งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิธีการสอนให้เกิดการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิธีการสอนให้เกิดการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิธีการสอนให้เกิดการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
ณัฐพล โยธาธิติกุล

2 “มนุษย์ ยังคงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่วิเศษสุดกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ใด ๆ ทั้งหมด”
John F. Kennedy

3 MENU ความหมายของการคิดวิเคราะห์ คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิดวิเคราะห์
ลักษณะการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ การจัดการเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ เลือกหัวข้อที่ต้องการ

4 การคิดวิเคราะห์หมายความว่าอย่างไร ?
การคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการจำแนก แยกแยะ องค์ประกอบ ต่าง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่ง อาจจะเป็นวัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบ เหล่านั้นเพื่อค้นหาสภาพความเป็นจริงหรือสิ่งสำคัญ ของสิ่งที่กำหนดให้

5 คุณสมบัติของบุคคลที่เอื้อต่อการคิดวิเคราะห์
1. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องที่จะวิเคราะห์ 2. ช่างสังเกต ช่างสงสัย ช่างไต่ถาม 3. ความสามารถในการตีความ 4. ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล

6 ลักษณะการคิดวิเคราะห์
1. การวิเคราะห์ส่วนประกอบ 2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ 3.การวิเคราะห์หลักการ

7 ใบงาน จงระบุส่วนประกอบของเซลล์

8 ตัวอย่างคำถามการวิเคราะห์ส่วนประกอบ
กระบวนการทางชีววิทยาประกอบด้วยขั้นตอนตามลำดับวิธีการอย่างไร การหายใจแบบใช้ออกซิเจนจากน้ำตาล 1 โมเลกุลจะต้องผ่านกระบวนการใดบ้าง รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศมีอะไรบ้าง เซลล์เม็ดเลือดขาวมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

9 ในกระสังเคราะห์สายDNA จะต้องเอนไซม์ใดบ้างและเอนไซม์เหล่านั้นทำงานร่วมกันอย่างไร

10 ตัวอย่างคำถามการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
1. การแบ่งเซลล์ไมโอซิส มีผลต่อการแปรผันทางพันธุกรรมอย่างไร 2. การใช้สาร CFC ส่งผลต่อชั้นบรรยากาศโลกอย่างไร 3.ฝนกรดทำให้เกิดผลเสียอย่างไรบ้าง 4.คลอโรพลาสมีความสำคัญอย่างไรกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

11 ตัวอย่างคำถามการวิเคราะห์หลักการ
หลักการในการใช้กล้องจุลทรรศน์มีอะไรบ้าง หลักการในการทำพันธุวิศวกรรม คืออะไร หลักการในการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง หลักการในการจำแนกสิ่งทีชีวิตออกเป็นอาณาจักรต่าง ๆ คืออะไร

12 การคิดวิเคราะห์ข่าว เตือนระบบนิเวศวิกฤตปรากฏการณ์ฟอกขาว เหตุประการังถูกทำลาย จี้ร่วมออกมาตรการแก้ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อเร็วๆ นี้ ชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ได้จัดสัมมนาและดำน้ำสำรวจปะการังที่เกาะเต่า อ.พะงัน จ.สุราษฎร์ธานี วันที่ 9-12 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา นายธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ อาจารย์คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า เกาะเต่าเป็นเกาะที่มีน้ำใสสามารถมองเห็นปะการังได้ชัดเจนที่สุดในอ่าวไทย และยังเป็นเกาะที่เคยมีปะการังสมบูรณ์และสวยงามมากแห่งหนึ่ง แต่เนื่องจากผลกระทบจากปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวเมื่อปี 2541 รวมทั้งการทำประมง และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ทำให้ปะการังถูกทำลายเป็นบริเวณกว้าง นายนิพนธ์กล่าวว่าปะการังสามารถฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติหากไม่ถูกรบกวน โดยเฉพาะมนุษย์ซึ่งมีส่วนในการทำให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจกหรือโลกร้อนขึ้น และยังทำกิจกรรมที่ส่งผลให้ปะการังถูกทำลายหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการทิ้งน้ำเสียจากรีสอร์ท ภัตตาคารและร้านอาหาร การเหยียบย่ำปะการังของนักท่องเที่ยว การทิ้งสมอเรือ และการทำประมง เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวต้องช่วยกันพยายามลดกิจกรรมที่จะส่งผลให้เกิดปรากฎการณ์โลกร้อน และการร่วมมือกันกำหนดมาตรการในการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง (มติชน เสาร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2544 หน้า 7)

13 ขั้นที่ 4 พิจารณาแยกแยะ
กระบวนการคิดวิเคราะห์ ขั้นที่ 5 สรุปคำตอบ ขั้นที่ 4 พิจารณาแยกแยะ ขั้นที่ 3 กำหนดหลักเกณฑ์ หรือกฎเกณฑ์ ขั้นที่ 2 กำหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ ขั้นที่ 1 กำหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ เลือก

14 เหตุใดปะการังจึงถูกทำลาย

15 “ใช้เทคนิค 5W 1H”

16 What (อะไร) ปัญหาหรือสาเหตุที่เกิดขึ้น
Where (ที่ไหน) สถานการณ์หรือตำแหน่งที่เกิดเหตุ When (เมื่อไร) เวลาที่เหตุการณ์นั้นได้เกิดขึ้น Why (ทำไม) สาเหตุหรือมูลเหตุที่ทำให้เกิดขึ้น Who (ใคร) บุคคลสำคัญเป็นตัวประกอบ หรือเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องจะได้รับผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบ How (อย่างไร) รายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้น แล้ว หรือ กำลังจะเกิดขึ้นว่ามีความเป็นได้ได้ในลักษณะใด

17 คำชี้แจง ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์ข่าวที่กำหนดให้
ใบงาน การวิเคราะห์ข่าว คำชี้แจง ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์ข่าวที่กำหนดให้ กลุ่มที่ ชั้น รายชื่อสมาชิก 1. ชื่อข่าวที่วิเคราะห์ จากหนังสือพิมพ์ วันที่ 2.เนื้อหาของข่าวโดยย่อ 3.สาเหตุของการเกิดปัญหาตามข่าว 4.ควรจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร 5.ทำอย่างไรปัญหานี้จึงจะไม่เกิดขึ้นในอนาคต

18 ขั้นการศึกษากรณีศึกษาหรือตัวอย่าง ขั้นสรุปผลการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method) ขั้นนำเสนอกรณีศึกษา ขั้นการศึกษากรณีศึกษาหรือตัวอย่าง ขั้นสรุปผลการเรียนรู้

19 THE END


ดาวน์โหลด ppt วิธีการสอนให้เกิดการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google