งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “อาเซียน” ปี 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “อาเซียน” ปี 2558"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “อาเซียน” ปี 2558
การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “อาเซียน” ปี 2558

2 ทำไมต้อง... ขับเคลื่อนอาเซียน?

3 จุดเริ่มต้นของอาเซียน
Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510) วัตถุประสงค์สำคัญ ส่งเสริมความร่วมมือและความ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง ส่วนภูมิภาค เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การ ระหว่างประเทศ

4 สมาชิกอาเซียน สมาชิกผู้ก่อตั้งปี 1967 ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999

5 ข้อมูลทั่วไปของอาเซียน
Indicators Unit 2008 2009 Total land area km2 4,435,830 4,435,670 Total population thousand 583,673 590,844 Gross domestic product at current prices US$ million 1,512,707 1,496,341 GDP growth percent 4.4 1.5 Gross domestic product per capita at current prices US$ 2,592 2,533 International merchandise trade 1,897,127 1,536,843 Export 977,537 810,489 Import 919,591 726,354 Foreign direct investments infow 49,469 39,387 Visitor arrivals 65,605.5 65,808.6 Sources ASEANstats, ASEAN Secretariat EU 501 ล้านคน GDP USD 16.4 trillion

6 ตัวชี้วัดสำคัญของอาเซียน (2009)
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศ GDP ส่งออก FDI 1. อินโดนีเซีย 546,527 1. สิงคโปร์ 269,191 สิงคโปร์ 16,381 2. ไทย 264,230 2. มาเลเซีย 156,704 2. เวียดนาม 7,650 3. มาเลเซีย 191,618 3. ไทย 151,365 5,518 4. สิงคโปร์ 177,569 4. อินโดนีเซีย 116,509 5,299 5. ฟิลิปปินส์ 161,149 5. เวียดนาม 57,096 1,948 6. เวียดนาม 96,317 6. ฟิลิปปินส์ 38,335 6. มาเลเซีย 1,423 7. พม่า 24,024 บรูไน 7,169 676 8. บรูไน 14,147 8. พม่า 6,341 8. กัมพูชา 515 9. กัมพูชา 10,368 4,359* 9. ลาว 310 10. ลาว 5,742 828* 10. บรูไน 239 GDP : ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ FDI : Foreign Direct Investment ที่มา : ASEAN Secretariat

7 ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน
ความบริสุทธิ์ ความเจริญรุ่งเรือง สันติภาพและเสถียรภาพ ความกล้าหาญและพลวัตร ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ

8 ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

9 One Vision, One Identity, One Community

10 China (จีน) Japan (ญี่ปุ่น) ROK เกาหลีใต้
The ASEAN+3 co-operation between ASEAN and China, Japan and South Korea, which started in 1997, has paid dividends. Co-opertion covers about 20 sectors, the most prominent being finance co-operation where the Chiang Mai. Initiative for bilateral swap arrangements is in place to assits needy countries in financial situations. Creative ways should be devised to utilize the massive financial reserves in East Asia to support ASEAN integration so that ASEAN can truly play the driver’s role in integrating East Asia ROK เกาหลีใต้

11 ASEAN Centrality ASEAN+3 ASEAN ASEAN+6
The centrality of ASEAN must be based on, first and foremost, ine inner strength of the ASEAN community. It also depends not only on the form of ASEAN’s external engagement, but also its content. The quality of ASEAN’s leadership is key. ASEAN+6

12 ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน)
A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน วางกรอบการทำงาน การจัดตั้งสถาบัน และ แนวทางกฎหมายของ ASEAN วัตถุประสงค์หลักของ ASEAN Charter -- สร้าง ASEAN ให้ ….. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น ให้ความสำคัญต่อประชาชนมากขึ้น The most important point about ASEAN Charter is the determination to have a more rules based and legal way of doing things. This is a good signal for the economic integration of ASEAN. There will be more predictability and certainty of policy. As you all know, the ASEAN Charter was signed last November, and its full ratification is expected to be achieved in time for ASEAN Leaders to celebrate its entry into force at our next ASEAN Summit in Bangkok at the end of this year.

13 ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (เลขาธิการอาเซียน)

14 ทัศนคติและความตระหนักรู้ เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน” บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูล ประเทศสมาชิกอาเซียน The survey was carried out last year among university students in all ten ASEAN member countries. There were 2170 respondent and average age was 20 years old. สำรวจข้อมูลของนักศึกษา จำนวน 2,170 คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน

15 ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN)
ลาว 96.0% 2. กัมพูชา 92.7% 3. เวียดนาม 91.7% 4. มาเลเซีย 86.8% 5. บรูไน 82.2% 6. อินโดนีเซีย 73.0% 7. ฟิลิปปินส์ 69.6% 8. ไทย 67.0% 9. พม่า 59.5% 10. สิงคโปร์ 49.3% The most common attitude towards ASEAN was “positive”. Over 75% of students agreed with the statement “I feel I am a citizen of AZEAN “ They may not know yet that the drafters of the ASEAN Charter felt that ASEAN was not yet ready to recognize the ASEAN “citizenship” , the way the European Union does recognize European citizenship; thus the ASEAN Charter is silent on the ASEAN citizenship

16 ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด Brunei 98.5% Indonesia 92.2% Laos 87.5% Myanmar 85.0% Singapore 81.5% Vietnam 81.3% Malaysia 80.9% Cambodia 63.1% Philippines 38.6% 10.THAILAND 38.5% Laos 68.4% Indonesia 65.6% Vietnam 64.7% Malaysia 53.0% Singapore 47.8% Brunei 44.3% Philippines 37.8% 8. Cambodia 36.6% Myanmar 32.5% 10. THAILAND 27.5%

17 คุณรู้เกี่ยวกับอาเซียนจาก …
โทรทัศน์ % ครอบครัว % โรงเรียน % 11. การเดินทาง 13.3% หนังสือพิมพ์70.7% 12. ภาพยนตร์ % หนังสือ % 13. ดนตรี % อินเทอร์เน็ต 49.9% 14. งาน/อาชีพ % วิทยุ % กีฬา % 8. โฆษณา % 9. เพื่อนๆ %

18 เป้าหมายของอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็นประชาคมเดียวกัน ในปี พ.ศ (2015) มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร ยกเว้น สินค้าอ่อนไหวสูง (ข้าว น้ำตาล) และสินค้าอ่อนไหว (ไทย: กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้าวแห้ง ไม้ตัดดอก บรูไน: กาแฟ ชา) เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการลงทุนอย่างเสรี แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางานทำ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของอาเซียน

19 นโยบายรองรับการเปิดเสรีร่วมกับประชาคมอาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการ
การเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อม ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา นักเรียน และ ประชาชนให้มีทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน

20 การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการ หมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน และยอมรับ ในคุณสมบัติร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลาง การศึกษาของภูมิภาค การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

21 จุดเน้นของ สพฐ. ปี ข้อที่ 8 “นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)”

22 เป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน ASEAN Focus School (14 โรง)
Spirit of ASEAN (540 โรง) ASEAN Focus School (14 โรง) School สังกัด สพฐ. Sister School (30 โรง) Buffer School (24 โรง) เป็นโรงเรียนต้นแบบการพัฒนาการเรียนรู้อาเซียน เน้นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ หน่วยการเรียนรู้อาเซียนศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนในโรงเรียน และชุมชน ผู้บริหาร ครู และผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และ ความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน จัดกิจกรรม การเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีมุมอาเซียนศึกษา หรือศูนย์อาเซียนศึกษา เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาอังกฤษ ICT พหุวัฒนธรรม ภาษาเพื่อนบ้าน เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่สื่อ การเรียนรู้ และแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน เน้นภาษาเพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม เป็นศูนย์อาเซียนศึกษา เผยแพร่ สื่อการเรียนรู้ และ แหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง

23 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้น “อาเซียน” และการจัด การเรียนรู้เกี่ยวกับ “อาเซียน”
ASEAN Community หลักสูตรสถานศึกษา

24 หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน: Sister School/Buffer School ข้อมูลพื้นฐาน/บริบทของโรงเรียน รายวิชาพื้นฐานที่บูรณาการอาเซียน Web Community หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษาSister School/ Buffer School รายวิชาเพิ่มเติม ที่เน้นอาเซียน อาเซียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่เน้นอาเซียน จุดเน้นของ Sister School ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน ICT พหุวัฒนธรรม จุดเน้นของ Buffer School ภาษาเพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม

25 การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นอาเซียน
องค์ความรู้ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศ สมาชิกอาเซียน วิถีชีวิต/พหุวัฒนธรรม ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน ประเด็นสำคัญ เช่น พลเมือง สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย ประวัติศาสตร์เชิงบวก สันติศึกษา สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ สุขภาพ การค้าเสรี ฯลฯ สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ การใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน การใช้ ICT การคำนวณ การให้เหตุผล กระบวนการคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม แก้ปัญหา สืบสอบ สื่อสาร สร้างความตระหนัก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะชีวิต กล้าแสดงออก เอื้ออาทรและแบ่งปัน เข้าใจตนเองและผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล Common Values Gender Sensitivity ฯลฯ อาเซียน การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นอาเซียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา ส่วนนำ (ความนำ วิสัยทัศน์โรงเรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์) โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา (โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้าง หลักสูตรชั้นปี) คำอธิบายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษา รายวิชาพื้นฐานที่บูรณาการ อาเซียน รายวิชาเพิ่มเติม ที่เน้นอาเซียน กิจกรรม พัฒนาผู้เรียนที่เน้นอาเซียน

26 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ
กำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้: ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ กำหนดการวัดและประเมินผล: ภาระงาน/ผลงาน การประเมินและเกณฑ์ วางแผนการจัดการเรียนรู้: กิจกรรมการเรียนรู้

27 แนวการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน
เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการจัดการเรียนรู้ ใช้การบูรณาการ ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนกิจกรรมได้ตามความเหมาะสม ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด แก้ปัญหา สร้างความตระหนัก สื่อสาร เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผลหลากหลายตามสภาพจริง ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี เพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีในประชาคมอาเซียน

28

29

30 สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
เอกสาร หนังสือ ตำรา นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม วรรณคดี เรื่องราว เหตุการณ์ เพลง เกม การละเล่น ธงชาติ ลูกโลก แผนที่ แผ่นพับ บัตรคำ บัตรภาพ ป้ายนิเทศ ของจริง ของจำลอง Website, Internet, Facebook, Web Community, E-book, CD, DVD etc. สถานที่ต่างๆ บุคคลต่างๆ ฯลฯ

31 Website แนะนำ

32 แหล่งการเรียนรู้: ศูนย์อาเซียนศึกษา
ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน: Spirit of ASEAN 54 โรง * โรงเรียน Sister School 30 ศูนย์ * โรงเรียน Buffer School 24 ศูนย์ * โรงเรียนเครือข่าย ตามความพร้อม ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการการพัฒนาการจัด การเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ASEAN FOCUS 14 โรง ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโรงเรียน Education Hub 14 โรง

33

34

35 ตัวอย่างโครงสร้างการบริหารจัดการ
ผู้อำนวยการคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา คณะกรรมการประจำศูนย์อาเซียนศึกษา ที่ปรึกษาประจำศูนย์อาเซียนศึกษา ครูผู้ดูแลศูนย์อาเซียนศึกษา เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์อาเซียนศึกษา ครูสอนภาษาอาเซียน

36 ตัวอย่างบทบาทและหน้าที่
1.จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา (บุคลากรและจัดหาสื่อการเรียนรู้) 2.จัดกิจกรรมเพื่อสร้างความรู้ ความตระหนักเกี่ยวกับอาเซียน 5.จัดค่ายวิชาการประชาคมอาเซียน 6.เชื่อมโยงประเทศสมาชิกอาเซียน 3.บริการสื่อ การเรียนรู้ 7.สอนภาษาอาเซียน 4.จัดบริการการเรียนรู้เคลื่อนที่ 8.พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นอาเซียน ตัวอย่างบทบาทและหน้าที่

37 บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา
เป็นผู้นำ นิเทศ กำกับ ติดตาม ส่งเสริม/สนับสนุน สร้างขวัญและกำลังใจ ฯลฯ

38 Thank You


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมโรงเรียน สู่ประชาคม “อาเซียน” ปี 2558

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google