งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการสื่อสารงานสุขภาพจิต ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการสื่อสารงานสุขภาพจิต ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 1."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการสื่อสารงานสุขภาพจิต ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม nattakorn65@yahoo.com 1

2 TOPIC เทคนิคการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ การสื่อสาร การประเมินสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ 2

3 TOPIC การสื่อสาร (Communication) 3

4 การสื่อสารคือ.....? วอร์เรน ดับเบิลยู วีเวอร์ (Worren W. Weaver) การสื่อสารมีความหมายกว้าง ครอบคลุมถึงกระบวนการทุกอย่าง ที่จิตใจของคนๆ หนึ่ง อาจมีผลต่อจิตใจของอีกคนหนึ่งไม่ใช่ เพียงการพูดและการเขียนเท่านั้น แต่รวมถึง ดนตรี ภาพ การแสดง และพฤติกรรมอื่นๆ ของมนุษย์ 4

5 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารคือ.....? Webster Dictionary (1978 : 98) การถ่ายทอดหรือการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ความคิด วิลเบอร์ ชแรมม์ (Wilber Schramm) การสื่อสาร คือการมีความเข้าใจร่วมกัน ต่อเครื่องหมายที่แสดง ข่าวสาร 5

6 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารคือ.....? กล่าวโดยสรุป “การสื่อสาร” คือ........ การที่มนุษย์ถ่ายทอดความรู้ ความคิด หรือประสบการณ์ของตน ไปยังบุคคลอื่น และการรับความรู้ความคิดจากบุคคลอื่น มาปรับ พฤติกรรมของตนเอง โดยกระบวนการของการสื่อสาร ซึ่งการ ถ่ายทอด และการรับความรู้ ความคิดมีอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่ 6

7 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารคือ.....? ลักษณะของ กระบวนการของการสื่อสาร การให้รหัสสัญญาณ โดยตรง การใช้เครื่องมือ การถ่ายทอด การถ่ายทอดโดย กระบวนการทางสังคม 7

8 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารสำคัญกับชีวิตเราอย่างไร.....? ด้านชีวิตประจำวัน ด้านสังคม ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม ด้านการเมืองการปกครอง ด้านการเมืองระหว่างประเทศ 8

9 การสื่อสาร (Communication) วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร เพื่อแจ้งให้ทราบ (to inform) เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม (to educate) เพื่อโน้มน้าวให้มีความคิดเห็นคล้อยตาม (to persuade) เพื่อให้เกิดความบันเทิง (to entertain) 9

10 การสื่อสาร (Communication) องค์ประกอบของการสื่อสาร SMRC ผู้ส่งสาร (sender) สาร (message) ช่องทาง (channel) ผู้รับสาร (receiver) ทักษะ การสื่อสาร ทัศนคติ ระดับความรู้ ระดับสังคม และวัฒนธรรม ทักษะ การสื่อสาร ทัศนคติ ระดับความรู้ ระดับสังคม และวัฒนธรรม เนื้อหา สัญลักษณ์ หรือรหัส วิธีการส่งสาร มองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ลิ้มรส สัมผัส 10

11 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารที่ผู้ส่งสามารถส่งสารผ่านสื่อได้อย่างเหมาะสมกับ ผู้รับ สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยผู้ส่งควรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ ต่อไปนี้ วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร เนื้อหาสาระที่ต้องการส่ง ประเภท และคุณสมบัติ ของสื่อ รายละเอียดเกี่ยวกับผู้รับ ศักยภาพของผู้ส่งสาร จิตวิทยาการสื่อสาร 11

12 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การทราบถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการสื่อสาร โดย เฉพาะการสื่อสารกับคนจำนวนมากๆ หรือการทำงานเป็นทีมจะ สามารถปฏิบัติงานอย่างรู้จุดหมาย และมีทิศทางเดียวกัน เช่น การสื่อสารงานประชาสัมพันธ์ การสื่อสารงานโฆษณา วัตถุประสงค์ในการสื่อสาร 12

13 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เนื้อหาสาระ เนื้อหารสารที่ต้องการส่ง ปริมาณ คุณภาพ ปริมาณพอดี เวลา เนื้อที่ ความสนใจ ของผู้รับ ความถี่ ความถูกตอง ความชัดเจน ความยากง่าย ของสาร 13

14 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่เป็นพาหะนำสาร ภาษา (Language) ภาษาพูด (Verbal Language) ภาษาที่ไม่ใช่ภาษาพูด (Non-verbal Language) เช่น ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง รูปภาพ วัตถุ ฯลฯ 14

15 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่เป็นพาหะนำสาร เทคโนโลยีการสื่อสารทั้งหลาย ที่ช่วยนำสารไปได้ อย่างรวดเร็ว และจำนวนมากและชัดเจน เพราะ นับเป็นพาหะในการนำสารเคลื่อนด้วยเช่นกัน 15

16 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่เป็นพาหะนำสาร ช่องทางให้สารผ่านไปสู่ผู้รับ การเห็น = ตา ได้ยิน = หู ได้กลิ่น = จมูก ลิ้มรส = ลิ้น สัมผัส = ผิวหนัง 16

17 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่ใช้ในการสื่อสารกับคนจำนวนมาก : สื่อมวลชน วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต 17

18 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ รายละเอียดเกี่ยวกับผู้รับสาร ทักษะในการสื่อสาร (Communication Skills) ทัศนะคติ (Attitude) ความรู้ (Knowledge) ระบบสังคม (Social System) พื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) 18

19 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ศักยภาพของผู้ส่งสาร “รู้เขา” และ “รู้เราแล้ว” สำรวจตนเอง ว่ามีความรู้ในเรื่องที่จะส่งหรือไม่ สำรวจเวลาในการทำงานว่ามีมากน้อยเพียงใด สำรวจกำลังคน อุปกรณ์ และงบประมาณ 19

20 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ จิตวิทยาการสื่อสาร ควรศึกษาจิตวิทยาที่เกี่ยวข้อง เช่น จิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยาการรับรู้ เพื่อสามารถเข้าใจพฤติกรรมของผู้รับสาร และสามารถ วางแผนการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ 20

21 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟัง คำนึงถึง กระบวบการสื่อสารแบบมีการสนองกลับ (Two-way Communication) การสื่อสาร งานสุขภาพ S M R C ผู้ดำเนินรายการ นักสื่อสารสุขภาพ ข้อมูลข่าวสาร ด้านสุขภาพ วิทยุกระจายเสียง ผู้ฟัง ผู้รับสาร คำนึงถึง วัตถุประสงค์ใน การสื่อสาร คำนึงถึง ประสิทธิภาพ ของการสื่อสาร + 21

22 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประเภทและคุณสมบัติของสื่อ สื่อที่ใช้ในการสื่อสารกับคนจำนวนมาก : สื่อมวลชน วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ภาพยนตร์ อินเตอร์เน็ต 22

23 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟัง ด้านวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร เน้นแจ้งข้อมูล ข่าวสาร และสาระความรู้ที่จะเป็นสำหรับพื้นฐาน ในการพัฒนามนุษย์ทั้ง 4 ด้าน ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ด้านการป้องกันโรค ด้านการรักษาพยาบาล ด้านการฟื้นฟูสภาพ 23

24 การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารงานสุขภาพไปยังผู้ฟัง ด้านการสื่อสารให้เกิดประสิทธิภาพ ใช้แนวทางการสื่อสารข่าวสาร และสาระความรู้ด้านสุขภาพ คำนึงถึงวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร คำนึงถึงเนื้อหาสาระ คุณสมบัติของ รายละเอียดของชม จิตวิทยาการสื่อสาร 24

25 TOPIC สื่อสิ่งพิมพ์ 25

26 สื่อสิ่งพิมพ์ ข้อได้เปรียบ 1. เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างกว้างขวาง 2. เลือกกลุ่มเป้าหมายได้ 3. รวดเร็วทันสมัย ทันเวลา 4. ค่าใช้จ่ายถูก 5. เป็นสื่อที่มีความน่าเชื่อถือ 6. สามารถส่งข่าวสารถึงกลุ่มเป้าหมาย หลายกลุ่มได้ในเวลาที่ พร้อมกัน 26

27 สื่อสิ่งพิมพ์ ข้อได้เปรียบ 7. สามารถออกแบบรูปแบบสื่อได้เต็มที่ เพราะไม่มีขีดจำกัดด้าน เนื้อที่ ขนาด 8. สื่อมีอายุยาวนาน 9. มีความคงทนถาวร 10. มีความยืดหยุ่นสูง เพราะอาจเปลี่ยนแปลงเนื้อหา และ งบประมาณของสถาบันได้ง่าย 27

28 สื่อสิ่งพิมพ์ ข้อจำกัด 1. ไม่สามารถเข้าถึงผู้อ่านที่อ่านหนังสือไม่ออก หรือผู้สูงอายุที่ สายตาไม่ดี 2. ผู้อ่านจะเลือกอ่านเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเขา 3. งบประมาณเป็นอุปสรรคในการจัดทำ 4. ยุบหรือเลิกง่าย 5. มีวัตถุประสงค์ไม่แน่นอน หรือขาดความรู้ที่น่าสนใจ 6. การเผยแพร่อยู่ในวงจำกัดเฉพาะกลุ่ม 28

29 Design Program Analysis Conceptual Design Case Study Preliminary Design สื่อสิ่งพิมพ์ หลักการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ หลักการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้มีประสิทธิภาพ 29

30 มีแนวความคิด ในการออก แบบที่ดี ความพึงพอใจ ในการออกแบบ มีประโยชน์ ใช้สอย ความสวยงาม สื่อสิ่งพิมพ์ 30

31 หลักในการออกแบบ * อะไรคือจุดมุ่งหมาย * ใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย * ต้องการจะพูดหรือสื่อความใด * มีวิธีในการเสนอข่าวสารอย่างไร การตั้งคำถามเพื่อการออกแบบที่ดี การออกแบบจะต้องเริ่มต้นที่คำถาม * ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร * ใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย * ต้องการจะพูดอะไร * ใช้วิธีการเสนอข่าวอย่างไร * ค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณที่ใช้ 31

32 WHAT/WHY - เป็นคำถามเพื่อหาวัตถุประสงค์ในการทำงาน ทำอะไร ? ทำไมต้องทำ ? ทำอย่างอื่นได้หรือไม่ WHEN - เป็นคำถามเพื่อหาลำดับขั้นตอนการทำงานที่เหมาะสม ทำเมื่อไหร่ ? ทำไมต้องทำตอนนั้น ? ทำตอนอื่นได้หรือไม่ WHERE - เป็นคำถามเพื่อหาสถานที่ทำงานที่เหมาะสม ทำที่ไหน ? ทำไมต้องทำที่นั่น ? ทำที่อื่นได้หรือไม่ ? WHO - เป็นคำถามเพื่อหาบุคคลที่เหมาะสมในการทำงาน ใครเป็นคนทำ ? ทำไมต้องเป็นคนนั้นทำ ? คนอื่นทำได้หรือไม่ ? HOW - เป็นคำถามเพื่อหาวิธีการทำงานที่เหมาะสม ทำอย่างไร ? ทำไมต้องทำอย่างนั้น ? ทำวิธีอื่นได้หรือไม่ ? หลักในการออกแบบ 32

33 การจัดวางองค์ประกอบสื่อสิ่งพิมพ์ มีหลักการสำคัญที่ใช้เป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาอยู่ 6 ประการ 1. สัดส่วน 2. ความสมดุล 3. ความแตกต่าง 4. ลีลาจังหวะ 5. ความมีเอกภาพ 6. ความผสมกลมกลืน 33

34 การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์ ความเข้าใจในเรื่องของสีเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้งาน ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์มีความสดใส สวยงาม น่าสนใจ และมี บทบาทในการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและมี คุณภาพอีกด้วย ดังนั้น การเลือกใช้สีควรจะได้ศึกษาให้มี ความรู้ความเข้าใจ เพื่อที่จะได้นำสีไปใช้ประกอบในงาน ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อให้งานนั้นสามารถตอบสนองได้ตรง ตามจุดประสงค์มากที่สุด 34

35 1.ใช้ในการจำแนกสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เห็นชัดเจน 2.ใช้ในการจัดองค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสวยงาม กลมกลืน เช่น การแต่งกาย 3.ใช้ในการจัดกลุ่ม พวก คณะ ด้วยการใช้สีต่าง ๆ เช่น คณะสี เครื่องแบบต่าง ๆ 4.ใช้ในการสื่อความหมาย เป็นสัญลักษณ์ หรือใช้บอกเล่าเรื่องราว การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์ 35

36 5.ใช้ในการสร้างสรรค์งานศิลปะ เพื่อให้เกิดความสวยงาม สร้างบรรยากาศ สมจริงและน่าสนใจ 6.เป็นองค์ประกอบในการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ของมนุษย์ การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์ 36

37 การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์ ทฤษฎีของสี โทนของสี จิตวิทยาในการเลือกใช้สี หลักการพิจารณา ในการเลือกใช้สี 37

38 การใช้สีกับสื่อสิ่งพิมพ์ 38

39 หน้าที่ของภาพประกอบ ดึงดูดความสนใจ ประกอบการอธิบายความรู้ อธิบายความคิดรวบยอด อ้างอิงสิ่งที่ปรากฏ ประกอบข้อมูลทางสถิติ 39

40 ภาพทำให้เกิดความรู้สึกที่ คล้อยตาม สามารถบ่งบอก เรื่องราวได้เป็นขั้นเป็นตอน แสดง ถึงความรู้สึกนึกคิดและเหตุการณ์ ที่ยังดำเนินอยู่ช่วยให้ผู้รับสาร เข้าใจได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น หน้าที่ของภาพประกอบ ภาพหนึ่งภาพท่านคิดว่าแทนคำพูดพันคำ ท่านคิดว่าถ้าใช้กับงานการส่งเสริมสุขภาพจิตควร เป็นเช่นไร 40

41 เนื้อหาสาระของสื่อสิ่งพิมพ์ เนื้อหารายการสำหรับผู้อ่านทั่วไปทั่วไป ลักษณะของเนื้อหา เนื้อหารายการสำหรับผู้ฟังเฉพาะกลุ่ม 41

42 เนื้อหาสาระของสื่อสิ่งพิมพ์ เนื้อหาประเภทของเท็จจริง เนื้อหาประเภทนี้ต้องมีความถูกต้อง และมีแหล่งอ้างอิงที่ น่าเชื่อถือ และเป็นหลักฐานได้ ประเภทของเนื้อหา เนื้อหารายการประเภทความคิดเห็น เนื้อหาประเภทนี้ ต้องทันต่อเหตุการณ์ มีหลายหลายความ คิดเห็น และมีอิสระ 42

43 เนื้อหาสาระของสื่อสิ่งพิมพ์ การกำหนดเนื้อหาสื่อสิ่งพิมพ์ต้องคำนึงถึง การจัดลำดับเนื้อหาของสื่อสิ่งพิมพ์ (ตามลักษณะแต่ละ ประเภท) การนำเสนอเนื้อหา 1. วัตถุประสงค์ของสิ่งที่จะนำเสนอ 2. กลุ่มผู้อ่าน (ความสนใจ และความต้องการรับสารของ บุคคล) 3. ประเภทของสื่อ แผ่นพับ โปสเตอร์ ฯลฯ 43

44 เป็นทั่วไป/เฉพาะ กลุ่ม เป็นข้อเท็จจริง/ แสดงความคิดเห็น 44

45 การเขียนในงานพิมพ์ เขียนเพื่อเล่าเรื่อง : ถ่ายทอดประสบการณ์ ความรู้ โดยต้องเรียงลำดับเหตุการณ์และข้อมูล ที่ถูกต้อง เขียนเพื่ออธิบาย : บอกวิธีกระทำ เพื่อชี้แจง อธิบาย เรื่องที่เข้าใจยาก เขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น : เสนอความเห็นหรือให้ ข้อเสนอแนะ ข้อเตือนใจ หรือปลุกใจร่วมด้วย เขียนเพื่อชักจูงหรือโน้มน้าวใจ : จูงใจ ปลุกใจ ปลอบ ประโลมหรือเชิญชวนให้กระทำตามหรือไม่ทำสิ่งใด 45

46 การเขียนในงานพิมพ์ เขียนเพื่อสร้างจินตนาการและให้ ความบันเทิง : เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เป็นการเขียนถ่ายทอดความรู้สึก ทำให้ผู้อ่านมองเห็นภาพเกิดจินตนาการ เขียนเพื่อล้อเลียนเสียดสี : มีจุดประสงค์เพื่อตำหนิสิ่งใด สิ่งหนึ่งอย่างนุ่มนวล แต่เป็นการติเพื่อก่อ เขียนเพื่อกิจธุระ : มีจุดประสงค์ทางการงาน โดยมีรูปแบบ และลักษณะการใช้ภาษาแตกต่างกันไปตามประเภทของงาน 46

47 one way communication หน้าที่ของภาษา ทำหน้าที่บอกกล่าว ให้ข้อเท็จจริง ให้เหตุผล ทำหน้าที่สร้างอารมณ์ และความรู้สึก การสื่อสาร ทางสื่อสิ่งพิมพ์ 47

48 เป็นการ เขียนแบบใด 48

49 TOPIC เทคนิคผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 49

50 สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร หนังสือพิมพ์ วารสาร, นิตยสาร จุลสาร สิ่งพิมพ์โฆษณา โบร์ชัวร์ (Brochure) ใบปลิว (Leaflet, Handbill) แผ่นพับ (Folder) ใบปิด (Poster) สิ่งพิมพ์เพื่อการบรรจุภัณฑ์ สิ่งพิมพ์มีค่า เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นการ นำไปใช้เป็นหลักฐานสำคัญต่าง ๆ ซึ่งเป็น กำหนดตามกฎหมาย เช่น ธนาณัติ, บัตร เครดิต, เช็คธนาคาร, ตั๋วแลกเงิน, หนังสือ เดินทาง, โฉนด เป็นต้น สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์มีการ ผลิตขึ้นตามลักษณะพิเศษแล้วแต่การใช้งาน ได้แก่ นามบัตร, บัตรอวยพร, ปฎิทิน,บัตร เชิญ,ใบส่งของ,ใบเสร็จรับเงิน,สิ่งพิมพ์บน แก้ว,สิ่งพิมพ์บนผ้า เป็นต้น สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ ผลิตขึ้นเพื่อใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เป็นต้น 50

51 การใช้งานสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ แผ่นปลิว ใช้เพื่อการประกาศ แจ้งความ จัดทำง่าย ต้นทุนต่ำ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้รวดเร็วถึงตัว อายุการใช้งานสั้น 1-3 วัน/ 1 สัปดาห์ โปสเตอร์ ใช้เพื่อการประกาศ แจ้งโฆษณา เน้นการนำเสนอที่ดึงดูดความสนใจ ติดตามฝาผนัง กำแพง ที่สาธารณะ อายุการใช้งาน 1 – 4 สัปดาห์ ไม่ควรใส่เนื้อหา/ข้อความมาก/แน่นเกินไป สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร 51

52 การใช้งานสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ แผ่นพับ นิยมใช้ในการประชาสัมพันธ์ บรรจุข้อมูลได้มาก อายุการใช้งานยาวนาน เข้าถึงตัวบุคคลเป้าหมายได้โดยตรง เหมาะกับงานที่มีเนื้อหาเยอะ ควรคำนึงถึงการออกแบบการพับ/ การอ่าน โบรชัวร์เป็นแผ่นปลิว / แผ่นพับก็ได้ บรรจุข้อมูลได้มาก อายุการใช้งานยาวนาน เน้นความประณีตสวยงาม อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับอายุของข้อมูลที่จัดทำ สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร 52

53 การใช้งานสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ จดหมายข่าว นิยมใช้ในการประชาสัมพันธ์องค์กร เพื่อ เผยแพร่ข่าวสาร + กิจกรรมขององค์กรให้ กลุ่มเป้าหมายรับทราบบรรจุข้อมูลได้มาก จัดทำ ได้หลายรูปแบบมีวาระการเผยแพร่ที่แน่นอน จุลสาร/อนุสาร เป็นหนังสือเล่มเล็ก ความหนา 5 – 50 หน้า ใช้เสนอข้อมูลที่เป็นการเฉพาะ มีรายละเอียดมาก ผลิตได้ง่าย ต้นทุนต่ำ อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับ อายุของข้อมูลที่จัดทำ สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร 53

54 องค์ประกอบของโปสเตอร์ 1. หัวเรื่อง 2. ข้อความ 3. ภาพประกอบ 54

55 องค์ประกอบของแผ่นพับ 1. หัวเรื่อง heading 2. ข้อความ copy 3. ภาพประกอบ subheading 4. หน่วยงานรับผิดชอบ 55

56 1. พับหนึ่งคือพับกลางหน้ากระดาษ 2. พับบานประตูพับกระดาษให้เป็น 3 ส่วน 3. พับแบบบานประตูได้ 4 ส่วน 8 หน้า 4. พับแบบสมุดใบลานพับไปมา 5. พับพิเศษขึ้นอยู่กับการออกแบบ การออกแบบแผ่นพับ 56

57 1. เป็นแบบใด 2. เป็นแบบใด 3. เป็นแบบใด องค์ประกอบของแผ่นพับ 57

58 การใช้บุคคลอ้างอิง ผู้มีชื่อเสียง ดารา ผู้เชี่ยวชาญด้านนั้นๆ การใช้ความรู้สึก ค่านิยมรักชาติ นึกถึงผลที่จะเกิด(ช้าหมดอดแน่) คล้อยตาม (บุ๋มเลือกใช้.....) อ้างความเป็นหนึ่ง แป๊บซี่....... กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์ 58

59 เป็นพวกเดียวกัน ก้าวไปพร้อมกับ......ซิครับ การอำพรางบางส่วน เคล็ดลับของความสวยผู้หญิง การให้รางวัล ท้าทาย ไม่ลองไม่รู้ การเปรียบเทียบด้านคุณภาพ การให้คำมั่น เราขอสัญญา การอาสารับใช้ กับการติดต่อที่ไม่ขาดสาย การใช้ภาพสวยงาม ดอกไม่ ทิวทัศน์ ผู้หญิง กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์ 59

60 สาธิต เปรียบเปรย สะอาดจนดมความสะอาดได้ การแสดงถึงประโยชน์สารพัด สร้างจินตนาการ ให้รู้สึกมีความสุข การสร้างภาพช่วงหนึ่งของชีวิต ใช้สถิติ การใช้การ์ตูน ใช้สิ่งดึงดูดใจ เช่นเพศตรงข้าม กลยุทธ์ในการออกแบบโปสเตอร์ 60

61 ควรนำเสนอแนวคิดเพียงเรื่องเดียว ควรนำเสนอรูปแบบง่ายๆไม่ซับซ้อน เนื้อหา กระชับ ภาพบ่งบอกได้ชัดเจน ใช้ตัวอักษรเด่นสะดุดตา อ่านง่าย เน้นจุดสำคัญ ใช้หลักจิตวิทยาเกี่ยวกับสี หลักการออกแบบโปสเตอร์ 61

62 กฎสามส่วน ควรคำนึงถึงหลักศิลปะ องค์ประกอบศิลป์ ความสมดุล หลักการออกแบบโปสเตอร์ เส้นนำสายตา กรอบภาพ 62

63 สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ “อีบุ๊ค” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป็น คำภาษาต่างประเทศ ย่อมาจากคำว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มี ลักษณะเป็นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็น แฟ้มข้อมูลที่สามารถอ่านเอกสารผ่านทางหน้า จอคอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบออฟไลน์และออนไลน์ 63

64 สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพนิ่ง (Static Picture Books) : 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาพเคลื่อนไหว (Moving Picture Book) 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดีย (Multi – Media Books) 64

65 เทคโนโลยียุคดิจิตอลกับสื่อสิ่งพิมพ์ แนวโน้มสื่อสิ่งพิมพ์ พื้นที่ใช้งานมีขนาดลดลง บุคลากรมีความรู้ด้านเทคโนโลยีมากขึ้น สูงขึ้น สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์ ทุกคนทำงานได้หลายหน้าที่ การติดต่อภายในและภายนอกมีเป็นเครือข่าย 65

66 โปรแกรมที่นิยมใช้สร้าง E-Book มีอยู่หลายโปรแกรมแต่ที่นิยม ใช้กันมาในปัจจุบันได้แก่ 1. โปรแกรมชุด Flip Album 2. โปรแกรม Desktop Author 3. โปรแกรม Flash Album Deluxe ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับอ่าน e-Book ด้วย มิฉะนั้น แล้วจะเปิดเอกสารไม่ได้ ประกอบด้วย 1.1 โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอ่านคือ Flip Viewer 1.2 โปรแกรมชุด Desktop Author ตัวอ่านคือ DNL Reader 1.3 โปรแกรมชุด Flash Album Deluxe ตัวอ่านคือ Flash Player สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ 66

67 e-book จะเป็นอีกสื่อสิ่งพิมพ์ที่มี ผลต่อการสื่อสารในระดับสูงต่อไป ในอนาคต สื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ 67

68 โปรแกรมที่ใช้ในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 1. โปรแกรม Microsoft Word) 2. โปรแกรมAdobe Photoshop 3. โปรแกรมCorel Draw 4. โปรแกรม Page Maker 5. โปรแกรม Microsoft Publisher 6. โปรแกรม Adobe Illustrator 7. โปรแกรม Adobe Indesign 68

69 การประเมินผลงานสื่อสิ่งพิมพ์ การออกแบบจึงมุ่งหวังถึงผลสัมฤทธิ์ของ กระบวนการในการที่จะสื่อความหมาย หรือการถ่ายทอด เนื้อหาสาระให้ผู้รับหรือผู้ดูได้ชัดเจนให้ผู้ดูเกิดความ เข้าใจอันดีมีทัศนคติที่ดีต่อข้อมูล และรูปแบบของสื่อ สิ่งพิมพ์ ตลอดจดการยอมรับและพร้อมที่จะกระทำตาม ในกระบวนการสุดท้าย 69

70 การประเมินผลงานสื่อสิ่งพิมพ์ การประเมินผลงานในเบื้องต้น การประเมินผลงานจากต้นฉบับจริง การประเมินผลงานก่อนนำไปใช้จริง การประเมินผลงานหลังการนำไปใช้ 70

71 Q & A 71

72 เกี่ยวกับผู้บรรยาย อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน e-mail : nattakorn65@yahoo.comnattakorn65@yahoo.com รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โทร. 029426900 ต่อ 2037 และ 0897185195 72


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการสื่อสารงานสุขภาพจิต ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ อาจารย์ณัฏฐกรณ์ ปะพาน รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google