งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104)
แผ่นที่ 15-1 หน่วยที่ เครื่องวัด เพาเวอร์ แฟกเตอร์   เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

2 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-2 j v i การวัดระยะห่างระหว่างจุดเริ่มต้นของกระแสไฟฟ้ากับแรงดันไฟฟ้า (มุม j) ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าอะไร? และวัดได้อย่างไร? เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

3 เพาเวอร์แฟกเตอร์ คืออะไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-3 เครื่องวัด เพาเวอร์แฟกเตอร์ คืออะไร? j v i เครื่องวัดไฟฟ้าที่ทำหน้าที่วัดค่าโคไซน์ (cosine j) และหรือค่าของมุม (มุม j) ระหว่างรูปคลื่นไซน์ของกระแสไฟฟ้ากับแรงดันไฟฟ้าของภาระไฟฟ้าชนิดต่างๆ เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

4 ชนิดของภาระไฟฟ้าของ ไฟฟ้ากระแสสลับ มีอะไรบ้าง?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-4 ชนิดของภาระไฟฟ้าของ ไฟฟ้ากระแสสลับ มีอะไรบ้าง? 1. ชนิดตัวต้านทานไฟฟ้า (R) ภาระไฟฟ้าที่เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะให้พลังงาน ความร้อน แสงสว่างหรือทั้งสอง เช่น ขดลวดความร้อนของ เตารีดไฟฟ้า ของกระทะไฟฟ้า หลอดไส้ ฯลฯ มีคุณสมบัติทำให้กระแสไฟฟ้าเกิดพร้อมกับแรงดันไฟฟ้า เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

5 วงจรไฟฟ้า รูปคลื่นไซน์
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-5 ir R ein ~ vr วงจรไฟฟ้า j=0O vr ir รูปคลื่นไซน์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานไฟฟ้า (ir) จะเกิดพร้อมกับแรงดันไฟฟ้า (vr) เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

6 2. ชนิดขดลวดเหนี่ยวนำ (L)
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-6 2. ชนิดขดลวดเหนี่ยวนำ (L) ภาระไฟฟ้าที่เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเก็บสะสมพลังงานในรูปสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ขดลวดสนามแม่เหล็กไฟฟ้า หรือขดลวดหม้อแปลงไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า ฯลฯ มีคุณสมบัติทำให้กระแสไฟฟ้าล้าหลัง (เกิดหลัง) แรงดัน ไฟฟ้าเป็นมุม 90 องศา เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

7 วงจรไฟฟ้า รูปคลื่นไซน์
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-7 iL L ein ~ vL วงจรไฟฟ้า j=-90O vL iL รูปคลื่นไซน์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดเหนี่ยวนำ (iL) จะเกิดล้าหลัง แรงดันไฟฟ้า (vL) เป็นมุม 90o เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

8 3. ชนิดตัวเก็บประจุไฟฟ้า (C)
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-8 3. ชนิดตัวเก็บประจุไฟฟ้า (C) ภาระไฟฟ้าที่เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเก็บสะสมพลังงานในรูปสนามไฟฟ้า เช่น คาปา ซิเตอร์ ฯลฯ มีคุณสมบัติทำให้กระแสไฟฟ้า นำหน้า (เกิดก่อน) แรงดัน ไฟฟ้าเป็นมุม 90 องศา เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

9 วงจรไฟฟ้า รูปคลื่นไซน์
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-9 ic C ein ~ vc วงจรไฟฟ้า j= 90O vc ic รูปคลื่นไซน์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ (iL) จะเกิดก่อน (นำหน้า) แรงดันไฟฟ้า (vL) เป็นมุม 90o เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

10 เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์มีโครงสร้างอย่างไร?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-10 เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์มีโครงสร้างอย่างไร? A C B D R L cos j ไปยังภาระไฟฟ้า ไปยังแหล่งจ่ายกระแสสลับ องศา 1. ขดลวดอยู่กับที่ 2. ขดลวดขวาง 2.1 ชุดที่ต่ออนุกรมกับ R 2.2 ชุดที่ต่ออนุกรมกับ L เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

11 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-11 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L cos j องศา 1. iF เกิดพร้อมกับ v 2. imr เกิดพร้อมกับ v 3. iml เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o ดังนั้น iF เกิดพร้อมกับ imr เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

12 1. ค่าของมุม j มีค่าเท่ากับ 0o 2. ค่า cos 0o = 1.0 หรือ p.f = 1
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-12 A C B D R L 1.0 0o ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์(p.f.) ค่ามุม j แรงดูดระหว่างขั้วแม่เหล็กที่ต่างกันของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า iF และ imr ที่เกิดพร้อมกันทำให้เข็มชี้ไปที่ตำแหน่งกึ่งกลางของสเกล ดังนั้นแสดงว่าที่ตำแหน่งกึ่งกลางสเกล 1. ค่าของมุม j มีค่าเท่ากับ 0o ค่า cos 0o = 1.0 หรือ p.f = 1 เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

13 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-13 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L cos j องศา 1. iF เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o 2. imr เกิดพร้อมกับ v 3. iml เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o ดังนั้น iF เกิดพร้อมกับ iml เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

14 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-14 ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์(p.f.) -90 A C B D R L 0 IND 1.0 ค่ามุม j แรงดูดระหว่างขั้วแม่เหล็กที่ต่างกันของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า iF และ iml ที่เกิดพร้อมกันทำให้เข็มชี้ไปที่ตำแหน่งขวามือของสเกล ดังนั้นแสดงว่าที่ตำแหน่งขวามือของสเกล 1.ค่าของมุม j เท่ากับ-90o ล้าหลัง ค่า cos -90o = 0 หรือ p.f = 0 ล้าหลัง เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

15 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิดC เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-15 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิดC เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L cos j องศา 1. iF เกิดนำหน้า v เป็นมุม 90o 2. imr เกิดพร้อมกับ v 3. iml เกิดล้าหลัง v เป็นมุม 90o ดังนั้น iF เกิดพร้อมกับ iml แต่มี ทิศทางตรงกันข้ามเท่านั้น เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

16 เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-16 -90 A C B D R L 0 Ind 1.0 0 Kap +90 ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์(p.f.) ค่ามุม j แรงดูดระหว่างขั้วแม่เหล็กที่ต่างกันของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า iF และ iml ที่เกิดพร้อมกันแต่มีทิศทางตรงข้ามทำให้เข็มชี้ไปที่ตำแหน่งซ้ายมือของสเกล ดังนั้นแสดงว่าที่ตำแหน่งซ้ายมือของสเกล 1.ค่าของมุม j เท่ากับ+90o นำหน้า ค่าcos90o=0 หรือ p.f = 0นำหน้า เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

17 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-17 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-L เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D R L -90 0 Ind 1.0 เข็มชี้จะชี้อยู่ระหว่าง o ถึง -90oล้าหลัง หรือ p.f. อยู่ระหว่าง 1 ถึง 0 ล้าหลัง หรือ อยู่ทางด้านขวามือ เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ

18 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-C เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด?
เครื่องวัดไฟฟ้า ( ) หน่วยที่ 15 แผ่นที่ 15-18 เมื่อภาระไฟฟ้าเป็นชนิด R-C เข็มชี้จะเคลื่อนที่ไปตำแหน่งใด? A C B D L R 1.0 0 Kap +90 เข็มชี้จะชี้อยู่ระหว่าง o ถึง -90o นำหน้า หรือ p.f. อยู่ระหว่าง 1 ถึง 0 นำหน้า หรือ อยู่ทางด้านซ้ายมือ เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ มงคล ธุระ


ดาวน์โหลด ppt เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google