งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การนำเสนอรายงาน ด้วยโปรแกรม Power Point ที่มา: Brent, Mitchell. (n.d.). การนำเสนองาน. ค้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555. จาก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การนำเสนอรายงาน ด้วยโปรแกรม Power Point ที่มา: Brent, Mitchell. (n.d.). การนำเสนองาน. ค้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555. จาก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การนำเสนอรายงาน ด้วยโปรแกรม Power Point ที่มา: Brent, Mitchell. (n.d.). การนำเสนองาน. ค้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555. จาก http://blog.eduzones.com/poonpreecha/88320 บุญเลิศ อรุณพิบูลย์. (ม.ป.ป.). เทคนิคการสร้างสื่อและนำเสนอผลงาน ด้วย Microsoft Office PowerPoint 2007. ค้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555. จาก http://hsmi.psu.ac.th/upload/forum/powerpoint2007.pdf

2 คุณเคยกลัวที่จะนำเสนอรายงาน หน้าชั้น...แล้วเป็นแบบนี้หรือไม่?

3 1) สื่อนำเสนอรายงาน  การนำเสนอรายงานด้วยสื่อ มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก  สื่อเปรียบเสมือนสะพานเชื่อม เนื้อหาสาระของรายงานไปยังผู้ฟัง  ช่วยให้การถ่ายทอดเนื้อหาสาระ ทำได้รวดเร็ว  ผู้ฟังสามารถจดจำเนื้อหาสาระ ได้นานและเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น  การนำเสนอรายงานด้วยสื่อ มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก  สื่อเปรียบเสมือนสะพานเชื่อม เนื้อหาสาระของรายงานไปยังผู้ฟัง  ช่วยให้การถ่ายทอดเนื้อหาสาระ ทำได้รวดเร็ว  ผู้ฟังสามารถจดจำเนื้อหาสาระ ได้นานและเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น  ปัจจุบันสื่อนำเสนอต่างๆ มักจะอยู่ในรูปของสื่อดิจิทัล  ที่สร้างด้วยโปรแกรมในกลุ่ม Presentation เช่น Microsoft Powerpoint  ปัจจุบันสื่อนำเสนอต่างๆ มักจะอยู่ในรูปของสื่อดิจิทัล  ที่สร้างด้วยโปรแกรมในกลุ่ม Presentation เช่น Microsoft Powerpoint

4 2) คุณค่าของสื่อนำเสนอ  คำโบราณที่ว่า “สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น...” และ “ภาพ 1 ภาพมีค่ามากกว่าคำพูดพันคำ” นับเป็นสิ่งยืนยันได้ว่า “สื่อนำเสนอ” เป็น เครื่องมือช่วยให้การนำเสนอรายงาน เกิดผลสัมฤทธิ์ได้ดีอย่างแน่นอน  เพราะสื่อนำเสนอที่พัฒนาขึ้นด้วยโปรแกรม Presentation สามารถนำเสนอได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ไดอะแกรม เสียง และ วีดิทัศน์ ช่วยให้การถ่ายทอดข้อความและเนื้อหา เป็นไปอย่างแจ่มแจ้งและรวดเร็ว อีกทั้งมีความ น่าสนใจด้วยเทคนิคการนำเสนอหลากหลาย รูปแบบ เช่น Slide Transition, Animation  คำโบราณที่ว่า “สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น...” และ “ภาพ 1 ภาพมีค่ามากกว่าคำพูดพันคำ” นับเป็นสิ่งยืนยันได้ว่า “สื่อนำเสนอ” เป็น เครื่องมือช่วยให้การนำเสนอรายงาน เกิดผลสัมฤทธิ์ได้ดีอย่างแน่นอน  เพราะสื่อนำเสนอที่พัฒนาขึ้นด้วยโปรแกรม Presentation สามารถนำเสนอได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ไดอะแกรม เสียง และ วีดิทัศน์ ช่วยให้การถ่ายทอดข้อความและเนื้อหา เป็นไปอย่างแจ่มแจ้งและรวดเร็ว อีกทั้งมีความ น่าสนใจด้วยเทคนิคการนำเสนอหลากหลาย รูปแบบ เช่น Slide Transition, Animation

5 2) คุณค่าของสื่อนำเสนอ (ต่อ)  สรุปได้ว่า “สื่อนำเสนอ” มีคุณค่าดังนี้ 1.ช่วยในการถ่ายทอดของผู้นำเสนอ 2.ช่วยในการเรียนรู้ 3.ช่วยให้สามารถจดจำเนื้อหาได้เร็ว และนาน 4.สามารถสรุปประเด็นสำคัญ และนำเสนอด้วย สื่อที่ตรงกับกลุ่มผู้ฟังได้มากที่สุด 5.สามารถเตรียมได้ก่อนล่วงหน้า 6.มีมาตรฐานเดียวกันไม่ว่าใครจะนำไปใช้ก็จะให้ ความรู้เหมือนกัน 7.ใช้ระยะเวลาน้อยในการถ่ายทอด 8.ผู้นำเสนอมีความมั่นใจในการถ่ายทอดเนื้อหา สาระนั้น 9.สามารถใช้กี่ครั้งกี่หนก็ได้ 10. ช่วยให้มีความเพลิดเพลิน มีชีวิตชีวา  สรุปได้ว่า “สื่อนำเสนอ” มีคุณค่าดังนี้ 1.ช่วยในการถ่ายทอดของผู้นำเสนอ 2.ช่วยในการเรียนรู้ 3.ช่วยให้สามารถจดจำเนื้อหาได้เร็ว และนาน 4.สามารถสรุปประเด็นสำคัญ และนำเสนอด้วย สื่อที่ตรงกับกลุ่มผู้ฟังได้มากที่สุด 5.สามารถเตรียมได้ก่อนล่วงหน้า 6.มีมาตรฐานเดียวกันไม่ว่าใครจะนำไปใช้ก็จะให้ ความรู้เหมือนกัน 7.ใช้ระยะเวลาน้อยในการถ่ายทอด 8.ผู้นำเสนอมีความมั่นใจในการถ่ายทอดเนื้อหา สาระนั้น 9.สามารถใช้กี่ครั้งกี่หนก็ได้ 10. ช่วยให้มีความเพลิดเพลิน มีชีวิตชีวา

6 3) เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ  การออกแบบ “สื่อนำเสนอ” จะต้องเน้นแนวคิด “หนึ่งสไลด์ ต่อ หนึ่งความคิด” มีการสรุปประเด็นหรือสาระสำคัญ โดยอยู่ภายใต้เกณฑ์ควบคุม 3 ประการ คือ 1.Works สื่อนำเสนอต้องสามารถสื่อความหมายได้ อย่างรวดเร็ว 2.Organizes มีการจัดลำดับเนื้อหา เป็นระเบียบดูง่าย ไม่สับสน 3. Attracts ต้องสะดุดตา น่าสนใจ  การออกแบบ “สื่อนำเสนอ” จะต้องเน้นแนวคิด “หนึ่งสไลด์ ต่อ หนึ่งความคิด” มีการสรุปประเด็นหรือสาระสำคัญ โดยอยู่ภายใต้เกณฑ์ควบคุม 3 ประการ คือ 1.Works สื่อนำเสนอต้องสามารถสื่อความหมายได้ อย่างรวดเร็ว 2.Organizes มีการจัดลำดับเนื้อหา เป็นระเบียบดูง่าย ไม่สับสน 3. Attracts ต้องสะดุดตา น่าสนใจ

7 ภาพแสดงเนื้อหาต้นฉบับ เนื้อหาที่นำเสนอในลักษณะสื่อนำเสนอ 3) เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ (ต่อ)

8 1.Works “สื่อนำเสนอต้องสามารถสื่อความหมาย ได้อย่างรวดเร็ว”โดยประเด็นสำคัญก็คือ จะต้องทราบกลุ่มเป้าหมาย (Audience) เนื้อหาสาระที่ต้องการนำเสนอและสถานที่/ เวลาที่ต้องการนำเสนอ กลุ่มขนาดเล็กสื่อนำเสนอควรมีลักษณะที่ให้ความสำคัญกับผู้ฟังมากกว่าเนื้อหา สามารถนำเทคนิค หรือ Effect ต่างๆ ของโปรแกรมสร้างสื่อมาใช้ได้ อย่างเต็มที่ กลุ่มที่มีลักษณะการโต้ตอบเช่น การนำเสนอทางวิชาการ, การบรรยาย หรือฝึกอบรม สื่อนำเสนอควรให้ความสำคัญกับเนื้อหาและยังสามารถนำเทคนิค หรือ Effect ต่างๆ ของโปรแกรมสร้างสื่อมาใช้ได้อย่างเต็มที่เช่นกัน กลุ่มเฉพาะกิจเช่น ผู้บริหาร, นักวิชาการ ให้ความสำคัญกับเนื้อหา และตัวผู้นำเสนอ เป็นสำคัญ เนื้อหาควรมุ่งเฉพาะเป้าหมายของการนำเสนอ ไม่เน้น Effect มากนัก กลุ่มใหญ่ให้ความสำคัญกับผู้บรรยายมากกว่าเนื้อหาที่นำเสนอ ไม่ควรเน้นที่ Effect แต่ควรให้ความสำคัญกับขนาดตัวอักษร สีตัวอักษร และ Background Color 1.Works “สื่อนำเสนอต้องสามารถสื่อความหมาย ได้อย่างรวดเร็ว”โดยประเด็นสำคัญก็คือ จะต้องทราบกลุ่มเป้าหมาย (Audience) เนื้อหาสาระที่ต้องการนำเสนอและสถานที่/ เวลาที่ต้องการนำเสนอ กลุ่มขนาดเล็กสื่อนำเสนอควรมีลักษณะที่ให้ความสำคัญกับผู้ฟังมากกว่าเนื้อหา สามารถนำเทคนิค หรือ Effect ต่างๆ ของโปรแกรมสร้างสื่อมาใช้ได้ อย่างเต็มที่ กลุ่มที่มีลักษณะการโต้ตอบเช่น การนำเสนอทางวิชาการ, การบรรยาย หรือฝึกอบรม สื่อนำเสนอควรให้ความสำคัญกับเนื้อหาและยังสามารถนำเทคนิค หรือ Effect ต่างๆ ของโปรแกรมสร้างสื่อมาใช้ได้อย่างเต็มที่เช่นกัน กลุ่มเฉพาะกิจเช่น ผู้บริหาร, นักวิชาการ ให้ความสำคัญกับเนื้อหา และตัวผู้นำเสนอ เป็นสำคัญ เนื้อหาควรมุ่งเฉพาะเป้าหมายของการนำเสนอ ไม่เน้น Effect มากนัก กลุ่มใหญ่ให้ความสำคัญกับผู้บรรยายมากกว่าเนื้อหาที่นำเสนอ ไม่ควรเน้นที่ Effect แต่ควรให้ความสำคัญกับขนาดตัวอักษร สีตัวอักษร และ Background Color 3) เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ (ต่อ)

9 2. Organizes  สื่อนำเสนอมีการจัดลำดับเนื้อหาเป็นระเบียบดูง่าย ไม่สับสน  สื่อนำเสนอต้องทำให้ผู้อ่าน ผู้ฟังทราบว่าข่าวสารข้อมูลใดที่ต้อง อ่านก่อน และอันดับต่อไปต้องอ่านข้อความใดตามลำดับ  โดยปกติคนไทยมักจะอ่านจากข้างบนซ้ายก่อน  ควรมีช่องว่างระหว่างอักขระ หรือระหว่างภาพที่เหมาะสม 2. Organizes  สื่อนำเสนอมีการจัดลำดับเนื้อหาเป็นระเบียบดูง่าย ไม่สับสน  สื่อนำเสนอต้องทำให้ผู้อ่าน ผู้ฟังทราบว่าข่าวสารข้อมูลใดที่ต้อง อ่านก่อน และอันดับต่อไปต้องอ่านข้อความใดตามลำดับ  โดยปกติคนไทยมักจะอ่านจากข้างบนซ้ายก่อน  ควรมีช่องว่างระหว่างอักขระ หรือระหว่างภาพที่เหมาะสม

10 3) เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ (ต่อ) 2. Organizes (ต่อ)  สิ่งที่จะช่วยให้การออกแบบมีการจัดลำดับเนื้อหาเป็นระเบียบและดูง่าย คือ 1.ควรหลีกเลี่ยงการนำเสนอแบบพารากราฟ 2.แต่ละรายการ ควรนำเสนอเฉพาะ Topic หรือ Main Idea 3.หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ให้ใช้เทคนิคการเน้น Main idea ของแต่ละ รายการ หรือในพารากราฟด้วยสีที่โด่นเด่น 4.ใช้ขนาดตัวอักษรที่แตกต่างกัน เช่น หัวข้อใหญ่ ใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ กว่าหัวข้อย่อย 5.ใช้สีเน้นในส่วนที่สำคัญ 6.ใช้ช่องว่างในการจัดกลุ่มของเนื้อหา 7.เปลี่ยนลักษณะของตัวอักษรนั้น ใช้ตัวหนาในข้อความที่ต้องการเน้น 8.ใช้ช่องว่างเพื่อแบ่งกลุ่มเนื้อหาแต่ละกลุ่มออกจากกัน 9. ข้อความที่ต้องการให้อ่านก่อนควรจัดไว้ที่ตำแหน่งมุมซ้ายบนของ หน้ากระดาษ 10. พิมพ์ตัวอักษรลงกรอบที่วางแบบไว้แล้ว 11. ขึ้นหัวข้อก่อนแล้วจึงอธิบายอย่างละเอียด 12. เปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรให้เหมาะสม 13. ใช้สีที่แตกต่างกัน หรือตัวอักษรสีกลับกัน (จากตัวดำบนพื้นขาวเป็นตัว ขาวบนพื้นดำ) 2. Organizes (ต่อ)  สิ่งที่จะช่วยให้การออกแบบมีการจัดลำดับเนื้อหาเป็นระเบียบและดูง่าย คือ 1.ควรหลีกเลี่ยงการนำเสนอแบบพารากราฟ 2.แต่ละรายการ ควรนำเสนอเฉพาะ Topic หรือ Main Idea 3.หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ให้ใช้เทคนิคการเน้น Main idea ของแต่ละ รายการ หรือในพารากราฟด้วยสีที่โด่นเด่น 4.ใช้ขนาดตัวอักษรที่แตกต่างกัน เช่น หัวข้อใหญ่ ใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ กว่าหัวข้อย่อย 5.ใช้สีเน้นในส่วนที่สำคัญ 6.ใช้ช่องว่างในการจัดกลุ่มของเนื้อหา 7.เปลี่ยนลักษณะของตัวอักษรนั้น ใช้ตัวหนาในข้อความที่ต้องการเน้น 8.ใช้ช่องว่างเพื่อแบ่งกลุ่มเนื้อหาแต่ละกลุ่มออกจากกัน 9. ข้อความที่ต้องการให้อ่านก่อนควรจัดไว้ที่ตำแหน่งมุมซ้ายบนของ หน้ากระดาษ 10. พิมพ์ตัวอักษรลงกรอบที่วางแบบไว้แล้ว 11. ขึ้นหัวข้อก่อนแล้วจึงอธิบายอย่างละเอียด 12. เปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรให้เหมาะสม 13. ใช้สีที่แตกต่างกัน หรือตัวอักษรสีกลับกัน (จากตัวดำบนพื้นขาวเป็นตัว ขาวบนพื้นดำ)

11 3) เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ (ต่อ) 2. Organizes (ต่อ)  x

12 3) เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ (ต่อ) 3. Attracts  สื่อนำเสนอที่ดีนั้นจะต้องมีจุดเด่นที่น่าสนใจ สามารถดึงดูด สายตาผู้ดูได้ จุดเด่นนี้ได้จาก... 1.การใช้ขนาดของอักษรที่ใหญ่ให้เด่นจากข้อความอื่นๆ หรือใช้สีที่ แตกต่างออกไป 2.การเลือกใช้ Effect ที่เหมาะสมประกอบการนำเสนอ 3.เลือกใช้ภาพที่เหมาะสม 4.ใช้เทคนิคการออกแบบภาพที่เหมาะสม 5.เอียงภาพหรือข้อความแล้วไปวางที่มุมใด มุมหนึ่ง 3.เว้นช่องว่างรอบภาพให้มากๆ 4.เลือกสีที่สดใส 5.ใช้ขนาดและรูปร่างที่แตกต่างจากธรรมดา 6.เลือกลักษณะ Background ให้ดูน่าสนใจ 7.กำหนดความสำคัญโดยเปลี่ยนลักษณะของตัวอักษร เช่น เปลี่ยนเป็น ตัวโค้ง หรือเปลี่ยนรูปแบบของอักษรชนิดต่าง ๆ 3. Attracts  สื่อนำเสนอที่ดีนั้นจะต้องมีจุดเด่นที่น่าสนใจ สามารถดึงดูด สายตาผู้ดูได้ จุดเด่นนี้ได้จาก... 1.การใช้ขนาดของอักษรที่ใหญ่ให้เด่นจากข้อความอื่นๆ หรือใช้สีที่ แตกต่างออกไป 2.การเลือกใช้ Effect ที่เหมาะสมประกอบการนำเสนอ 3.เลือกใช้ภาพที่เหมาะสม 4.ใช้เทคนิคการออกแบบภาพที่เหมาะสม 5.เอียงภาพหรือข้อความแล้วไปวางที่มุมใด มุมหนึ่ง 3.เว้นช่องว่างรอบภาพให้มากๆ 4.เลือกสีที่สดใส 5.ใช้ขนาดและรูปร่างที่แตกต่างจากธรรมดา 6.เลือกลักษณะ Background ให้ดูน่าสนใจ 7.กำหนดความสำคัญโดยเปลี่ยนลักษณะของตัวอักษร เช่น เปลี่ยนเป็น ตัวโค้ง หรือเปลี่ยนรูปแบบของอักษรชนิดต่าง ๆ

13 3) เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ (ต่อ)  สรุปแนวคิดการออกแบบสื่อนำเสนอ 1.หนึ่งความคิด ต่อหนึ่งสไลด์ (ไม่นำแนวคิดหลายแนว มาใส่ในสไลด์เดียว) 2.ในแต่ละสไลด์ ควรมีหัวเรื่องประกอบ 3.เนื้อหาในแต่ละสไลด์ ไม่ควรเกิน 7 บรรทัด 4.เลือกใช้สีตัวอักษร สีภาพ และสีพื้นสไลด์ที่เหมาะสม 5.ข้อความภาษาอังกฤษ ควรใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ ผสม ตัวพิมพ์เล็ก หลีกเลี่ยงการใช้ Capital Letter 6.จัดลำดับเนื้อหาให้เหมาะสม 7.ตรวจสอบเนื้อหามีความถูกต้อง 8.เลือกใช้ Effect ที่เหมาะสมกับผู้ฟัง 9. หลีกเลี่ยงการใช้สีแดง เขียว หรือเทา 10. ไม่ควรเลือก Effect มากกว่า 3 ลักษณะในแต่ละ สไลด์ 12. ภาพที่นำมาใช้ประกอบ ควรเป็นแนวนอนจะเหมาะสม กว่าแนวตั้ง 13. เตรียมสื่อไว้หลากหลายรูปแบบ 14. ควรระบุที่มาของเอกสารอ้างอิงให้ชัดเจน  สรุปแนวคิดการออกแบบสื่อนำเสนอ 1.หนึ่งความคิด ต่อหนึ่งสไลด์ (ไม่นำแนวคิดหลายแนว มาใส่ในสไลด์เดียว) 2.ในแต่ละสไลด์ ควรมีหัวเรื่องประกอบ 3.เนื้อหาในแต่ละสไลด์ ไม่ควรเกิน 7 บรรทัด 4.เลือกใช้สีตัวอักษร สีภาพ และสีพื้นสไลด์ที่เหมาะสม 5.ข้อความภาษาอังกฤษ ควรใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ ผสม ตัวพิมพ์เล็ก หลีกเลี่ยงการใช้ Capital Letter 6.จัดลำดับเนื้อหาให้เหมาะสม 7.ตรวจสอบเนื้อหามีความถูกต้อง 8.เลือกใช้ Effect ที่เหมาะสมกับผู้ฟัง 9. หลีกเลี่ยงการใช้สีแดง เขียว หรือเทา 10. ไม่ควรเลือก Effect มากกว่า 3 ลักษณะในแต่ละ สไลด์ 12. ภาพที่นำมาใช้ประกอบ ควรเป็นแนวนอนจะเหมาะสม กว่าแนวตั้ง 13. เตรียมสื่อไว้หลากหลายรูปแบบ 14. ควรระบุที่มาของเอกสารอ้างอิงให้ชัดเจน

14 การเตรียมตัวก่อนขึ้นเวที  การนำเสนอผลงานต่างๆ ในที่สาธารณะ หรือต่อผู้ฟัง จำนวนมาก มีข้อควรคำนึง ดังนี้ 1.ไม่แสดงภาพใดๆ จนกว่าคุณพร้อมที่จะพูดประโยคแรก ทั้งก่อนและขณะนำเสนอ 2.ไม่ควรเปิดๆ ปิดไฟภายในห้องขณะนำเสนอ ควรทดสอบ สถานที่ก่อนนำเสนอทุกครั้ง 3.ควรไปถึงสถานที่บรรยายก่อนเวลาอันควร 4.ศึกษาสภาพของห้องบรรยาย 5.ควรให้ความสำคัญกับผู้ฟังมากกว่าภาพ 6.ให้ความสำคัญกับเนื้อหาที่นำเสนอทีละจุด 7.เมื่อนำเสนอเสร็จ แล้วปิดสื่อนำเสนอก่อน แล้วจึงเข้าสู่ส่วน ซักถามข้อสงสัย 8.ขณะนำเสนอถ้ามีการใช้แสงนำทาง หรือแสงเลเซอร์ ระวัง อาการสั่นของมือ หากไม่สามารถควบคุมอาการสั่นได้ ให้ ใช้เมาส์ หรือใช้ประโยคแทน เช่น “คุณจะเห็น…ชัดเจนที่ มุมขวาบนของสไลด์รูปนี้” เป็นต้น 9.ห้ามแกว่งด้ามชี้แสงเลเซอร์ 10.ห้ามหมุนแสงเลเซอร์รอบคำ ให้ใช้วิธีการชี้ค้างไว้ 11.ห้ามลากแสงเลเซอร์จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง  การนำเสนอผลงานต่างๆ ในที่สาธารณะ หรือต่อผู้ฟัง จำนวนมาก มีข้อควรคำนึง ดังนี้ 1.ไม่แสดงภาพใดๆ จนกว่าคุณพร้อมที่จะพูดประโยคแรก ทั้งก่อนและขณะนำเสนอ 2.ไม่ควรเปิดๆ ปิดไฟภายในห้องขณะนำเสนอ ควรทดสอบ สถานที่ก่อนนำเสนอทุกครั้ง 3.ควรไปถึงสถานที่บรรยายก่อนเวลาอันควร 4.ศึกษาสภาพของห้องบรรยาย 5.ควรให้ความสำคัญกับผู้ฟังมากกว่าภาพ 6.ให้ความสำคัญกับเนื้อหาที่นำเสนอทีละจุด 7.เมื่อนำเสนอเสร็จ แล้วปิดสื่อนำเสนอก่อน แล้วจึงเข้าสู่ส่วน ซักถามข้อสงสัย 8.ขณะนำเสนอถ้ามีการใช้แสงนำทาง หรือแสงเลเซอร์ ระวัง อาการสั่นของมือ หากไม่สามารถควบคุมอาการสั่นได้ ให้ ใช้เมาส์ หรือใช้ประโยคแทน เช่น “คุณจะเห็น…ชัดเจนที่ มุมขวาบนของสไลด์รูปนี้” เป็นต้น 9.ห้ามแกว่งด้ามชี้แสงเลเซอร์ 10.ห้ามหมุนแสงเลเซอร์รอบคำ ให้ใช้วิธีการชี้ค้างไว้ 11.ห้ามลากแสงเลเซอร์จากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง


ดาวน์โหลด ppt การนำเสนอรายงาน ด้วยโปรแกรม Power Point ที่มา: Brent, Mitchell. (n.d.). การนำเสนองาน. ค้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555. จาก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google