งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Primary colors R 0 G 39 B 118 R 0 G 161 B 222 R 60 G 138 B 46 R 114 G 199 B 231 R 201 G 221 B 3 R 146 G 212 B 0 R 127 G 127 B 127 เอกสารประกอบการบรรยาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Primary colors R 0 G 39 B 118 R 0 G 161 B 222 R 60 G 138 B 46 R 114 G 199 B 231 R 201 G 221 B 3 R 146 G 212 B 0 R 127 G 127 B 127 เอกสารประกอบการบรรยาย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Primary colors R 0 G 39 B 118 R 0 G 161 B 222 R 60 G 138 B 46 R 114 G 199 B 231 R 201 G 221 B 3 R 146 G 212 B 0 R 127 G 127 B 127 เอกสารประกอบการบรรยาย กองทัพบก 17 มี.ค. 57 โดย สำนักงาน ก.พ.ร. การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Management : BCM) การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (Business Continuity Management : BCM)

2 หัวข้อนำเสนอ  ความสำคัญของการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต  ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตของ องค์กรภาครัฐ  มาตรฐานการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ  แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตตามมติครม.  แนวทางในการวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) 1

3 2 ความสำคัญในการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต

4 3 โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต สถานการณ์ภัยคุกคาม (Risk Assessment) องค์กร / หน่วยงาน ภัยแล้ง แผ่นดินไหว สึนามิ พายุใต้ฝุ่น น้ำท่วม ดินถล่ม ไฟป่า โรคระบาด Cyber Attack ไฟไหม้ ระเบิด ไฟฟ้าดับในวงกว้าง ก่อการร้าย ชุมนุมประท้วง / จลาจล

5 4 โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ความสำคัญในการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต แนวทาง อพยพคนไปยังที่ปลอดภัย หรือรับการปฐมพยาบาล จัดหาที่พักพิงชั่วคราว แนวทาง ย้ายไปที่ปฏิบัติงานสำรอง จัดหาทรัพยากรเพื่อการ ปฏิบัติงาน/ให้บริการ แนวทาง ซ่อมแซมปรับปรุง/สรรหา สถานที่ปฏิบัติงาน จัดหาอุปกรณ์ใหม่

6 แนวทางการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 5 การตอบสนองต่อสภาวะวิกฤต  ระยะแรก เป็นช่วงการตอบสนองต่ออุบัติการณ์ (Incident/ Emergency Management)  ระยะวิกฤต เป็นกรณีที่เหตุการณ์และความเสียหาย ขยายตัวไปในวงกว้าง การตอบสนองจำเป็น ต้องยกระดับเป็นการบริหารจัดการวิกฤต (Crisis Management)  ระยะของการบริหารความต่อเนื่อง (Continuity Management) เป็นการทำให้เกิดความ ต่อเนื่องของกระบวนการที่สำคัญ เพื่อให้หน่วยงาน สามารถกลับมาดำเนินงานหรือให้บริการได้ในระดับที่เหมาะสมที่ยอมรับได้ ภายใน ระยะเวลาอันสั้น กลับมาให้บริการได้ในระดับปกติตามระยะเวลาที่กำหนด ในช่วงการดำเนินการกอบกู้ กระบวนการทางธุรกิจ (Recovery)

7 6 โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต วัตถุประสงค์ของการบริหารความต่อเนื่อง  A - ลดผลกระทบจากเหตุการณ์ ให้สามารถดำเนินการและส่งมอบผลิตภัณฑ์ในระดับที่ยอมรับได้  B – ลดระยะเวลาของการหยุดชะงัก โดยให้สามารถกอบกู้โดยเร็ว  สามารรับมือกับผลกระทบและภัยคุกคามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสำคัญในการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต Minutes Hours Weeks

8 ผลการสำรวจ องค์กรประสบสภาวะวิกฤต  ร้อยละ 25 - ไม่สามารถเปิดดำเนินงานได้ ภายหลังเกิดสภาวะวิกฤต  ร้อยละ 80 - ปิดกิจการ หากไม่สามารถเปิดดำเนินงานได้ภายใน 1 เดือน ภายหลังเกิดสภาวะวิกฤต  ร้อยละ 75 - อาจปิดกิจการภายใน 3 ปี หากไม่มีแผนบริหารความ ต่อเนื่อง องค์กรมีการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ  ร้อยละ 80 - การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจช่วยในการบริหารความ เสี่ยงหรือภัยคุกคามได้  ร้อยละ 74 – สามารถดำเนินงานและส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักได้ เมื่อเกิด สภาวะวิกฤต 7

9 8 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ ของการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตขององค์กรภาครัฐ

10 9 1. สร้างความรู้-เข้าใจ ให้ส่วนราชการ 2. การเตรียมความพร้อม ให้ส่วนราชการ 3. ซักซ้อมแผนและนำไป ปฏิบัติจริง 4. ส่งเสริมให้มีการบริหาร จัดการอย่างยั่งยืน 4 ขั้นตอน มติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 เห็นชอบกรอบแนวทางการดำเนินการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ส่วนราชการ จังหวัด สถาบันอุดมศึกษา อปท. -จัดประชุมให้ความรู้เรื่อง “การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต” แก่ ส่วนราชการ -สกพร. ศึกษาหน่วยงานนำร่องที่มีงานบริการที่สำคัญต่อประชาชน เพื่อ จัดทำคู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต -สกพร.จัดประชุมชี้แจงแนวทางการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิฤต -หน่วยงานดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ติดตาม ประเมินผล ทบทวน ปรับปรุง สื่อสารสร้างความเข้าใจ และซักซ้อมแผนฯ ให้ครอบคลุมทั้งกระบวนการตามพันธกิจ และผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่าง ต่อเนื่อง - พัฒนาหลักสูตร “การบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต” การเรียนรู้ ด้วยตนเอง และพัฒนาช่องทางการเรียนรู้ผ่าน e-learning - หน่วยงานปรับปรุงแผนบริหารความต่อเนืองให้เหมาะสมและสอดคล้อง กับสถานการณ์ หน่วงานที่ต้องดำเนินการ องค์การมหาชนรัฐวิสาหกิจ

11 10 มาตรฐานการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM)

12 องค์ประกอบของมาตรฐานการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ 11 BS 25999: Business Continuity Management 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 Assigning Responsibil ities Implemen ting BCM Ongoing Managem ent Business Impact Analysis Risk Assessm ent Determin e Choices Determine BCM Strategies Strategy Options Respons e Structure Incident Manageme nt Plan Business Continuity Plan Exercise Program Maintain & Review BCM Audit & Self Assessm ent Build BCM Culture Awarene ss Skill Training BCM program management Understanding the organization Determining BC strategy Developing BCM response BCM exercise and maintaining Embedding BCM culture

13 ความหมายของการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ 12 โครงการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต BCM คือ องค์รวมของกระบวนการบริหารซึ่งชี้บ่งภัย คุกคามต่อองค์กร และผลกระทบของภัยคุกคามนั้นต่อการ ดำเนินธุรกิจ และให้แนวทางในการสร้างขีดความสามารถให้ องค์กรมีความยืดหยุ่น เพื่อการตอบสนองและปกป้อง ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และ กิจกรรมที่สร้างมูลค่าที่มีประสิทธิผล มอก. 22301 - 2553

14 13 แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตตามมติ ครม. (Business Continuity Plan: BCP)

15 แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน 14 1.การบริหารโครงการจัดการความต่อเนื่อง (BCM Programme Management)  กำหนดกรอบนโยบายการบริหารความต่อเนื่อง  กำหนดโครงสร้างกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงถึงเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ  จัดตั้งคณะทำงานด้านบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต เพื่อทำหน้าที่ ดังนี้ - ผลักดันให้การสนับสนุนให้แต่ละหน่วยงานมีการจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่องและนำเสนอกรอบการดำเนินการ (ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือกัน) - จัดตั้งทีมบริหารความต่อเนื่อง - กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ ขั้นตอนการปรับระดับของเหตุการณ์ (Incident Escalation Process) วิธีการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต - ติดตามพร้อมทั้งรายงานความคืบหน้า ทั้งนี้ คณะกรรมการควรประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูง หรืออาจจะมอบหมายผู้บริหารลำดับรองลงมาอยู่ในคณะกรรมการเป็น ประธาน เพื่อให้มีการสนับสนุนการดำเนินการได้ โครงสร้างการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต คณะกรรมการ BCM ผู้ประสานงาน หัวหน้าทีมบริหาร ความต่อเนื่อง (กระบวนการสำคัญ)

16 15 2. ทำความเข้าใจองค์กร (Understanding the Organization แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน เครื่องมือที่ช่วยในการทำความเข้าใจองค์กร คือ  การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA) - เพื่อให้ทราบว่ากระบวนการให้บริการ/ภารกิจหลักขององค์กร/กิจกรรมที่สำคัญ ใดที่ควรเลือกมาจัดทำแผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan) - เพื่อระบุช่วงเวลาการหยุดชะงักที่ยอมารับได้สูงสุด และระยะเวลาเป้าหมาย ในการฟื้นคืนสภาพ เพื่อจัดระดับความสำคัญของกระบวนการต่างๆ  การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment - RA) - เพื่อให้ทราบถึงภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลต่อการดำเนินงานในด้านต่างๆ - เพื่อจัดลำดับความสำคัญของกระบวนการบริการ/ภารกิจหลัก ตลอดจนกิจกรรมที่มี ความสำคัญเร่งด่วนในการฟื้นฟูการให้บริการ

17 16 3. การกำหนดแนวทาง/กลยุทธ์ในการสร้างความต่อเนื่องของการดำเนินงาน (Determining BCM Strategy) - เพื่อลดความเสี่ยงในการหยุดชะงักของการดำเนินงานและลดระยะเวลาในการเตรียมการ ของทรัพยากรในด้านต่างๆ แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน วิธีการ - กำหนดแนวทางในการตอบสนองต่อการหยุดชะงักของการดำเนินงาน ได้แก่ กลยุทธ์ กอบกู้กระบวนการ/การบริการที่สำคัญขององค์กร และกลยุทธ์ด้านทรัพยากร (ได้ จากการทำ BIA) ซึ่งต้องครอบคลุมความต้องการ 5 ด้าน ได้แก่ 1. บุคลากร (People) 2. สถานที่ปฏิบัติงาน (Premise) 3. เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ (Technology & Information) 4. วัสดุอุปกรณ์/สิ่งอำนวยความสะดวก (Suppliers) 5. คู่ค้า/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้ให้บริการ (Stakeholders)

18 17 แนวทาง/กลยุทธ์ในการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ด้านอาคาร/สถานที่ ปฏิบัติงานหลัก ด้านวัสดุอุปกรณ์ ที่สำคัญ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและข้อมูล ที่สำคัญ ด้านบุคลากรหลัก ด้านคู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ สำคัญ  สรรหาและเตรียมการ อาคาร/สถานที่ ปฏิบัติงานสำรอง  สรรหาและเตรียมการ อาคาร/ สถานที่ ปฏิบัติงานสำรอง กับ ภาคเอกชน อาทิ โรงแรม มูลนิธิ  กำหนดแนวทางให้ เจ้าหน้าที่สามารถ ปฏิบัติงานที่บ้านได้  จัดเตรียมเครื่องมือและ อุปกรณ์สำรอง  ทำข้อตกลงกับ หน่วยงานราชการหรือ ภาคเอกชน เพื่อขอยืม เครื่องมือและอุปกรณ์  ดำเนินจัดซื้อเครื่องมือ และอุปกรณ์ ผ่าน กระบวนการจัดซื้อจัด จ้างพิเศษ  ประสานงานกับ หน่วยงานเทคโนโลยี เพื่อจัดเตรียมและให้มี ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ สำรอง  ปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ ระบบงานเทคโนโลยี (Manual) ไปก่อน แล้ว จึงป้อนข้อมูลเข้าใน ระบบ เมื่อกลับคืนสู่ สภาวะปกติ  กำหนดให้มีบุคลากร หลักและบุคลากร สำรอง ทำงานทดแทน กันได้ ในสภาวะวิกฤต  กำหนดแนวทางและ กลุ่มบุคลากรที่สามารถ ขอให้ช่วยปฏิบัติงาน ชั่วคราว จากหน่วยงาน ราชการอื่น ๆ ในสังกัด หรือส่วนกลาง  กำหนดให้มีคู่ค้า/ผู้ ให้บริการสำรอง/ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อ เรียกใช้บริการได้ใน สภาวะวิกฤต  พิจารณากระจายความ เสี่ยง โดยมีคู่ค้า/ ผู้ ให้บริการ มากกว่า 1 ราย สำหรับให้บริการ แก่หน่วยงาน ตัวอย่างแนวทาง/กลยุทธ์ในการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน

19 18 4. การพัฒนาและเตรียมการตอบสนองต่ออุบัติการณ์ (Developing and Implementing BCM Repose) เพื่อให้มั่นใจว่าหากเกิดสถานการณ์วิกฤตขึ้น องค์กรได้มีการเตรียมความในการจัดการ กับอุบัติการณ์อย่างเหมาะสม และยังคงสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องตามระดับ ความสามารถของการให้บริการที่กำหนดตามเป้าหมาย แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน เป็นขั้นตอนของการจัดทำ แผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan: BCP)  BCP เป็นแผนที่กำหนดรายละเอียด วิธีการ และขั้นตอนที่จะใช้ในการจัดการกับภัย คุกคามเพื่อให้กิจกรรมต่างๆ /บริการที่สำคัญสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีเหตุให้ต้องหยุดชะงัก ซึ่งควรประกอบด้วย - โครงสร้างการตอบสนองต่อภาวะวิกฤต - หน้าที่ความรับผิดชอบของทีมบริหารความต่อเนื่อง - แนวทางการประเมินความเสียหาย - เกณฑ์ในการตัดสินใจประกาศใช้แผน - แนวทางการสื่อสารกับคู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

20 19 แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน แผนบริหารความต่อเนื่อง (BCP) ประกอบด้วย 5 ระยะ 1. การตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน (Emergency Response) ที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน เช่น แผนการอพยพ แผนในการดับเพลิง เป็นต้น 2. การบริหารจัดการภาวะฉุกเฉิน (Incident Management) เพื่อจัดการกับวิกฤตฉุกเฉิน เช่น แผนในการสื่อสารเมื่อเกิดภาวะวิกฤต เป็นต้น 3. การกอบกู้กระบวนการทางธุรกิจ (Business Recovery) เพื่อให้กระบวนการที่ สำคัญยังสามารถดำเนินงานต่อไปได้ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ในช่วงเวลาหนึ่ง 4. การฟื้นฟูกระบวนการทางธุรกิจให้กลับมาอยู่ในระดับปกติ (Business Resumption) เป็นแผนกู้คืนการดำเนินงานภายหลังภัยพิบัติผ่านพ้นไป 5. การกลับสู่ภาวะปกติ (Return To Normal) เช่น แนวทางในการย้ายกลับสถานที่ ปฏิบัติงานหลัก เป็นต้น

21 20 5. การทดสอบ ปรับปรุง และทบทวนแผน (Exercising Maintaining and Reviewing) เพื่อให้แน่ใจได้ว่าการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCM) ที่ได้จัดทำขึ้นสามารถใช้ได้ จริง และเป็นปัจจุบัน รวมทั้งเพื่อเตรียมความพร้อม ตลอดจนตรวจสอบความสามารถของบุคลากร และ ประสิทธิภาพของแผนในการตอบสนองต่อภาวะวิกฤต โดยประกอบด้วย - แนวทางการฝึกซ้อม BCP - แผนและขอบเขตการฝึกซ้อม BCP - แนวทางการติดตามและทบทวนระบบ BCM - แผนการติดตามและทบทวนระบบ BCM แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน

22 21 5. การทดสอบ ปรับปรุง และทบทวนแผน (Exercising Maintaining and Reviewing) รูปแบบการทดสอบ/การซ้อม อาจมีตั้งแต่ระดับง่ายไปหายาก ดังนี้  Call Tree คือ การซ้อมการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกทีมงานที่เกี่ยวข้องตามผังรายชื่อ ทางโทรศัพท์  Tabletop Testing คือ การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น/ความรู้/ความเข้าใจกับทุกหน่วยที่ เกี่ยวข้อง โดยใช้รูปแบบจำลองโจทย์สถานการณ์ขึ้นมา และทดลองนำแผน BCP มาพิจารณาว่า ใช้ตอบโจทย์แต่ละขั้นตอนได้หรือไม่  Simulation คือ การทดสอบโดยจำลองสถานการณ์เสมือนจริง โดยนำแผน BCP มาประยุกต์ใช้  Full BCP Exercise คือ การทดสอบเต็มรูปแบบที่ใกล้เคียงสถานการณ์จริงมากที่สุด แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน

23 22 6. การปลูกฝัง BCM ให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร (Embedding BCM in the Organization’s Culture) - เป็นขั้นตอนที่สำคัญ - เป็นการทำให้ BCM ผสมกลมกลืนเข้าจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร - เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและจิตวิทยาในการทำให้บุคลากรทุกคนเข้าใจถึงความสำคัญ ของ BCM - เป็นการสร้างความตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ที่ทุกคนพึงมีเพื่อให้การปฏิบัติภารกิจ หรือการให้บริการประชาชนที่สำคัญสามารถดำเนินต่อไปได้ในยามที่เกิดเหตุวิกฤต แนวทางการดำเนินการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 6 ขั้นตอน

24 23 แนวทางในการวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis)

25 24 หลักคิดของการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต 1. ภารกิจใดต้องอยู่ ? 2. ต้องใช้ทรัพยากรอะไร ? 3. เตรียมพร้อมอย่างไร ? 4. มั่นใจได้อย่างไรว่างานสำคัญไม่หยุดชะงัก ? วิเคราะห์ BIA วิเคราะห์ทรัพยากรที่ จำเป็นต้องใช้ BCP ซักซ้อม ทบทวน และปรับปรุง BCP เมื่อเกิดสภาวะวิกฤต

26 25 1. วิเคราะห์งานในภารกิจทั้งหมด โดยพิจารณาจากโครงสร้างองค์กร อำนาจ/หน้าที่ คำบรรยายลักษณะงาน และกระบวนการตามภารกิจหลัก/การให้บริการ การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA) กระบวนการหน่วยงานที่รับผิดชอบ 1กระบวนการ 1หน่วยงาน ก 2กระบวนการ 2หน่วยงาน ข 3

27  ความเสียหายต่อองค์กรเป็นจำนวนเงิน  ขีดความสามารถในการดำเนินงานหรือให้บริการ  สูญเสียชีวิตและ/หรือภัยคุกคามต่อสาธารณชน  ชื่อเสียงและความมั่นใจต่อองค์กร 2. กำหนดเกณฑ์การพิจารณาระดับของผลกระทบ โดยพิจารณาจาก 26 การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA) ระดับความรุนแรงผลกระทบ/ความเสียหายต่อองค์กร ด้านการเงินด้านความสามารถในการ ดำเนินการ/ให้บริการ ชีวิต/ภัยคุกคามต่อ สาธารณชน ชื่อเสียงและความมั่นใจ ต่อองค์กร สูงมาก (5)เกิดความสูญเสีย มากกว่า 100 ล้านบาท หยุด/หรือไม่สามารถ ให้บริการได้ มากกว่าร้อยละ 50 เกิดการสูญเสียชีวิตและภัย คุกคามต่อสาธารณชน ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง และความมั่นใจในองค์กร ระดับนานาชาติ สูง (4)เกิดความสูญเสีย มากกว่า 50-100 ล้านบาท หยุด/หรือไม่สามารถ ให้บริการได้ ร้อยละ 20-50 เกิดการเจ็บป่วยหรือการ บาดเจ็บต่อคนไข้/บุคคล/ กลุ่มคน ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง และความมั่นใจในองค์กร ระดับประเทศ ปานกลาง (3)เกิดความสูญเสีย มากกว่า 5-50 ล้านบาท หยุด/หรือไม่สามารถ ให้บริการได้ ร้อยละ 10-20 มีการรักษาพยาบาลส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง และความมั่นใจในองค์กร ในพื้นที่ ต่ำ (2)เกิดความสูญเสีย มากกว่า 5 ล้านบาท หยุด/หรือไม่สามารถ ให้บริการได้ ต่ำกว่าร้อยละ 5-10 มีการปฐมพยาบาล- ไม่เป็นสาระสำคัญ (1)เกิดความสูญเสีย มากกว่า 500,000 ล้านบาท หยุด/หรือไม่สามารถ ให้บริการได้ ต่ำกว่าร้อยละ 5 --

28 27 3. ประเมินความเสี่ยง/ภัยคุกคาม (Risk Assessment) - วิเคราะห์หาว่าเหตุการณ์หรือสภาวะวิกฤตที่มีโอกาสเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อทรัพยากร ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน 5 ด้าน ได้แก่ บุคลากร สถานที่ปฏิบัติงาน ข้อมูลและสารสนเทศ วัสดุอุปกรณ์ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA) วัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูลและ สารสนเทศ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย

29 28 แนวทางการวิเคราะห์ความเสี่ยงหากมีภัยคุกคาม (Risk Assessment) ให้พิจารณาจากเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรที่ใช้ในการปฏิบัติงานใน 5 ด้าน ดังนี้  ด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก: สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสียหาย และส่งผลให้ บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ ในช่วงระยะแรก หรือระยะกลาง หรือระยะยาว  ด้านวัสดุอุปกรณ์/การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ: ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่ สำคัญ หรือไม่สามารถจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญเพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้  ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ: เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ไม่สามารถใช้ ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ หรือเข้าถึงข้อมูลที่สำคัญในการปฏิบัติงานได้  ด้านบุคลากรหลัก: ทำให้บุคลากรหลักไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้  ด้านคู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ: ทำให้คู่ค้า/ผู้ให้บริการแก่หน่วยงาน/ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียไม่สามารถที่จะให้บริการหรือส่งมอบงาน เพื่อให้หน่วยงานใช้ในการปฏิบัติงานได้ การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA)

30 29 4. คัดเลือกภารกิจหรืองานบริการที่มีความสำคัญ โดยพิจารณาจากระยะเวลาในการหยุดชะงัก และระดับผลกระทบตามหลักเกณฑ์ การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA)

31 30 5. วิเคราะห์แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรทั้ง 5 ด้านที่จำป็นต้องใช้ และนำมาจัดทำรายละเอียด แนวทาง/กลยุทธ์การบริหารจัดการทรัพยากรทั้ง 5 ด้าน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของการปฏิบัติงาน การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA)

32 31 1. การจัดทำกระบวนการ Call Tree คือ กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกในคณะบริหาร ความต่อเนื่องและทีมงานบริหารความต่อเนื่องตามรายชื่อที่ปรากฏในตารางข้อมูลรายชื่อ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถบริหารจัดการในการติดต่อบุคลากรของหน่วยงาน ภายหลังจากมีการประกาศ สภาวะวิกฤต การเตรียมการเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน ตัวอย่างการกำหนดโครงสร้าง Call Tree

33 32 - ช่วงเกิดเหตุในระยะสั้น เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ภายใน 24 ชั่วโมง - การกลับคืนในระยะกลาง เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระยะแรก ภายใน 7 วัน - การบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้กระบวนการ เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์และ กู้คืนกระบวนการปฏิบัติงานในระยะเวลาเกิน 7 วัน 2. การกำหนดแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง การเตรียมการเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน

34 ตัวอย่างการกำหนดแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ภายใน 24 ชั่วโมง  ติดตาม สอบถาม และประเมินเหตุฉุกเฉิน/วิกฤติ กับหน่วยงานที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการตามแผนการ จัดการอุบัติการณ์ (Incident Management Plan) ขององค์กร เพื่อประเมินความจำเป็นในการประกาศใช้แผน บริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน  แจ้งเหตุฉุกเฉิน/วิกฤติ ตามกระบวนการ Call Tree ให้กับบุคลากรหลักและคณะบริหารความต่อเนื่องของ หน่วยงาน เพื่อประชุม รับทราบ และประเมินความเสียหายและผลกระทบต่อการดำเนินงานและการให้บริการ และทรัพยากรสำคัญที่ต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง รวมทั้งการสรุปจำนวนและรายชื่อบุคลากรใน หน่วยงานที่ได้รับบาดเจ็บ/เสียชีวิต  พิจารณากระบวนงาน/งานที่มีความเร่งด่วน และส่งผลกระทบอย่างสูงต่อการดำเนินงานหรือให้บริการของ หน่วยงาน เพื่อให้มีการจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่องและทรัพยากรที่ได้รับความ เสียหายจนไม่สามารถใช้ในการปฏิบัติงานได้  รายงานความเสียหายและความคืบหน้าให้คณะบริหารความต่อเนื่องขององค์กรและส่วนกลางให้ทราบและขอ อนุมัติดำเนินการในขั้นตอนต่อไป  แจ้งเหตุฉุกเฉิน/วิกฤติ ตามกระบวนการ Call Tree ให้กับบุคลากรของหน่วยงาน เพื่อรับทราบขั้นตอนในการ ปฏิบัติต่อไป 33 การเตรียมการเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน

35 34 ตัวอย่างการกำหนดแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง การตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระยะแรก ภายใน 7 วัน  ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบ และประเมินความจำเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน  ติดตามการจัดหาทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบและจำเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่ สถานที่ปฏิบัติงานสำรอง วัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ บุคลากรหลัก และคู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  กำหนดให้ฝ่ายงาน/ส่วนงาน เจ้าของกระบวนการสำคัญที่ได้รับผลกระทบกลับมาดำเนินงานและ ให้บริการ (ชั่วคราว ตามแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง)  รายงานความคืบหน้าให้คณะบริหารจัดการวิกฤตขององค์กรและส่วนกลาง ตามที่ได้กำหนดไว้ การเตรียมการเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน

36 ตัวอย่างการกำหนดแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง การตอบสนองต่อเหตุการณ์และกู้คืนกระบวนการปฏิบัติงานในระยะเวลาเกิน 7 วัน  ติดตามสถานะภาพการกู้คืนมาของทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบ และประเมินระยะเวลาที่ต้องใช้ในการ กลับมาดำเนินงานหรือให้บริการได้ตามปกติ  ทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบและเสียหายจนไม่สามารถนำกลับมาใช้งานได้อีก เป็นหน้าที่ของคณะบริหาร ความต่อเนื่องของหน่วยงานที่ต้องพิจารณาและจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นมาใช้เพื่อดำเนินงานและ ให้บริการได้ตามปกติทั้ง 5 ด้าน ดังนี้ ด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงาน - ซ่อมแซมและ/หรือก่อสร้างอาคารขึ้นใหม่ ด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สำคัญ - ซ่อมแซมหรือจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่ได้รับความเสียหาย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สำคัญ - ประสานงานกับหน่วยงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการกู้คืน ข้อมูลสารสนเทศ ด้านบุคลากรหลัก - สำรวจบุคลากรที่ได้รับผลกระทบและไม่สามารถกลับมาปฏิบัติงาน เพื่อสรรหาบุคลากร ทดแทนชั่วคราว คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สำคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - สรรหาคู่ค้า/ผู้ให้บริการรายใหม่ สำหรับสินค้าและ/หรือบริการ สำคัญที่ได้รับผลกระทบ ทดแทนคู่ค้า/ผู้ให้บริการที่ไม่สามารถกลับมาดำเนินงานได้อีก  รายงานความคืบหน้าให้คณะบริหารจัดการวิกฤตขององค์กรและส่วนกลาง 35 การเตรียมการเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน

37 36 ตัวอย่าง Template การจัดทำแผนการบริหารความต่อเนื่อง

38 แบบฟอร์มการจัดทำแผนการบริหารความต่อเนื่อง Form 1 : ข้อมูลทั่วไป (หน่วยงานที่รับผิดชอบ กระบวนกงาน/งาน สถานที่ ความถี่ และช่วงเวลาการดำเนินงาน) 37 การวิเคราะห์กระบวนการตามภารกิจหลัก/การให้บริการที่สำคัญ

39 38 แบบฟอร์มการจัดทำแผนการบริหารความต่อเนื่อง การวิเคราะห์ผลกระทบของแต่ละกระบวนการ เพื่อคัดเลือกงานบริการหรือภารกิจที่มีความสำคัญ Form 2 : การประเมินผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis : BIA)

40 39 แบบฟอร์มการจัดทำแผนการบริหารความต่อเนื่อง การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำคัญ/จำเป็นต่อการปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อจัดทำแนวทาง การบริหารจัดการความต่อเนื่อง Form 3 : การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สำคัญ

41 40 - ตัวอย่าง - - ตัวอย่าง การประเมินความเสี่ยง และ การคัดเลือกภารกิจหรืองานบริการที่มีความสำคัญ

42 41 ตัวอย่างการวิเคราะห์แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากร

43 Primary colors R 0 G 39 B 118 R 0 G 161 B 222 R 60 G 138 B 46 R 114 G 199 B 231 R 201 G 221 B 3 R 146 G 212 B 0 R 127 G 127 B 127 Q & A www.opdc.go.th 02 356 9999 # 8916, 8985, 8804 02 356 9942 pmqa@opdc.go.th www.opdc.go.th


ดาวน์โหลด ppt Primary colors R 0 G 39 B 118 R 0 G 161 B 222 R 60 G 138 B 46 R 114 G 199 B 231 R 201 G 221 B 3 R 146 G 212 B 0 R 127 G 127 B 127 เอกสารประกอบการบรรยาย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google