งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วัยรุ่น และ...วัยเรียน นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วัยรุ่น และ...วัยเรียน นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วัยรุ่น และ...วัยเรียน นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 11 มีนาคม 2556 โรงแรมพิมาน จังหวัดนครสวรรค์

2 วัยรุ่น...คือ?? Child Adolescent Youth Teenager
The Convention on the Rights of the Child(1989) หมายถึงผู้ที่อายุต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์ The legal threshold of “adulthood” Adolescent WHO หมายถึงผู้ที่อายุ ปี Early adolescent ปี Late adolescent ปี Youth United Nations หมายถึงผู้ที่อายุ ปี Teenager First used in the USA in the 1920s หมายถึงผู้ที่อายุ ปี

3 ทำไม...ต้องวัยรุ่น? ในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 10-24 ปี
ประมาณ 14 ล้านคน...

4 ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ... Source; Adolescence: a foundation on the future life

5 ท้องก่อนวัยอันควร... สุขภาพจิต... HIV… ขาดอาหาร... อุบัติเหตุ... เหล้า... บุหรี่... ความรุนแรง...

6

7 เกิดอะไรขึ้นเมื่อวัยรุ่นตั้งครรภ์...
ท้อง แท้ง... คลอด

8 แม่วัยรุ่นมีโอกาสสูงที่จะ...
ออกจากโรงเรียน มีต้นทุนทางสังคมต่ำ ไม่มีงานทำ หรือได้งานที่ค่าแรงต่ำ อาศัยอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ไม่ดี มีภาวะซึมเศร้าและมีความเสี่ยงที่จะฆ่าตัวตาย ต้องพึ่งพิงผู้อื่นในการดำรงชีวิต

9 ลูกที่เกิดจากแม่วัยรุ่นมีโอกาสสูงที่จะ...
อยู่ในครอบครัวที่ยากจน โตขึ้นโดยไม่มีพ่อ เป็นเหยื่อของความรุนแรง เรียนไม่ดี มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติดและอาชญากรรม มีโอกาสสูงที่จะเป็นแม่วัยรุ่นต่อไป...

10 รู้สึก...ยังไง?

11

12 Abortion Law

13 Developed countries อัตราคลอด อัตราแท้ง

14 สถานการณ์อนามัยการเจริญพันธุ์
ในวัยรุ่นและเยาวชน

15 อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน
ที่มา : สถิติสาธารณสุขประจำปี พ.ศ

16 อัตราการคลอดของหญิงอายุ < 15 ปี ต่อประชากรหญิง 10-14 ปี 1,000 คน
ที่มา : สถิติสาธารณสุขประจำปี พ.ศ

17 (Adolescent birth rate, per 1,000 women aged 15-19)
ตัวชี้วัด MDG 5b : อัตราการคลอดบุตรของหญิงอายุ ปีต่อหญิงอายุ15-19 ปีพันคน (Adolescent birth rate, per 1,000 women aged 15-19) อัตราการเกิดมีชีพในวัยรุ่น (ต่อประชากรหญิงอายุ ปี 1,000 คน) แบ่งตามเขตขององค์การอนามัยโลก อาฟริกา เอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน โอเชียเนีย 116.2 59.3 41.2 24.1 47.6 85.5 37.3 110.9 51.1 41.3 19.7 40.5 81.9 81.2 34.0 101.4 45.9 39.3 19.3 38.6 72.4 73.4 33.4 แบ่งตามระดับการพัฒนาของประเทศ ประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศกำลังพัฒนา ประเทศด้อยพัฒนา 28.3 73.5 131.6 24.2 66.2 120.9 24.0 60.4 104.6 ทั่วโลก 66.8 55.7 Source: World Population Prospects, the 2010th revision

18 Adolescent birth rate Source: World Population Prospects, the 2010th revision

19 อัตราการตั้งครรภ์ของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน
ปี พ.ศ. การแท้ง ทุกประเภท การเกิด ไร้ชีพ หญิงคลอด 15-19 ปี รวมหญิงตั้งครรภ์ ปี หญิงอายุ ปี ทั้งหมด อัตรา:1,000 2550 11,844 388 115,948 127,792 2,300,740 55.7 2551 11,788 337 118,921 130,709 2,329,702 56.3 2552 11,920 378 119,828 131,748 2,344,720 56.4 2553 11,734 401 120,012 132,147 2,356,637 56.1 2554 11,582 413 129,321 142,042 2,367,243 60.0 ที่มา : 1. สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2. ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ อายุ ปี (การคลอด การเกิดไร้ชีพและการแท้ง) จากสำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ ข้อมูลการแท้งรวบรวมได้เฉพาะผู้ที่มารับบริการในโรงพยาบาลของรัฐเท่านั้น

20 Adolescent pregnancy 15% 12% 63% 10%

21 เพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน เพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย กามโรค/เอดส์
สิ่งที่วัยรุ่นและเยาวชนกำลังเผชิญ... เพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน เพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย การตั้งครรภ์ไม่พร้อม การทำแท้ง ค่านิยมในการล่าแต้ม การเปลี่ยนคู่นอน ล่วงละเมิดทางเพศ และถูกกระทำรุนแรง เพศสัมพันธ์ไม่ปลอดภัย กล่าวสำหรับวัยรุ่น ที่จริงเวลาเราทำโครงการเราให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมาย วัยรุ่นและเยาวชน ที่เป็น young people อายุ ปี ตามนิยามของ WHO จากผลการศึกษาวิจัยจากหลายเรื่องของหลายสำนัก รวมทั้งข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขเองเราพบปรากฎการณ์และแนวโน้ม ที่สำคัญคือ ……………………………………………. กามโรค/เอดส์ 21 21 21 21

22 แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นและเยาวชน

23

24

25 แนวคิดการดำเนินงานการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลลัพธ์ พฤติกรรม แนวทางแก้ไข การชะลอการมีเพศสัมพันธ์ (Delay Sex) การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ( Safe Sex) การลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น(Planned Pregnancy) * มีทักษะชีวิตเรื่องเพศ * รู้คุณค่าในตนเอง/ให้เกียรติสตรี * ใช้วิธีคุมกำเนิดอย่างเหมาะสม * ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ * ใช้บริการการให้คำปรึกษา * ใช้บริการวางแผนครอบครัว * แท้งที่ปลอดภัย 1. สถานศึกษา - พัฒนาหลักสูตรการเรียน เพศศึกษา อย่างรอบด้าน - พัฒนาโรงเรียนตามเกณฑ์ อนามัยการ เจริญพันธุ์ - Friend Corner 2. หน่วยบริการสาธารณสุข - คลินิกบริการสุขภาพที่เป็นมิตร กับวัยรุ่น - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3. ครอบครัว/ชุมชน - จัดทำแผนบูรณาการระดับ จังหวัด/อปท. - สร้างครอบครัวอบอุ่นอนามัย การเจริญพันธุ์ - พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็กฯ - พัฒนาคู่มือ อสม. - พัฒนาสื่อมวลชน

26 วัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย ทักษะชีวิตดี มีอนาคต
สถานศึกษา โรงเรียน อพ. (ใน รร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร) สอนเพศศึกษารอบด้าน มุมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรม อพ. สถานบริการสาธารณสุข คลินิกวัยรุ่น - ให้ความรู้ - ให้คำปรึกษา - ให้บริการสุขภาพ เชิงรุก / ส่งต่อ เฝ้าระวังแท้ง จังหวัด / ชุมชน / ครอบครัว แผนยุทธศาสตร์บูรณาการอนามัยการเจริญพันธุ์ คณะอนุกรรมการอนามัยการเจริญพันธุ์จังหวัด เสริมสร้างครอบครัวเข้มแข็ง สภาเด็กและเยาวชน/เด็กไทยทำได้/To be # 1/GO/NGO/อสม. ชะลอเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์ปลอดภัย การวางแผนตั้งครรภ์ อายุเฉลี่ยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในวัยรุ่น สัดส่วนแม่อายุน้อยกว่า 20 ปี ที่คลอดบุตร อัตราการคลอดของหญิงอายุ ปี ต่อประชากรหญิง ปี 1,000 คน

27 กรมอนามัยจะทำอะไรบ้าง?

28 กรมอนามัยจะทำอะไรบ้าง?
Secondary Prevention…

29 กรมอนามัยจะทำอะไรบ้าง?
Safe abortion…

30 ขอบคุณครับ... We can’t stop the waves, but we can learn to surf.


ดาวน์โหลด ppt วัยรุ่น และ...วัยเรียน นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google