัวเรือนต่อเนื่องอยู่แล้ว  ผู้นำจากเวทีที่ 1 จำนวน 30 คน ไปแนะนำหัวหน้าครัวเรือน จำนวนอย่างน้อยร้อยละ 15 ของครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน ให้จดบัญชีครัวเรือน  เก็บรายครัวเรือน เป้าหมายการจัดเก็บ ระยะเวลาการจัดเก็บ วิธีการจัดเก็บข้อมูล

12 แบบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อปรับแผนชุมชน ลักษณะการจัดเก็บ  262 ตำบล 54 จังหวัด  จำนวน 1 สัปดาห์  ผู้นำ/คณะทำงานระดับหมู่บ้าน ตรวจสอบข้อมูลที่สถาบันสารสนเทศ- ทรัพยากรน้ำและการเกษตร (สสนก.) กับ อปท. สำรวจไว้แล้วให้เป็นปัจจุบัน  เก็บรายตำบล เป้าหมายการจัดเก็บ ระยะเวลาการจัดเก็บ วิธีการจัดเก็บข้อมูล จำนวน 6 หน้า ข้อมูลแหล่งน้ำ ใช้แบบของ สสนก. 2  มีอยู่แล้ว 1,600 ตำบล เฉพาะที่ทับซ้อนและ นำมาใช้ได้ จำนวน 262 ตำบล

13 แบบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อปรับแผนชุมชน ลักษณะการจัดเก็บ  23,589 หมู่บ้าน  จำนวน 1 เดือน  คณะทำงานฯ ผู้นำ อาสาสมัครสอบถามข้อมูลหัวหน้าครัวเรือนทุกครัวเรือน  เก็บรายหมู่บ้าน เป้าหมายการจัดเก็บ ระยะเวลาการจัดเก็บ วิธีการจัดเก็บข้อมูล รายได้/หนี้สิน จำนวน 2 หน้า ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ใช้แบบของมูลนิธิปิดทองฯ 3

14 แบบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อปรับแผนชุมชน ลักษณะการจัดเก็บ  23,589 หมู่บ้าน  จำนวน 1 สัปดาห์  ผู้นำ/คณะทำงานระดับหมู่บ้านและอาสาสมัครสำรวจผู้ที่ต้องการฝึกอาชีพ และค้นหาปราชญ์ และบันทึกข้อมูล  เก็บรายหมู่บ้าน เป้าหมายการจัดเก็บ ระยะเวลาการจัดเก็บ วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1) ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน 2) ข้อมูลความต้องการ ฝึกอาชีพของคนในชุมชน จำนวน 2 หน้า ข้อมูลด้านสังคม ใช้แบบของ พช. 4

15 ที่จังหวัด/อำเภอต้องดำเนินการ ประเด็นเน้นย้ำ

16  ก่อนวันที่ 11 ก.พ.59 1. ศึกษาคู่มือฯ สร้างความเข้าใจให้ พัฒนาการอำเภอ พัฒนากรเจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชนผู้เกี่ยวข้อง 2. ทบทวนคำสั่งคณะทำงานทุกระดับ 3. วางแผนการจัดประชุม 4. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย พร้อมแจ้งกลุ่มเป้าหมาย 5. เตรียมความพร้อมของสถานที่ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดประชุม 6. จังหวัดจัดสรรงบประมาณที่ได้รับจากกรมฯ ให้อำเภอ ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย 7. ประชาสัมพันธ์ให้ ผู้เกี่ยวข้อง หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ผู้นำชุมชน ประชาชน รับฟังการถ่ายทอดฯ ประเด็นเน้นย้ำ ที่จังหวัด/อำเภอต้องดำเนินการ

17  ดำเนินการจัดประชุมในวันถ่ายทอดทาง NBT ตามตารางการจัดประชุม 1 วัน โดยมีสาระสำคัญและเป้าประสงค์ ดังนี้ 1. เป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทบทวน โครงสร้าง บทบาท ของคณะทำงานทุกระดับ และปรับให้เป็นไปตามคู่มือ 2. อำนวยความสะดวกให้กับผู้เข้าร่วมประชุม 3. สร้างความชัดเจนให้กับผู้เข้าร่วมประชุม กรณีมีข้อสงสัย 4. วางแผนในการจัดประชุมประชาคมหมู่บ้านละ 2 เวที ตามโครงการให้แล้วเสร็จ ภายในเดือนเมษายน 2559 งบประมาณหมู่บ้านละ 20,000 บาท (เบิกจ่ายภายในเดือนมีนาคม 2559) - เวทีที่ 1 เวทีชี้แจงและวางแผนการจัดเก็บข้อมูล - เวทีที่ 2 เวทีประชาคมวิเคราะห์ข้อมูล และปรับแผนชุมชน  วันที่ 11 ก.พ.59

18  หลังวันที่ 11 ก.พ.59  การจัดประชุมประชาคมหมู่บ้านละ 2 เวที ตามโครงการที่ใช้งบประมาณ หมู่บ้านละ 20,000 บาท  สนับสนุนให้หมู่บ้านนำโครงการประเภททำเองมาดำเนินการในลักษณะชุมชนเกื้อกูล ส่วนโครงการทำร่วมดำเนินการในรูปแบบประชารัฐ และโครงการทำให้เสนอ ของบจากท้องถิ่น/สปน. เวทีที่ 1 ชี้แจงและวางแผนการจัดเก็บข้อมูล 1)เปิดเวทีด้วยการน้อมนำหลักปรัชญาฯ และหลักการทรงงานตามคู่มือฯ (บทที่ 1) 2)รับชมวีดิทัศน์ 10 นาที 3)อธิบายแบบจัดเก็บข้อมูล 4 ส่วน และการวางแผนการจัดเก็บข้อมูล เวทีที่ 2 เวทีประชาคมวิเคราะห์ข้อมูล และปรับแผนชุมชน 1) วิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจและข้อมูลที่มีอยู่แล้ว 2) กำหนดศักยภาพการพัฒนาของหมู่บ้าน 3) วางแผนกำหนดโครงการ/กิจกรรมพัฒนาเน้นด้านแหล่งน้ำและพัฒนาอาชีพ เพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ 4) กำหนดทีมรับผิดชอบจัดทำรายละเอียดโครงการ ประเด็นเน้นย้ำ ที่จังหวัด/อำเภอต้องดำเนินการ จัดเก็บข้อมูลโดยใช้เวลา 1-2 เดือน

19 ที่มา และ กระบวนการ / ขั้นตอน โครงการ สร้างชุมชนเกื้อกูล เพิ่มพูนน้ำใจ สร้างวิถีไทยสามัคคี

20 ของขวัญปีใหม่ตลอดปี 2559 ของ กระทรวงมหาดไทย โครงการ “ สร้างชุมชนเกื้อกูล เพิ่มพูนน้ำใจ สร้างวิถีไทยสามัคคี “ สร้างชุมชนเกื้อกูล เพิ่มพูนน้ำใจ สร้างวิถีไทยสามัคคี ” 1. การช่วยเหลือ เกื้อกูลใน ชุมชนลดลง 2. ความสุข ความสามัคคี ในชุมชน ลดลง  รู้ รัก สามัคคี  เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ที่มาของ โครงการ หลักการทรง งาน

21 ชุมชนเกื้อกูล ชุมชน เกื้อกูล การ สร้างจิต สาธาร ณะ รับรู้ เข้าใจ บูรณาการ และลงมือ ทำ การเห็น คุณค่า / เผยแพร่ หมายถึง ชุมชนที่มีการอุดหนุน เจือ จาน เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ระหว่างคนใน ชุมชน ระหว่างกิจกรรมการผลิต ระหว่าง คนกับ สาธารณสมบัติและ สภาพแวดล้อมในชุมชน โดยมี จุดมุ่งหมาย เพื่อความเข้มแข็งและ พึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืนของชุมชน

22 หรือตามความ เหมาะสมของพื้นที่ กิจกร รม เกื้อกู ล ลง แขก ลง คลอง ถนน สวย หน้า บ้าน น่ามอง แยก ขยะ ครัว ชุมชน

23 หลักการมีส่วนร่วมใน รูปแบบ “ ประชารัฐ ” หลักการ ทำงาน ภาครัฐ หน่วยงาน ราชการ พช. / ปค. / สถ. ภาครัฐ หน่วยงาน ราชการ พช. / ปค. / สถ. ภาคเอกชน บริษัท ห้าง ร้าน ที่ประสงค์จะ ช่วยเหลือ สังคม (CSR) ภาคเอกชน บริษัท ห้าง ร้าน ที่ประสงค์จะ ช่วยเหลือ สังคม (CSR) ภาค ประชาชน 1. คณะกรรมการ หมู่บ้าน ( กม.) 2. ผู้นำ อช. / อช. 3. ผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่าย ชุมชน / อาสาสมัคร ภาค ประชาชน 1. คณะกรรมการ หมู่บ้าน ( กม.) 2. ผู้นำ อช. / อช. 3. ผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่าย ชุมชน / อาสาสมัคร “ การทำงานเชิง บูรณาการ ”

24 รณรงค์ ประชาสัมพันธ์วิธีการทำงาน พช.พช. พช.พช. ปค. เน้นบูรณาการการทำงานทุกระดับ พันธ มิตร ชุม ชน สถ. จัดทำแผน การ ดำเนินงาน ขับเคลื่อน โครงการ ให้เป็น รูปธรรม

25 การขับเคลื่อนงาน ตลอด ปี 2559 อย่างต่อเนื่อง ระยะเวล า 1. จัดทำ MOU พช. / ปค. / สถ. 2. จัดทำโครงการเสนอกระทรวง 3. ประสานการทำงานประชารัฐ สนับสนุนพื้นที่ 4. ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ตื่นตัว และตระหนัก 5. คัดเลือกจังหวัดตัวอย่างการ ขับเคลื่อนชุมชนเกื้อกูล ส่วนกลาง

26 การขับเคลื่อนงาน ตลอด ปี 2559 อย่างต่อเนื่อง ระยะเวล า 1. สร้างการรับรู้ / ความเข้าใจ 2. ขับเคลื่อนงาน สร้างกระแสให้ เกิดการตื่นตัวทั้งจังหวัด 3. ติดตาม สนับสนุนร่วมกับ ปค. / สถ. 4. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ ตื่นตัว และตระหนัก 5. คัดเลือกชุมชนเกื้อกูลตัวอย่าง และมอบรางวัล 6. รายงานผล จังหวัด

27 การขับเคลื่อนงาน ตลอด ปี 2559 อย่างต่อเนื่อง ระยะเวล า 1. สร้างการรับรู้ / ความเข้าใจ 2. สนับสนุนผู้นำและ อาสาสมัครร่วมโครงการ 3. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ ตื่นตัว และตระหนัก 4. รับสมัครชุมชนเข้าร่วม โครงการ อำเภอ

28 การขับเคลื่อนงาน ตลอด ปี 2559 อย่างต่อเนื่อง ระยะเวล า 1. จัดทำกรอบและกำหนด กิจกรรมเกื้อกูล 2. ดำเนินกิจกรรมเกื้อกูล แห่งละ 2 กิจกรรม 3. สนับสนุนสิ่งที่เกินขีด ความสามารถ ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

29 การขับเคลื่อนงาน ตลอด ปี 2559 อย่างต่อเนื่อง ระยะเวล า 1. จัดทำแผนและกำหนด กิจกรรมเกื้อกูล 2. ประสานขอรับการ สนับสนุนสิ่งที่เกินขีด ความสามารถ 3. ประชาสัมพันธ์สร้างการ รับรู้ ตื่นตัว และ ตระหนัก ชุมชน

30 ผลผลิต มีชุมชนเกื้อกูล อำเภอละ 1 ชุมชน รวม 878 ชุมชน มีชุมชนเกื้อกูล อำเภอละ 1 ชุมชน รวม 878 ชุมชน มีกิจกรรมเกื้อกูลใน พื้นที่ อปท. อย่างน้อย แห่งละ 2 กิจกรรม 15,000 กิจกรรม มีกิจกรรมเกื้อกูลใน พื้นที่ อปท. อย่างน้อย แห่งละ 2 กิจกรรม 15,000 กิจกรรม 1 2 ผลลัพธ์  ประชาชนมีจิต สาธารณะ  ชุมชน รู้ รัก สามัคคี  ชุมชนที่เข้าร่วม โครงการเกิดความ เข้มแข็ง  ประชาชนมีจิต สาธารณะ  ชุมชน รู้ รัก สามัคคี  ชุมชนที่เข้าร่วม โครงการเกิดความ เข้มแข็ง

31 เกณฑ์การ วัดผลสำเร็จ ชุมชนเกื้อกูล กิจกรรมที่ทำเป็นไปตามแผนชุมชน ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมสม่ำเสมอ อย่างน้อยร้อยละ 50 ของจำนวนครัวเรือนในชุมชน เป็นชุมชนที่มีพื้นฐาน หรือเป็น หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบมาก่อน ประชาชนมีการลด รายจ่าย เพิ่มรายได้ แบ่งปันในชุมชน ประชาชนมีความรัก สามัคคีกัน ชุมชนทำกิจกรรมเกื้อกูลอย่างสม่ำเสมอ ตลอดทั้งปี ไม่ต่ำกว่า 10 ครั้ง ชุมชน เกื้อกูล

32 สิ่งที่ส่วนกลางดำเนินการ แล้ว  จัดพิธีลงนาม MOU ระหว่าง 3 หน่วยงาน เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2559  ปลัดกระทรวงมหาดไทยได้ อนุมัติโครงการฯ และอนุมัติให้ ดำเนินการตามโครงการแล้ว

33 ประเด็นเน้นย้ำ ที่จังหวัด / อำเภอต้อง ดำเนินการ

34 ประเด็นเน้นย้ำที่จังหวัด / อำเภอ ดำเนินการ ชุมชนเกื้อกูลควร เกิดขึ้นด้วย ความสมัครใจ การ คัดเลือก ชุมชน 1. สพจ. / สพอ. ต้อง ขับเคลื่อนให้ เห็นผลเป็นรูปธรรม ต่อเนื่อง 2. สร้างภาคีร่วม สนับสนุน ติดตาม การขับเคลื่อน โครงการ เน้นใช้สื่อหลากหลาย รูปแบบและ วิธีการ เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้เกิดการ รับรู้ ตื่นตัว ครั้งยิ่งใหญ่ จนเกิดความตระหนักสู่การเป็นชุมชน เกื้อกูลที่เป็นแบบอย่างได้ การ ประชาสัมพัน ธ์


ดาวน์โหลด ppt การมอบนโยบาย/แนวทาง เรื่อง โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคการเกษตรและชนบท และ โครงการสร้างชุมชนเกื้อกูล เพิ่มพูนน้ำใจ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google